Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การป้องกันและกำจัดวัชพืชในสวนไม้ผล - ไม้ยืนต้น โดยการปลูกพืชคลุมดิน

การป้องกันและกำจัดวัชพืชในสวนไม้ผล - ไม้ยืนต้น โดยการปลูกพืชคลุมดิน

Description: การป้องกันและกำจัดวัชพืชในสวนไม้ผล - ไม้ยืนต้น โดยการปลูกพืชคลุมดิน.

Search

Read the Text Version

โดยการปลูกพืชคลุมดิน แผน พบั เผยแพรท ่ี 205 กรมสงเสริมการเกษตร เรียบเรยี งโดย ชุลีพร เตชะศลี พทิ กั ษ กองปอ งกนั และกําจัดศัตรูพืช จัดทําโดย อญั ชลี สุวจิตตานนท กองเกษตรสมั พนั ธ สารบญั ❍ชนิดของพชื คลมุ ดนิ ❍อตั ราการปลูก ❍การดูแลรักษา ❍ปญ หา ❍วิธีการปลูก

การปอ งกนั และกาํ จัดวัชพืชในสวนไมผล-ไมยืนตน 2 ปญ หา ปญหาวัชพืชในสวนไมผล-ไมยืนตน มักจะเกดิ รนุ แรงในสวนที่ตนไมยังมีขนาดเล็กอยู เพราะในชวงน้วี ัชพืช จะสามารถเจริญเติบโตไดเร็วกวา สงผลใหตนไมที่ปลูก ชะงักการเจรญิ เตบิ โต ใหผ ลผลติ ชา แตเ มอ่ื ไมผ ล-ไมยืน ตนโตข้ึนจนมีพุมชนกัน ปญหาการเกิดวัชพืชก็จะลดลง ดังน้ันชวง 2-3 ปแรกของการปลูกไมผลไมยืนตน เกษตรกรจะตอ งคอยควบคมุ และกาํ จัดวัชพืชอยูเสมอ ซึ่ง สามารถปฏบิ ตั ไิ ดห ลายวธิ ี แตว ิธหี น่งึ ทีจ่ ะแนะนํา คอื การปลูกพืชคลุมดินในระหวางแถวของไมผล-ไมยืนตน วิธีนี้จะชวยแกปญหาวัชพืชในระยะยาวได โดยพืชที่นิยมนํามาปลูกคลุมดินไดแกพืชตระกูลถ่ัวประเภทเลื้อยพัน ซ่ึงสามารถทอดเถาเล้ือยคลุม วัชพืชใหตายได วิธีนี้เกษตรกรอาจจะตองใชเวลาและเสียคาใชจายสูงในระยะแรกเพื่อขยายพืชคลุมให เต็มพ้ืนท่ี แตหลังจากนั้นแลวการจัดการไมใหพืชคลมุ เล้อื ยเขาไปพนั ในทรงพุม ของไมผล-ไมย นื ตน จะ ทาํ ไดงายและประหยัดคาใชจายกวาการกาํ จัดวัชพืช การปลูกพืชตระกูลถ่ัวแซมในสวนไมผล-ไมยืนตนนอกจากจะชว ยควบคุมไมใหมวี ชั พืชเกิดขึน้ แลว ยังมีประโยชนท่เี กิดขึน้ ตามมาอีกหลายอยาง ไดแก 1.ชวยเพ่ิมธาตุไนโตรเจนในดนิ เนื่องจากแบคทเี รยี ทอี่ าศยั อยูในปมรากถว่ั จะชว ยตรงึ ไนโตรเจน ในอากาศมาสะสมไวในดิน จึงทําใหพืชที่ปลูกรวมกับพืชตระกูลถั่วมีอัตราการเจริญเติบโตเพิ่มข้ึน นอกจากน้ียงั ชว ยลดคาใชจายในการใสปยุ ไนโตรเจนอกี ดว ย 2.ตน เถา และใบของพืชคลุมดิน เมื่อตายหรือรวงหลนลงดินแลวจะกลายเปนอินทรยี วัตถุ ชวยเพ่ิมธาตอุ าหารในดนิ และชว ยปรบั ปรงุ โครงสรา งของดนิ ใหด ขี น้ึ ดว ย 3.การปลูกพชื คลมุ ดนิ จะชว ยปอ งกนั การชะลา งและพงั ทะลายของหนา ดนิ 4.เมล็ดพนั ธขุ องพชื คลมุ ดนิ สามารถนําไปขาย ชวยเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรอีกดวย อยางไรก็ตามถึงแมวาพืชคลุมดินจะมีประโยชนมากมายหลายประการแลว แตก็ยังพบปญหา ตามมา คอื 1.ในฤดูฝน พชื คลมุ ดนิ จะเจรญิ เตบิ โตรวดเรว็ จงึ มกั เลอ้ื ยพนั ขน้ึ ตน ไม ทาํ ใหต น ไมผ ล-ไมย นื ตน ชะงักการเจริญเตบิ โตได ดงั นน้ั เกษตรกรจะตอ งคอยดแู ลไมใ หพ ชื คลมุ ดนิ เลอ้ื ยขน้ึ ตน ไม โดยใชม อื ดงึ พชื คลุมดินใหห า งทรงพมุ หรอื ใชเ ครอ่ื งนาบ 2.ในฤดูแลง พชื คลมุ ดนิ จะโทรมและทง้ิ ใบเปน เชอ้ื เพลงิ ทําใหเกิดไฟไหมสวนได ดงั นน้ั เกษตรกร จึงควรทําแนวปอ งกนั ไฟและตอ งคอยตดั แตง ใหพ ชื คลมุ ดนิ อยหู า งจากตน ไมอ ยา งนอ ย 1 เมตร หนา กอ นน้ี หนา ถดั ไป สารบญั

การปอ งกนั และกาํ จัดวัชพืชในสวนไมผล-ไมยืนตน 3 ชนดิ ของพชื คลมุ ดนิ พืชตระกูลถั่วที่จะแนะนําใหเ กษตรกรใชป ลกู เปน พชื คลมุ ดนิ ในสวนไมผ ล-ไมย นื ตน มี 4 ชนิด คอื 1. คาโลโปโกเนียม ใบมีขนาดปานกลางเจรญิ เตบิ โตไดเรว็ คลมุ ดนิ ไดภ ายใน 3-4 เดอื น จะออกดอกและ เก็บเมล็ดไดเม่ือมีอายุ 6-7 เดือนขึ้นไปจนกระทั่งอายุ ประมาณ 18 เดอื น ตนก็จะโทรม ตายคาโลโปโกเนียม เปนพืชท่ีไมชอบรมเงา เม่ือปลูกรวมกับพืชคลุมดินชนิด อ่ืน จะมีปริมาณมาก ในปแรกแตหลัง จากน้ันจะถูก ทดแทนดว ยพชื คลมุ ดนิ ชนดิ อน่ื 2. เซนโตซีมาหรือถั่วลาย ใบมลี กั ษณะเรยี วเลก็ ชอบเล้ือยพนั ขน้ึ ตน ไม จะออกดอกและเกบ็ เมลด็ ไดเ มอ่ื มี อายุ 7 เดอื นขน้ึ ไป ทนตอ ความแหงแลง ดงั นน้ั จงึ จะชว ย เสริมปริมาณพืชคลุมดินในชวงหนาแลงได เถาเหนียว เปอยชา เซนโตซมี าจะมอี ายอุ ยไู ดป ระมาณ 3-4 ป 3. เพอราเรยี ใบมขี นาดใหญหนา เถาใหญและ เปนขน จึงควบคุมวัชพืชไดดีกวาถั่วสองชนิดแรก เพอราเรียจะมีการเจริญเติบโตชา อายุเกือบปจึงจะคลุม ดินได และจะสามารถคลมุ ดนิ ไดป ระมาณ 3-4 ป แตถา มีรมเงามาก ตนก็จะโทรม ตายไป เถาและใบเปราะ เนา เปอ ยเรว็ 4. ซรี เู ลยี มหรอื นิวดาโลโป เปน ถว่ั คลมุ ดนิ ทม่ี คี ณุ สมบัติดีเดน หลายประการคือ ใหป รมิ าณไนโตรเจนกลบั คืนสูดินไดม าก ทนตอ ความแหงแลง และรม เงาไดด ี มอี ายุ อยูไดน านถงึ 10 ป ในพื้นท่ีท่มี กี ารปลกู ซีรเู ลียม รว มกบั พืชคลุมดินชนดิ อน่ื ซรี เู ลยี มจะมปี รมิ าณเพอ่ื ขน้ึ ในปท ่ี 4 ในขณะท่ีพืชคลมุ ดนิ ชนดิ อน่ื จะตายไป เพราะมรี ม เงามาก ข้ึน แตเ นอ่ื งจากซรี เู ลยี มทป่ี ลกู ทางภาคใต ของไทยใหผล ผลิตเมลด็ นอ ยหรอื แทบไมใ หเ มลด็ เลย จึงมีปญหาเกี่ยว กับเมลด็ พนั ธทุ น่ี าํ มาใช ปลูกจะมีราคาแพง หนา กอ นน้ี หนา ถดั ไป สารบญั

การปอ งกนั และกาํ จัดวัชพืชในสวนไมผล-ไมยืนตน 4 อัตราการปลูก การปลูกพืชคลมุ ดนิ ควรใชเ มลด็ พนั ธใุ นอตั รา 1 - 1.5 กโิ ลกรมั ตอ ไร เมอ่ื เมลด็ มคี วามงอกไมต า่ํ กวา 80% แตถ า ความงอกตา่ํ ตอ งเพม่ิ อตั ราเมลด็ ตามสว น การปลูกพืชคลุมดินอาจปลูกพืชคลุมชนิดใดชนิดหนึ่งก็ได แตเพื่อใหไดประโยชนจากพืชคลุมดิน เต็มที่จึงแนะนําใหปลูกรวมกัน เชน ในสวนยางพาราและปาลม นา้ํ มนั อาจปลกู คาโลโปโกเนยี ม : เซนโตรซมี า : เพอราเรยี รว มกนั ในสดั สว น 2 : 2 : 1 หรือ 5 : 4 : 1 หรือ 2 : 3 : 2 โดยนา้ํ หนกั และ เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธภิ าพของพชื คลมุ ในระยะยาวเกษตรกรสามารถปลกู ซรี เู ลยี มรว มดว ยในอตั รา 40 - 50 กรัมตอ ไร ในประเทศมาเลเซยี มกี ารปลกู เพอราเรีย : ซรี เู ลยี ม รว มกนั ในสดั สว น 9 : 1 ในสวนยาง สวนในสวนไม-ผลไมย นื ตน อน่ื ๆ อาจปรบั ใชส ตู รผสมใด ๆ ตามความเหมาะสมในทอ งถน่ิ ทง้ั น้ี ขน้ึ อยู กับเมล็ดพันธทุ ี่หาได วิธีการปลูก การปลูกพชื คลมุ ดนิ สามารถกระทําไดหลายวิธี เชน การหวาน ปลกู เปน แถวและปลกู เปน หลมุ แตวิธีที่จะแนะนําใหเ กษตรกรปลูก คอื ปลูกเปนแถวเพราะจะสะดวกตอการดูแลรักษา ระยะปลูกควรให หางจากพืชหลัก 2 เมตร สว นจาํ นวนแถวปลกู ประมาณ 3 - 5 แถว การจัดระยะแถวปลูกใหเฉลี่ยระยะ แตละแถวเทากัน เชน 1, 1.5, หรือ 2 เมตร ขึน้ อยกู ับระยะปลูกพชื แตล ะชนิด การปลกู ใหใ ชจ อบขดุ ดนิ เปนรองลึกประมาณ 2-3 นว้ิ โดยเมลด็ ลงในรอ งใหก ระจายสม่ําเสมอ แลว จงึ กลบดว ยดนิ รว น การปลูกพืชคลุมดนิ นี้ อาจปลกู กอ น พรอมกันหรือหลังจากปลูกพืชหลัก แตเ พอ่ื ความสะดวกและ งายแกการกําจัดวัชพืช ควรปลกู หลงั จากการเตรยี มดนิ และวางแนวระยะปลกู เรยี บรอ ยแลว การดูแลรักษา ในระยะ 4 - 6 เดือน หลังจากปลูกพืชคลุมดินแลว เกษตรกรจะตองหม่ันคอยดูแลกําจัดวัชพืชใหพืชคลุมดินอยาง สมํ่าเสมอ หลงั จากนน้ั เมอ่ื พชื คลมุ ดนิ เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทแ่ี ลว ตอ งดู แลใหพ ชื คลมุ ดนิ อยหู า งจากโคนตน ประมาณ 1-1.5 เมตร การใสปุยใหกับพืชคลุมดินในระยะแรก ๆ ของการปลกู นอก จากจะชวยใหพืชคลุมดิน เจริญเติบโต ไดอ ยา งรวดเรว็ และแขง็ แรง แลว ยังชว ยเพม่ิ ธาตไุ นโตรเจนกลบั คนื สดู นิ ในปรมิ าณทค่ี มุ ตอ การ ลงทุน โดย การใสป ยุ ดนิ ฟอสเฟตในปแ รกหลงั จากปลกู ประมาณ 2 - 3 ครง้ั ๆ ละ 20 กโิ ลกรมั ตอ ไร แตล ะครง้ั หา งกนั ประมาณ 3 เดือน สว นในปท ่ี 2 และ 3 ใสป ล ะครง้ั หนา กอ นน้ี หนา ถดั ไป สารบญั