42 1.2 สีอะครลิ ิค (Acrylic) เขยี นได้บนพื้นผิวหลายชนดิ เช่น กระดาษ 100 ปอนดข์ ้นึ ไป ผ้าใบ แผ่นไม้ แกว้ หรือโลหะ แตส่ ภาพการยึดเกาะทคี่ งทนข้นึ อยกู่ บั คุณภาพของสแี ต่ละย่หี อ้ ด้วย วธิ ใี ชผ้ สมนา้ เหมือนสีน้า ใชน้ ้าปริมาณมากนอ้ ยตามความเข้มขน้ ทีต่ ้องการ แหง้ ไว โปร่งแสง หากอยากให้แห้งชา้ ต้อง ใช้น้ายาแห้งชา้ อะครลิ คิ (Retarder) ลา้ งสจี ากพู่กันดว้ ยนา้ ขอ้ ควรระวงั อยา่ งทงิ้ ให้สแี หง้ คาพู่กันเพราะ จะทาให้ขนพู่กนั นนั้ เสยี คุณภาพ ภาพท่ี 25 ตัวอยา่ งสอี ะครลี ิค ท่มี า : บทความเครื่องเขยี นอุปกรณ์สานกั งาน.2016.[Online] 1.3 สนี า้ มนั (Oil Colour) เขยี นได้บนพ้ืนผิวหลายชนิด แห้งช้า สหี นาแนน่ เงางามเมื่อแห้ง ทัง้ น้ี ขนึ้ อย่กู ับชนิดของพืน้ ผวิ และตวั ผสมดว้ ย นยิ มเขยี นลงผา้ ใบ เหมาะสาหรับเมืองหนาว วิธีใชผ้ สมกบั นา้ มนั ลินสดี (Linseed Oil) หากต้องการให้แหง้ เร็วต้องใช้น้ายาผสมแห้งเร็ว (Painting Medium Quick- Drying) แต่อาจทาให้คา่ ของสลี ดลงไปบ้างเมื่อแห้งแล้ว ต้องศกึ ษาจากการใชน้ า้ ยาผสมแต่ละชนิด วธิ ีล้าง สีจากพู่กันใช้น้ามันสน(Turpentine) หรอื อาจใชน้ ้าผงซักฟอก ซนั ไลต์ หรอื สบเู่ ข้มข้นลา้ งออกแทนได้ ข้อ ควรระวังตอ้ งเชด็ พ่กู ันให้สะอาดหลงั ล้างเสรจ็ หากลา้ งไมส่ ะอาดสีและสารที่เกาะติดจะส่งผลเสียต่อภาพ และพู่กนั ได้ คุณสมบัติสีนา้ มันไม่ค่อยเหมาะสมกบั สภาพอากาศเมืองไทยนัก ภาพท่ีไดจ้ ะดแู ลรักษายาก เชือ้ ราข้นึ งา่ ยเมือ่ เกบ็ ไวเ้ ป็นเวลานาน ภาพท่ี 26 ตวั อย่างสีนา้ มัน ทม่ี า : บทความเครื่องเขยี นอุปกรณ์สานกั งาน.2016.[Online]
43 1.4 สฝี นุ่ (Tempera Colour) เป็นสที ีใ่ ชก้ ันมานานแล้ว ตงั้ แต่การเขยี นจติ รกรรมฝาผนงั บนปนู เปยี ก(Fresco) หรือใชก้ าวจากยางไมเ้ พ่ือในการยึดเกาะของสี ปจั จุบันสฝี นุ่ มีคณุ สมบัตกิ ารใชง้ าน เหมอื นกบั สนี ้า สโี ปสเตอร์ เพราะผสมกาวมาเรียบร้อยแล้ว ใช้ได้ท้งั บนกระดาษ ผ้าใบ แผ่นไม้ ผนงั ปูน หรือบนผิวโลหะ ทั้งนขี้ ึน้ อยู่กับชนดิ ของสฝี ุ่นด้วย ภาพท่ี 27 ตัวอย่างสีฝนุ่ ที่มา : บทความเครื่องเขียนอุปกรณ์สานกั งาน.2016.[Online] 1.5 สีไม้ (Colour Pencil) เป็นสที ีใชง้ ่ายเหมาะสาหรบั ผวู้ าดแรกเร่ิมทีฝ่ ึกใหม่ๆ ปจั จบุ ันคุณภาพ ของสีไม้สวยสดหลากหลายเฉดสีมากขน้ึ มีท้ังระบายแหง้ และระบายแบบสีนา้ ได้ด้วย เหมาะสาหรับเขียน บนกระดาษชนิดตา่ งๆไดท้ ุกแบบ ภาพท่ี 28 ตัวอยา่ งสีไม้ ทม่ี า : บทความเครื่องเขยี นอุปกรณ์สานกั งาน.2016.[Online]
44 1.6 สโี ปสเตอร์(Poster Colour) เนือ้ สคี ่อนขา้ งหนาทบึ ไมโ่ ปร่งใส เหมาะสาหรับวาดบน กระดาษ วิธีใช้ผสมนา้ แบบสนี ้า ทาซอ้ นทับกนั ไดเ้ มื่อสีแหง้ ล้างพกู่ นั ดว้ ยน้าปกติ หากวาดใสผ่ า้ ใบตอ้ ง ระวังอยา่ ใหโ้ ดนนา้ เพราะไม่สามารถยดึ เกาะไดเ้ หมือนสีอะครลิ ิคหรือสีนา้ มนั ภาพที่ 29 ตวั อยา่ งสีโปสเตอร์ ทมี่ า : บทความเครื่องเขียนอุปกรณส์ านักงาน.2016.[Online] 2. ประเภทของพู่กันและเกรยี ง แยกการใช้งานตามลกั ษณะขนของพกู่ ัน เพราะสีแตล่ ะประเภทมีคุณสมบัติทีแ่ ตกต่างกนั 2.1 พกู่ นั แบน (Paintbrush Flat) เหมาะสาหรบั ภาพทใ่ี ชเ้ หลีย่ มมมุ ขอบคม ภาพที่ 30 ตวั อยา่ งพู่กันแบน ที่มา : บทความเคร่ืองเขยี นอุปกรณส์ านักงาน.2016.[Online
45 2.2 พู่กนั กลม (Paintbrush Standard Round) เหมาะกับภาพท่ใี ชค้ วามโค้งเวา้ ขอบปลายโค้ง ภาพที่ 31 ตัวอยา่ งพู่กนั กลม ท่มี า : บทความเคร่ืองเขียนอุปกรณ์สานักงาน.2016.[Online] 2.3 เกรียงสาหรบั วาดภาพ (Durable Painting) เหมาะสาหรับภาพทีต่ ้องการเน้ือสหี น้านูน ใช้ ปา้ ยเหมอื นฉาบปูน สร้างเทคนิคไดห้ ลากหลายแต่ให้พนื้ ผิวท่ดี ูหยาบไม่เรยี บเนียนเหมือนพกู่ นั ภาพที่ 32 ตวั อยา่ งเกรยี ง ท่ีมา : บทความเคร่ืองเขยี นอุปกรณ์สานักงาน.2016.[Online]
46 3.ประเภทของพ้นื ระนาบสาหรบั รองรับสี 3.1 เพรมผา้ ใบ(Canvas Frame) ปัจจุบนั มแี บบสาเรจ็ รปู ขาย หลากหลายขนาดตามการใชง้ าน เหมาะกบั สอี ะครลิ คิ และสีน้ามัน ภาพท่ี 33 ตัวอยา่ งเพรมผา้ ใบขนาดตา่ งๆ ทีม่ า : บทความเครื่องเขยี นอุปกรณส์ านกั งาน.2016.[Online] 3.2 กระดาษสาหรบั เขยี นภาพสี (Painting Paper) นิยมใชก้ ับสีนา้ สโี ปสเตอร์และสอี ะครลิ ิค สามารถใช้ได้กบั สีชนดิ แท่งได้เชน่ กนั ภาพท่ี 34 ตัวอย่างกระดาษพ้ืนผวิ ต่างๆ ที่มา : บทความเคร่ืองเขียนอุปกรณส์ านักงาน.2016.[Online]
47 4.ประเภทจานสี (Palette) จานสีแบบมีชอ่ งสอดนว้ิ ไวจ้ บั และแบบไม่มชี ่อง ใชไ้ ด้กับทุกสที ่ีผสมน้าหรอื นา้ มนั สาหรบั จานสสี ี น้ามนั และสีอะครลิ คิ บางคนอาจนาวัสดอุ ่นื ท่ีกันน้ามาใชแ้ ทนได้เชน่ ถาดภาชนะ แผ่นอะคริลิค หรอื แผน่ ไมห้ มุ้ พลาสติกเพราะเปน็ การใช้เน้ือสีทม่ี คี วามเขม้ ข้นสงู ไม่เหมือนกบั สนี า้ ทอี่ าจไหลหกได้หากใช้จานสีที่ ไม่มหี ลมุ กัน ภาพท่ี 35 ตวั อยา่ งจานสี ทีม่ า : บทความเคร่ืองเขยี นอุปกรณส์ านกั งาน.2016.[Online] 2.เทคนคิ ในการสรา้ งสรรค์ 2.1 เทคนคิ การเป่าสี (Colour blowing) ผสมประเภทสีทีต่ ้องการให้เนอ้ื สมี ีความเหลวพอทจ่ี ะเคลอ่ื นไหวได้ หยดสลี งบนพ้ืนผวิ ท่ี ตอ้ งการ จากนั้นใช้ลมปากเป่า อาจใช้หลอดหรือเคร่ืองเปา่ ลมชนิดอนื่ ชว่ ยใหเ้ กิดรอ่ งรอยแบบใหม่ ร่องรอยทไี่ ด้ขึน้ อยู่กับการบังคับทศิ ทางและควบคุมแรงลม นิยมทาลงกระดาษ 100 ปอนดข์ ึน้ ไป หรอื เฟรมผ้าใบ เพราะเป็นพื้นรองรับทีท่ นตอ่ ของเหลวได้ดี หากใชก้ ับกระดาษท่ีมคี วามบางจะทาใหเ้ กิดรอย ย่นท่ีไม่สวยงาม หากใชส้ ีชนิดอืน่ ควรคานงึ ถงึ การยึดเกาะระหวา่ งสีกับพ้ืนรองรบั ด้วย ทง้ั น้ขี ึ้นอยกู่ ับ ประสบการณ์และการทดลองของผู้วาด ยกตัวอย่างแสดงการใช้เทคนคิ เป่าสีของผเู้ ขียนดังตอ่ ไปนี้ ภาพที่ 36 (จังหวะของสีสัน), 2004 (สีหมึกบนกระดาษ)
48 ภาพที่ 37 (จังหวะของสีชมพูและเขียว), 2004 (สีหมึกบนกระดาษ) ภาพที่ 38 (จังหวะของสีดา), 2004 (สีหมึกบนกระดาษ) 2.2 เทคนิคการดีดสี สลดั สี(Colour flick) ผสมประเภทสที ีต่ ้องการใหเ้ น้ือสีมีความเหลวพอทจ่ี ะเคล่ือนไหวได้ ดีดหรือสลดั สีดว้ ยนิ้วมือ พูก่ ันหรือขนแปรงประเภทอ่ืนทีม่ ีความยดื หยนุ่ ได้ดี เชน่ แปรงสีฟนั แปรงขดั ห้องน้าฯลฯ ลงบนพนื้ ผิวที่ ตอ้ งการ อาจใช้วัสดอุ ปุ กรณช์ นดิ อ่นื ชว่ ยใหเ้ กิดร่องรอยแบบใหม่ ร่องรอยท่ีได้ข้นึ อยู่กบั การบงั คบั ทิศทาง และควบคุมแรงดดี แรงสลดั นิยมทาลงกระดาษ 100 ปอนด์ข้นึ ไป หรือเฟรมผา้ ใบ เพราะเป็นพืน้ รองรับท่ี ทนต่อของเหลวได้ดี หากใชก้ ับกระดาษที่มีความบางจะทาใหเ้ กดิ รอยย่นที่ไม่สวยงาม หากใชส้ ีชนดิ อื่น ควรคานึงถงึ การยึดเกาะระหวา่ งสีกับพนื้ รองรับด้วย ทง้ั นี้ขึ้นอยู่กบั ประสบการณแ์ ละการทดลองของผู้ วาด
49 ตวั อย่างภาพแสดงการใชเ้ ทคนิคดีดสี สลัดสขี องผูเ้ ขยี นดังต่อไปนี้ ภาพที่ 39 (จังหวะของสี), 2004 (สีหมึกบนกระดาษ) ภาพท่ี 40 (สงครามอวกาศ), 2008 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ) 2.3 เทคนคิ การขดู ขดี (Colour scraping) ใช้ได้กับพ้นื ผิวและสที ุกชนดิ ทาได้หลงั การลงสีเสรจ็ ไปแลว้ ระยะหน่ึงก่อนทีส่ ีจะแห้งสนทิ จากน้ันจงึ ใชว้ สั ดทุ ม่ี คี วามแหลมคมขูดขีดร่องรอยลงไปตามทตี่ อ้ งการ ผลที่ได้จะเหน็ สีพื้นหลงั เดน่ ชัด ขึ้นมาตามรอยที่ขูด หากต้องการร่องรอยการขดู ท่ีมหี ลายสี ใหร้ องสพี ื้นหลายสหี รอื ทับกันหลายสี โดยให้ สีแต่ละชั้นแห้งเสยี ก่อนจงึ ขูดขีดดว้ ยความลกึ ตามระดับชัน้ ของสี ความลึกต้ืนและรปู ร่างของร่องรอย ขึ้นอยกู่ ับแรง ทิศทางและประเภทของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ สว่ นสาคัญทม่ี ีผลต่อสีทเี่ กิดขึน้ จากร่องรอยขดู คอื ระดับความแห้งของสี ท้งั น้ขี ึ้นอยกู่ ับการดูดซบั สขี องพ้นื ระนาบรองรับแต่ละประเภทด้วย ดังภาพตวั อยา่ ง การใช้เทคนิคขดู ขดี ของผเู้ ขียน
50 ภาพท่ี 41 (NO IDEAR,I WANT), 2005 (ส่ือผสมบนผ้าใบ) แสดงการขดู ที่พ้ืนหลังเพอื่ สรา้ งอารมณ์ของความขดั แย้ง ภาพท่ี 42 (!TOOM OH NO!), 2005 (สื่อผสมบนผ้าใบ) แสดงการขดู ที่พนื้ หลงั เพอื่ สร้างเร่ืองราวความหลงั ก่อนตาย
51 2.4 เทคนคิ การใช้ สเตนซิล (Stencil) (Stencil) สเตนซิลคือ แผ่นลายฉลุ มที ง้ั เป็นแผน่ พลาสตกิ วสั ดแุ ข็ง หรือกระดาษ ทาได้ โดยการฉลใุ หเ้ กิดช่องวา่ งเป็นรูปรา่ งตา่ งๆตามท่ีต้องการ เป็นเหมือนบลอ็ กสาเรจ็ รปู เพื่อใชท้ าบบนระนาบ ทตี่ อ้ งการ สีทีใ่ ชน้ ยิ มใช้สสี เปรย์เพราะยดึ ติดได้ดกี บั วสั ดหุ ลายชนิด อาจใชส้ ชี นิดอ่ืนได้ตามคณุ สมบตั ิของ วสั ดุ วิธีการทาแผ่นสเตลซิลอยา่ งงา่ ย คอื เตรียมกระดาษแข็ง วาดลายท่ีต้องการใส่ ทาการฉลุออก อาจ ใชว้ ัสดสุ าเรจ็ รูปท่ีมีรปู รา่ งในตัวมาใชไ้ ด้ เช่น ผาขวดน้า ตกุ๊ ตา ลกู กุญแจ ฯลฯ เม่ือได้แบบแลว้ นาไปทาบ กับพ้ืนผิวท่ตี ้องการ จากนัน้ จึงพ่นสหี รอื ดีดสลี งในช่องว่างภายในหรือภายนอกของแผน่ สเตลซิลจนไดส้ ี ตามทต่ี ้องการจึงยกแผน่ สเตลซิลออก ขอ้ ดีของเทคนคิ สเตนซลิ เหมาะสาหรับ การใช้รปู ร่างท่มี สี ดั สว่ น สมจรงิ การซ้าภาพหรือต้องการความคมชัดของรปู รา่ ง การใช้เทคนิคนสี้ ามารถทาบซอ้ นทับได้หลายภาพ หลายสี ขนึ้ อยู่กบั ความซบั ซ้อนทผี่ ู้วาดต้องการ ภาพตวั อย่างแสดงผลจากการใช้เทคนคิ สเตนซิลของผู้เขียน ภาพท่ี 43 (ไม่มีชื่อภาพ), 2017 (สีอะคริลคิ บนกระดาษ)
52 ภาพที่ 44 (L.K.N.), 2017 (สีอะครลิ คิ บนผ้าใบ) 3. ลกั ษณะเฉพาะในงานจิตรกรรม หมายถงึ ลกั ษณะพิเศษท่ีปรากฏในผลงานจติ รกรรมสร้างสรรค์ รวมไปถงึ แนวคิดท่มี ีความโดด เดน่ เฉพาะตวั อาจใช้คาวา่ รปู แบบเฉพาะตัวของผู้วาด ความพเิ ศษจาแนกออกตามองคป์ ระกอบในผลงาน โดยมลี ักษณะเด่นทเ่ี ห็นชัด เช่นโทนสี รปู รา่ ง รปู ทรง เทคนิค พนื้ ระนาบรองรับ ฉะน้นั ผูว้ าดท่ีดีควรศึกษา ลักษณะเฉพาะจากผลงานของศิลปนิ ทต่ี กผลึกในกระบวนการสรา้ งสรรค์ และนาไปพฒั นาตอ่ ยอดเปน็ รูปแบบของตนเอง ผเู้ ขียนจะยกตัวอย่างผลงานทม่ี ีลักษณะเฉพาะทโ่ี ดดเด่นของศิลปินบรมครรู ะดบั โลก และผลงานของผ้เู ขียนเองมาพอเขา้ ใจดงั นี้ 1. ภาพของ ซัลวาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) 2. ภาพของ ปาโปล ปกี ัสโซ (Pablo Picasso) 3. ภาพของ แอนด้ี วอรฮ์ อล (Andy Warhol) 4. ภาพของ พศิน เวยี งแกว้ (Pasin Viengkaew)
53 1. ซัลวาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) ลักษณะเฉพาะในผลงานคอื การไล่น้าหนักสี แสงเงาที่ดมู นั วาว เหมือนโลหะ การใช้รูปทรงอิสระท่โี ค้งเหมือนเมลด็ ถ่วั การใช้สัญลกั ษณก์ ารแขวนหรอื ค้าสง่ิ ของในภาพ และเน้ือหาท่แี สดงออกถึงจิตใต้สานกึ ภาพที่ 45 (The Great Masturbator), 1929 (Oil on Canvas) ท่มี า : Dalipaintings.2011.[Online] ภาพที่ 46 (Premonition of Civil War), 1936 (Oil on Canvas) ท่มี า : Dalipaintings.2011.[Online]
54 2. ปาโปล ปีกสั โซ (Pablo Picasso) ลักษณะเฉพาะในผลงานคอื การใชส้ ีแบนๆ การตัดเสน้ รปู ร่าง การ บิดเบือนรูปร่างรูปทรงใหด้ ูเป็นเหล่ียมมุมเหมือนหน้ากากชนเผา่ พื้นเมือง ภาพท่ี 47 (The Weeping Woman), 1937 (Oil on Canvas) ทมี่ า : pablopicasso.2009.[Online] ภาพที่ 48 (The Weeping Woman), 1937 (Oil on Canvas) ที่มา : pablopicasso.2009.[Online]
55 3. แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol) ลักษณะเฉพาะในผลงานคอื การใชส้ ีสด ใช้เน้ือหาเกี่ยวกบั บคุ คล สาคัญ หรอื ส่ิงที่มีอยู่อย่างแพรห่ ลายอยา่ งตรงไปตรงมา เทคนคิ ซิลสกรีน(Silk Screen) และการซ้าภาพ ภาพท่ี 49 (Marilyn Monroe) ทม่ี า : โลกศิลปะ ศตวรรษท่ี 20.2545 ภาพที่ 50 (Campbell's Soup I), 1968 ท่ีมา : โลกศิลปะ ศตวรรษที่ 20.2545
56 4. ภาพของ พศิน เวยี งแกว้ (Pasin Viengkaew) ลกั ษณะเฉพาะในผลงานคือการใชส้ สี ด ใชเ้ นื้อหา เกย่ี วกับจนิ ตนาการของเสียงดนตรี ความเพ้อฝนั และการใชส้ ญั ลกั ษณ์ของฟองอากาศ คนเลน่ กีต้าร์ ภาพท่ี 51 (ไม่มีชื่อภาพ), 2009 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ) ภาพที่ 52 (ไม่มีชื่อภาพ), 2009 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ)
57 เอกสารอ้างองิ จิรชยุตม์ สรุ ยิ ะนวนนั ท.์ 2016.บทความเครื่องเขียนอุปกรณส์ านักงาน .[Online]Available : http://stationerypch.blogspot.com/2016/06/blog-post.html pablopicasso.2009.Pablo Picasso Painting,Quotes,and Biography.[Online]Available : http://www.pablopicasso.org/the-weeping-woman.jsp จริ ะพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะ ศตวรรษท่ี 20. กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, 2545 dalipaintings. 2011. Salvador Dali Painting,Biograpfy,Quotes .[Online]Available : http://www.dalipaintings.com/spider-of-the-evening.jsp#prettyPhoto แบบฝกึ หดั ท้ายบท แบบอตั นัย จงตอบคาถามตามหัวข้อที่กาหนด 1.วสั ดุอุปกรณแ์ ต่ละชนิดมีผลตอ่ เทคนคิ ทเี่ กิดข้นึ หรือไม่ อย่างไร 2.จงอธิบายวิธีการใช้เทคนิคมา 1 เทคนิค 3.ลักษณะเฉพาะในงานจิตรกรรมคืออะไร แบบปฏบิ ัติ จงฝึกเทคนิคตามทกี่ าหนด 1.เทคนิคการใชส้ เตนซลิ 2.เทคนิคการขูดขีด
58
59 แผนการบริหารการสอนบทท่ี 5 องค์ประกอบศิลปใ์ นงานจติ รกรรม 1.หัวข้อเนื้อหา 1. ทัศนธาตุ 1.1 จุด 1.2 จุด 1.3 เส้น 1.4 รูปทรง 1.5 ทีว่ า่ ง 1.6 พน้ื ผวิ 1.7 แสงเงา 1.8 สี 2. การจัดวางโครงสร้างองค์ประกอบในภาพ 2.1การจัดวางแบบเท่ากนั ทั้งสองข้าง โดยใชก้ ึ่งกลางภาพเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลาง 2.2 การจดั วางแบบไม่เท่ากันทง้ั สองขา้ ง ใช้ความรู้สกึ จากน้าหนักอ่อนแก่สรา้ งสมดุล ดว้ ยสายตา 2.3 การจดั วางแบบกระจายท่ัวทั้งภาพ 2.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาบทเรียนจบแล้ว นักศึกษาจะมีความรู้ความสามารถในเร่ืองดังต่อไปน้ี 2.1 อธิบายแนวคิดในงานจติ รกรรมแตล่ ะประเภทได้ 2.2 อธบิ ายอทิ ธิพลจากผลงานศลิ ปกรรมในแตล่ ะด้านได้ 2.3 วาดภาพลอกเลียนแบบงานศลิ ปินได้ 3.กิจกรรมการเรียนการสอน 3.1 บรรยายเนือ้ วชิ า 3.2 ศึกษาคน้ คว้าจากเอกสารทางวชิ าการ 3.3 จดั ทา้ รายงานเด่ียว 3.4 นา้ เสนองานหนา้ ช้ันเรยี น วิเคราะหผ์ ล 4.สื่อการสอน 4.1 สื่อการสอนมัลตมิ ีเดีย (Multimedia) 5.วิธีการประเมินผล 5.1 ประเมินจากแบบทดสอบท้ายบท 5.2 การตรงต่อเวลา การเข้าช้ันเรียน 5.3 การน้าเสนอเอกสารหน้าช้นั เรียน 5.4 การฝึกทักษะในการลอกงานศิลปิน 5.5 ความชัดเจนของเนื้อหารายงาน 5.6 การตอบค้าถามในช้นั
60
61 บทที่ 5 องค์ประกอบศิลป์ในงานจิตรกรรม การวาดภาพจติ รกรรมให้ดไี ด้นน้ั ควรมีพื้นฐานความรู้ดา้ นองคป์ ระกอบศิลป์เสยี กอ่ น โดยศกึ ษา ใหเ้ ข้าใจหลกั การวาดภาพเบื้องต้นจากเน้ือหาดังต่อไปนี้ ทัศนธาตุ เป็นลักษณะตา่ งๆที่ประกอบอยู่ในทุกส่ิงและสมั ผัสไดด้ ว้ ยตา ประกอบไปดว้ ย จดุ เส้น รูปทรง ทว่ี ่าง พืน้ ผวิ แสงเงา และสี 1.จดุ เป็นตา้ แหน่งเร่ิมตน้ ของรอยการวาดเขียน รปู รา่ งส่งิ แวดล้อมทุกอย่างจะกลายเป็นจดุ เมือ่ ถกู มองจากระยะที่หา่ งไกลออกไปมาก หากนา้ จดุ มารวมกันในรปู แบบต่างๆจะเกิดเปน็ เส้น พนื้ ผวิ และ รูปร่างรปู ทรงขึน้ ได้ ตัวอย่างจดุ ลักษณะตา่ งๆ เช่น จุดไฝของคน จุดของเส้นประถนนมองดูเปน็ เส้นแนว ยาว จุดของผวิ ขนุนรวมกนั เป็นพืน้ ผิวและรปู ทรง ภาพท่ี 53 ตัวอย่างจดุ (สงครามโครงมนุษย์), 2008 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ) ผลงานของผู้เขยี นแสดงการวาดรูปทรงของหัวกะโหลกท่มี ีลักษณะเหมือนจุดเรียงต่อกันเปน็ เส้น ผสานเป็นรูปร่างคลา้ ยโครงมนุษย์
62 ภาพที่ 54 ตัวอยา่ งจุด (การเคล่ือนไหวของหัวกระโหลก), 2008 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ) ผลงานของผเู้ ขยี นแสดงการวาดรูปทรงหวั กะโหลกทม่ี ีลักษณะเหมือนจุดเรียงต่อกนั เปน็ เส้นโค้ง หลายเสน้ ซอ้ นไขวก้ ัน เปน็ เหมอื นการเคลอ่ื นไหวไมห่ ยุดน่ิง 2.เส้น เกดิ จากการขดี ลากเป็นแนวยาว ในธรรมชาติปรากฏอยู่บริเวณแนวรอบวัตถุและ ส่ิงมีชวี ิตทีม่ รี ปู รา่ งรปู ทรง เช่น เสน้ รอบนอกของผลสม้ มลี ักษณะเป็นวงกลม หรอื อาจอย่ภู ายในวตั ถุและ สิ่งมีชีวติ เช่น ลายเสน้ ขาวดา้ ในตวั มา้ ลายเปน็ ตน้ เม่ือนา้ ปลายเสน้ มาบรรจบกันจะเกดิ เป็นรูปรา่ งตาม แนวทีบ่ รรจบ และหากน้าเส้นมาผสานรวมกนั ในรูปแบบต่างๆ จะเกิดเป็นพื้นผิวและรูปทรงขน้ึ ได้ตาม น้าหนกั ทเ่ี กิดขนึ้ ลกั ษณะของเสน้ ทา้ ใหเ้ กิดความรสู้ กึ ท่ีแตกตา่ งกันไป เชน่ เสน้ ตรงท้าให้รู้สกึ ม่นั คง เสน้ โค้งทา้ ใหร้ ู้สึกออ่ นไหวหรอื เคลอ่ื นไหว เส้นขยุกขยกิ ท้าให้รู้สึกสับสนว่นุ วาย โดยยกตัวอย่างจากภาพของ ผ้เู ขยี นทีแ่ สดงลักษณะของเส้นที่แตกตา่ งกัน ภาพท่ี 55 ตวั อย่างเสน้ โคง้ และเส้นตรง (การเคล่ือนไหวของมิติการต่อสู้), 2008 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ)
63 ภาพท่ี 56 ตัวอยา่ งเสน้ ลกั ษณะตา่ งๆเกดิ เปน็ รปู รา่ ง (ไม่มีช่ือภาพ), 2006(มาร์คเกอร์บนแผ่น สต๊ิกเกอร์) ภาพที่ 57 ตวั อยา่ งเส้นโคง้ อิสระทีซ่ ้อนทบั (การเคล่ือนไหวและมิติของสี), 2004 (หมึกดา้ บนกระดาษ 100 ปอนด์)
64 ภาพที่ 58 ตวั อยา่ งเสน้ ท่ผี สานกันจนเกิดเป็นรปู รา่ งรูปทรงและทีว่ า่ ง (หลอมไทยเทียม), 2006 (มาร์คเกอร์บนกระดาษ) ภาพที่ 59 ตวั อยา่ งเส้นทผ่ี สานกันเปน็ รูปรา่ ง (ทรงกีต้าร์), 2016 (มาร์คเกอร์บนกระดาษ)
65 3. รูปทรง วัตถุและสิ่งมชี วี ิตที่อาศัยน้าหนกั แสงเงาเป็นตวั สรา้ งมติ ิ มีปรมิ าตร ต้นื ลกึ หนา บาง เช่น รปู ทรงกลมของผลสม้ รปู ทรงเหลีย่ มของรถเปน็ ต้น รูปทรงกรวยของโคนไอตมิ รูปทรงสามเหลี่ยม ของพรี ะมิดรปู ทรงอิสระของนา้ เปน็ ตัน ตวั อยา่ งภาพวาดและประติมากรรมของผู้เขียนที่แสดงลักษณะ ของรปู ทรงทแี่ ตกต่างกันดังนี้ ภาพท่ี 60 ตัวอยา่ งรปู ทรง (หุ่นน่ิง), 2001 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ) ภาพท่ี 61 ตวั อยา่ งรูปทรง(หุ่นนิ่ง), 2001 (สีอะคริลิคบนผ้าใบ)
66 ภาพที่ 62 ตัวอยา่ งรูปทรงหัวกะโหลกและรูปทรงอิสระ (ความหวานท่ีเกินเลย), 2009 (สีอะคริลิคและปูนปลาสเตอร์) ภาพท่ี 63 ตัวอยา่ งรปู ทรงหัวกะโหลก (กะโหลกพรุน), 2009 (ปูนปลาสเตอร์)
67 ภาพท่ี 64 ตัวอยา่ งรูปทรงอิสระ(ความหวานท่ีเกินเลย), 2009 (สีอะคริลิคและปูนปลาสเตอร์) ภาพท่ี 65 ตัวอยา่ งรปู ทรงกระบอก (ศิลาปีศาจ), 2009 (สีอะคริลิคและปูนปลาสเตอร์)
68 ภาพท่ี 66 ตวั อย่างรูปอิสระจากทรงสามเหล่ียม (ปิ๊กปีศาจ), 2009 (ปูนปลาสเตอร์) ภาพท่ี 67 ตวั อยา่ งรูปทรงกระบอก (รักนิรันดร์), 2009 (สอี ะคริลิคและปูนปลาสเตอร์)
69 4. ที่ว่าง บริเวณวา่ งภายนอกหรอื ภายในรูปรา่ ง ท่ีไมป่ รากฏลายละเอยี ดใดๆนอกจากสีหรอื พื้นผิว เชน่ ทว่ี า่ งของทอ้ งฟ้าท่ีไรเ้ มฆ ทวี่ า่ งภายในสนามฟุตบอลเมอ่ื มองจากระยะไกล หากมองจาก ระยะใกล้มากจะเห็นเปน็ รปู ร่างของตน้ หญ้ามากกว่าเปน็ ท่ีวา่ ง ทีว่ า่ งมอี ยใู่ นทกุ ท่ีมากน้อยตา่ งกนั ไป หาก มีมากจะท้าใหร้ ูส้ ึกเควง้ คว้าง เงียบเหงา หากมนี ้อยจะท้าให้รสู้ ึกอึดอดั วนุ่ วาย ตัวอยา่ งภาพวาดของ ผู้เขยี นทแี่ สดงลกั ษณะของทว่ี ่างภายในและทีว่ ่างภายนอก สามารถมองเหน็ เปน็ รูปไดท้ ้งั สองแบบภายใน และภายนอกดังรูปต่อไปน้ี ภาพท่ี 68ตวั อย่างแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างที่ว่างภายในสีเหลืองและท่วี า่ งภายนอกสเี ขียว (สิ่งมีชีวิตในจินตนาการ), 2005(เทคนิคผสมบนแผ่นไม้) ภาพท่ี 69 ตัวอย่างแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งท่วี า่ งภายในสีขาวและทวี่ ่างภายนอกสีนา้ เงิน (สิ่งมีชีวิตในจินตนาการ), 2005(เทคนิคผสมบนแผ่นไม้)
70 5.พ้นื ผิว บริเวณผิวภายนอกวตั ถุและสิง่ มีชีวติ เพ่มิ สนุ ทรียภาพในการสัมผสั ทางตาและทาง ผวิ หนงั การวาดภาพพ้นื ผิวที่สมจรงิ จะช่วยเพมิ่ ความรู้สึกและความนา่ สนใจให้กบั ผลงานย่งิ ขนึ้ ไปอกี ตวั อย่างพื้นผิวจากธรรมชาติ เช่น พนื้ ผวิ ทุเรยี น พื้นผวิ สม้ พืน้ ผิวกวี ี่(Kiwi) ผลไมท้ ัง้ สามชนิดมีพื้นผิวทใี่ ห้ ความรู้สกึ แตกตา่ งกนั ผวิ เรยี บเนียนทา้ ใหร้ ูส้ ึกสะอาด เกล้ยี งเกลา เรยี บรอ้ ย สว่ นผิวหยาบท้าให้รู้สกึ แหง้ แลง้ น่ากลวั อันตราย นา่ ค้นหา ท้ังนี้อารมณค์ วามรูส้ ึกขึ้นอย่กู ับรปู ทรงและสดี ว้ ย ตัวอย่างภาพวาดของ ผู้เขียนที่แสดงลักษณะของพน้ื ผวิ ที่แตกต่างกันดงั นี้ ภาพท่ี 70 ตวั อยา่ งพ้ืนผวิ หยาบ (กิเลสภายในสู่ภายนอก), 2012(สีอะคริลิคบนผ้าใบ) ภาพที่ 71 ตัวอยา่ งพ้ืนผิวหยาบ (กิเลสภายในสู่ภายนอก), 2012(สีอะคริลิคบนผ้าใบ)
71 ภาพท่ี 72 ตวั อย่างพน้ื ผวิ เรียบเนยี น (ผลึกแข็งนา้ พาสู่หายนะ), 2006(สีอะคริลิคบนผ้าใบ) ภาพที่ 73 ตัวอยา่ งพืน้ ผิวเรยี บเนยี น (ผลึกแข็งน้าพาสู่หายนะ), 2006(สีอะคริลิคบนผ้าใบ)
72 6. แสงเงา น้าหนกั อ่อนแกภ่ ายในและภายนอกของวัตถุกบั สิ่งมชี วี ิต รปู แบบของแสงเงามี ทิศทางและความเขม้ ขน้ ของแสงสเี ปน็ ตวั กา้ หนด แสงน้อยท้าใหเ้ กิดเงาน้อยไปตามกนั แสงท้าใหเ้ ห็น รปู รา่ งรปู ทรงทช่ี ัดเจน หากไม่มแี สงเลยจะเกิดความมดื และทา้ ให้ทุกอยา่ งกลายเปน็ ทว่ี า่ ง ทิศทางการตก กระทบของแสงในธรรมชาติ เชน่ แสงเงาของคนตอนเทยี่ งเงาตกกระทบท้ามุมในแนวดิ่งมีลักษณะเล็ก รอบบริเวณด้านลา่ งของพนื้ ผิวที่โดนแสง แสงตอนเช้าและตอนเย็นทา้ มุมเฉียงทา้ ให้เกิดเงาท่ีทอดยาว กว่าความเป็นจริง ส่วนแสงที่เกิดจากมนุษย์ เช่นแสงจากหลอดไฟ ส่องมาจากหลายทิศทางในตอน กลางคืนทา้ ให้เกิดเงาหลายทิศทางตามตา้ แหน่งท่ีมาของแสงไฟ ตวั อย่างภาพจิตรกรรมสร้างสรรคข์ องผู้เขียนที่แสดงลักษณะของแสงเงาดังนี้ ภาพที่ 74 ตวั อย่างเสน้ ทีผ่ สานกนั จนเกิดแสงเงารวมเปน็ รูปทรง โดยมีทมี่ าของแสงจากทาง ด้านขวาของภาพเปน็ หลัก (ทรงแซกโซโฟน), 2016 (เทคนิคผสมบนกระดาษ)
73 ภาพที่ 75 ตวั อย่างแสงเงาของรปู ทรงท่ีมแี สงมาจากคนละที่ (ทางเลือก), 2015 (เทคนิคปะติด) ภาพที่ 76 ตัวอย่างแสงเงาของรูปทรงท่มี ีแสงมาจากคนละที่ (Motley Crue), 1999 (ดินสอด้าบนกระดาษ)
74 7. สี สที เ่ี กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ผลไม้ ดนิ ฯลฯ สที ี่มนุษยส์ ังเคราะหข์ นึ้ เชน่ สนี า้ สีพลาสติก สอี ะครลี คิ ฯลฯ ไมว่ า่ เป็นสีชนดิ ไหนสามารถน้ามาใชใ้ นการสร้างสรรค์งานจติ รกรรมได้ ทง้ั ส้ิน สีแต่ละสีใหอ้ ารมณ์ทแ่ี ตกตา่ งกนั สเี ดยี วกนั อาจให้ความหมายทแี่ ตกตา่ งกนั ไปตามความเชือ่ และ อารมณ์ความรู้สกึ เชน่ สีแดง หมายถงึ ชาติ เลอื ด โทสะ พลังอ้านาจ ความร้อนแรง พระอาทติ ย์ ความ เป็นสริ ิมงคล ม่ังค่ัง ความตาย คอมมวิ นิสต์ฯลฯ สมี คี ุณสมบตั ิแตกต่างกันไปตามชนดิ ของแหลง่ ที่มา การ ใชส้ คี วรคา้ นึงถึงเนื้อหาของเรื่องที่จะสร้างสรรค์ให้มีความสัมพนั ธ์กนั กบั ภาพ การผสมสจี ากสีหลัก แดง เหลอื ง น้าเงิน R= Red , Y =Yellow, B= Blue แดง + เหลอื ง = สม้ เหลือง + น้าเงิน = เขียว น้าเงนิ + แดง = มว่ งคลา้ แดง + เหลือง + น้าเงนิ = น้าตาลเข้มค่อนไปทางด้า ภาพท่ี 77 ตัวอย่างสีหลักทผ่ี สมกนั เปน็ สีใหม่ ท่ีมา : Aridglamor. 2017[Online] การสร้างระดับความเข้มขน้ ของสี ทา้ ได้จากการใชส้ ี ขาว ดา้ เทา(ขาว+ ด้า) หรอื อาจใช้สีอื่นที่ ใกลเ้ คียงผสมเพ่ือลดเพ่มิ ค่าน้าหนัก แบง่ เปน็ 3ระดบั ดงั นี้ 1.(Tint) การใช้สขี าวผสมกบั สอี ่นื จะให้ค่าสีท่ดี อู ่อนลงตามสดั สว่ น 2.(Tone) การใช้สีเทาผสมกับสอี ื่น จะใหค้ ่าสที ่ีดูหม่นลงตามสดั สว่ น 3.(Shade) การใชส้ ดี า้ ผสมกับสอี ื่น จะใหค้ ่าสที ี่ดูมืดลงตามสัดสว่ น สัดสว่ นของสีท่ผี สมมีผลต่อความเขม้ อ่อนของสีที่เกิดข้ึน
75 ภาพที่ 78 ตัวอย่างตวั อยา่ งสีทเ่ี กดิ จากการผสม ขาว เทา ดา้ ทีม่ า : Aridglamor. 2017[Online] 2.การจดั วางโครงสรา้ งองค์ประกอบในภาพ การวางตา้ แหนง่ สง่ิ ต่างๆในภาพควรค้านงึ ถงึ ความสมดลุ ทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยใชค้ วามรสู้ ึกจากสายตาท่ี มองภาพ เพ่ือองคป์ ระกอบภาพท่งี ดงามไม่ตกหลน่ ขาดเกิน หรอื หนักไปทางใดทางหนงึ่ จนเกินไป ทง้ั น้ี ขนึ้ อยูแ่ นวคิดและความพึงพอใจของผวู้ าดด้วย หลักการจดั เบื้องต้นท้าได้โดยการจัดวางตามลักษณะดงั น้ี 1. การจัดวางแบบเทา่ กนั ทัง้ สองข้าง โดยใชก้ ึง่ กลางภาพเป็นจุดศูนยก์ ลาง ภาพที่ 79 แสดงการจัดภาพแบบเทา่ กนั ท้ังสองขา้ งโดยสงั เกตจากดวงตาและปากทีอ่ ยู่กง่ึ กลางภาพ ท่มี า : ผลงานของ นายพศิน เวยี งแก้ว.2008
76 ภาพท่ี 80 แสดงการจดั ภาพแบบเท่ากันทัง้ สองข้างโดยสงั เกตจากรูปทรงและตวั หนงั สือที่อยูก่ ึ่งกลาง ภาพ ทีม่ า : ผลงานของ นายพศิน เวยี งแก้ว.1999 2. การจัดวางแบบไมเ่ ทา่ กันท้ังสองข้าง ใชค้ วามรู้สกึ จากน้าหนักอ่อนแกส่ รา้ งสมดุลด้วยสายตา ภาพท่ี 81 แสดงการจดั ภาพแบบไมเ่ ท่ากันท้ังสองข้างโดยสงั เกตจากบรเิ วณพืน้ สีนา้ ตาลแดงท้ังสองฝงั่ มี เหวลกึ สเี ข้มทค่ี อยถ่วงสมดุลในภาพ ทีม่ า : ผลงานของ นายพศนิ เวียงแก้ว.2009
77 3. การจัดวางแบบกระจายทั่วทงั้ ภาพ ภาพที่ 82 แสดงการจัดวางแบบกระจายทวั่ ทัง้ ภาพโดยสงั เกตจาก รปู ร่างสแี ละใบหนา้ คน ทม่ี า : ผลงานของ นายพศิน เวียงแก้ว.2008 เอกสารอา้ งอิง Aridglamor. 2017 ..sketching drawing and digital painting blog.[Online]Available : http://www.aridglamor.com/2014/03/spinning-the-color-wheel-basic-color- theory- part-1/ ชะลูด น่ิมเสมอ.องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : สา้ นักพมิ พ์อมรินทร์, 2545 แบบฝึกหัดทา้ ยบท แบบอตั นัย จงตอบค้าถามตามหัวข้อที่กา้ หนด 1. ทัศนธาตุประกอบด้วยอะไรบา้ ง อธิบายความส้าคัญของส่วนตา่ งๆ แบบปฏิบัติ ฝึกปฏิบตั วิ าดภาพตามหัวข้อที่ก้าหนด 1. การใช้จุดรวมใหเ้ กดิ ภาพ 2. การใช้เสน้ ในลกั ษณะต่าง ๆ เส้นนอน เส้นตัง้ เส้นเฉียง เสน้ โคง้ เส้นหยัก เสน้ ขยุกขยิก 3. เขยี นรูปร่าง สีเ่ หลีย่ ม สามเหล่ยี ม วงกลม วงรี รปู รา่ งอสิ ระ 4. สรา้ งน้าหนักตามลกั ษณะพนื้ ผวิ ท่ีก้าหนด เรียบ ขรุขระ 5. วาดรูปทรง กลม สี่เหลย่ี ม สามเหล่ยี ม ทรงกระบอก ทรงกรวย 6. ผสมสีจากสีหลัก น้าเงิน แดง เหลอื ง และผสมสีท่ีได้เพอ่ื ลดเพม่ิ ความอ่อนแก่ดว้ ยสี ขาว เทา ดา้
78
79 แผนการบริหารการสอนบทที่ 6 ทศั นยี ภาพ (Perspective) 1.หัวข้อเน้ือหา 1. ระยะ (Phase) 1.1 ระยะหนา้ (The front) 1.2 ระยะกลาง (Medium term) 1.3 ระยะหลัง (Lately) 2. มุมมอง (Point of View) 2.1 มุมมองจากาด้านบนลงมา (Bird's eye view) 2.2 มุมมองระดับสายตา (Eye level) 2.3 มุมมองจากด้านล่างข้ึนไป (View from below) 2.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาบทเรียนจบแล้ว นกั ศึกษาจะมีความรู้ความสามารถในเรื่องดังต่อไปนี้ 2.1 อธบิ ายแนวคิดในงานจติ รกรรมแต่ละประเภทได้ 2.2 อธบิ ายอทิ ธพิ ลจากผลงานศลิ ปกรรมในแตล่ ะดา้ นได้ 2.3 วาดภาพลอกเลียนแบบงานศิลปินได้ 3.กิจกรรมการเรียนการสอน 3.1 บรรยายเน้อื วิชา 3.2 ศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารทางวิชาการ 3.3 จดั ทารายงานเดี่ยว 3.4 นาเสนองานหนา้ ชัน้ เรียน วิเคราะหผ์ ล 4.สื่อการสอน 4.1 สื่อการสอนมัลติมีเดีย (Multimedia) 5.วิธีการประเมินผล 5.1 ประเมินจากแบบทดสอบท้ายบท 5.2 การตรงต่อเวลา การเข้าช้ันเรียน 5.3 การนาเสนอเอกสารหน้าช้นั เรียน 5.4 การฝึกทักษะในการลอกงานศิลปิน 5.5 ความชัดเจนของเนื้อหารายงาน 5.6 การตอบคาถามในชนั้
80
81 บทท่ี 6 ทัศนียภาพ (Perspective) ทัศนยี ภาพหรือภาพท่ีมองเห็นเบื้องหน้าประกอบไปด้วย ธรรมชาตแิ วดล้อมท่ีแบง่ ระยะการ มองเหน็ ออกไปเปน็ ความต้นื ลึกของภาพ หนา้ กลาง หลัง องค์ประกอบท่เี หน็ เปล่ียนไปตามมุมมองของ ตาแหนง่ จุดนาสายตา ความชดั เจนท่ีเห็นอาจผันแปรไปตามการโฟกัส(Focus) หรือจุดที่สายตาเพ่งไป ทศั นยี ภาพท่ีเราเหน็ กนั อย่ทู ว่ั ไปจะเปน็ ภาพทิวทศั น์ทท่ี อดยาวออกไปในระยะไกลหรอื ระยะใกล้ขึ้นอยู่กับ สง่ิ แวดลอ้ มที่อยู่ตรงน้ันด้วย เช่น ทะเล ป่าเขา เมือง แมน่ ้าและสถานท่ตี ่างๆ ที่เป็นท่โี ลง่ ไม่มีกาแพงหรือ สิ่งที่บดบังมมุ มอง จะเปน็ ทวิ ทัศนร์ ะยะไกล หากเปน็ สถานทที่ ่ีเปน็ มุมทบึ เช่น หอ้ งเรยี น หรือวิวภายใน ตวั อาคารสถานที่ มีกาแพงลอ้ มลอบจะเปน็ ทวิ ทัศนร์ ะยะใกล้ ในเชิงของศลิ ปะทัศนียภาพของงาน จิตรกรรมอาจไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั ที่ตาเห็นเสมอไปขนึ้ อยู่กบั รปู แบบของผลงานและแนวคิดของผวู้ าดด้วย ทศั นยี ภาพที่เราเห็นสามารถส่งผลต่ออารมณค์ วามรสู้ ึกเราไดต้ ามองคป์ ระกอบภายในทเี่ หน็ เชน่ ความตน้ื ลกึ บรรยากาศ สี แสง เหตกุ ารณ์และความหนาแน่นของสงิ่ แวดล้อม ดังภาพตวั อยา่ งต่อไปน้ี ภาพท่ี 83 ภาพวาดของวินเซนต์ แวน โก๊ะ(Vincent Van gogh). Irises (pink/gree) วาดภาพเม่ือ พ.ค. ปี ค.ศ.1890 เป็นภาพวาดสีน้ามันบนพื้นผา้ ใบ ขนาดภาพ 73.7 x 92.1 ซม. สถานท่ีแสดง The Metropolitan Museum of Art เมืองนิวยอร์ก ท่ีมา : โลกศิลปะ ศตวรรษท่ี 20.2545 ดอกไม้สดให้ความรู้สึกสดชน่ื มชี วี ิตชวี า หากแหง้ เหี่ยวไปจะทาให้ร้สู ึกอ่อนแอ ส้ินหวัง จากใน ภาพแสดงถงึ สีของดอกไมท้ ี่ดเู หมือนกาลังจะเหี่ยวเฉา เป็นทัศนยี ภาพระยะใกล้เน่อื งจากมีแค่ระยะหนา้ กบั ระยะหลงั ระยะกลางชอ่ งว่างพ้ืนสีเขยี วดา้ นหลังแจกันดูแคบจนแทบไม่มใี ห้เหน็ แต่พ้ืนหลังกาแพงสี ขาวช่วยหลอกตาทาใหร้ ู้สึกวา่ ภาพดูมีมิติทไี่ กลออกไป
82 ภาพที่ 84 ภาพวาดของวินเซนต์ แวน โก๊ะ(Vincent Van gogh). Starry Night Over The Rhone วาดในปี ค.ศ.1888 ท่มี า : โลกศลิ ปะ ศตวรรษที่ 20.2545 จากภาพแสดงทัศนยี ภาพระยะไกลเนอ่ื งจากมรี ะยะหนา้ กลาง หลงั ทท่ี อดยาวไกลออกไป บรรยากาศสแี สงในตอนกลางคนื ทาให้ดรู สู้ กึ อบอุ่นทา่ มกลางอากาศท่หี นาวเย็น ภาพที่ 85 ภาพวาดของวินเซนต์ แวน โก๊ะ(Vincent Van gogh). (Vincent’s Bedroom) 1888 ที่มา : โลกศลิ ปะ ศตวรรษที่ 20.2545 จากภาพแสดงทัศนียภาพระยะใกลเ้ น่ืองจากมรี ะยะหน้าและระยะหลงั กาแพงห้องบดบังความ ลึกของภาพ ทีว่ า่ งภายในไม่ทาให้ภาพดูอึดอดั จนเกนิ ไป บรรยากาศสีแสงในห้องทาใหด้ ูรู้สกึ อบอุ่นและ เปน็ มิตร หรอื บางทอี่ าจดูแลว้ ร้สู ึกเหงาและวา้ เหวเ่ พราะไม่มใี ครอาศัยอยู่ภายในห้องนอน
83 ภาพท่ี 86 ภาพวาดของวินเซนต์ แวน โก๊ะ(Vincent Van gogh). Trees in the Asylum Garden วาดภาพเมื่อปี ค.ศ.1889 เป็นภาพวาดสีน้ามันบนพื้นผ้าใบ ท่มี า : โลกศลิ ปะ ศตวรรษท่ี 20.2545 จากภาพแสดงทศั นยี ภาพระยะไกลแต่ดเู หมือนใกล้เน่ืองจากมีระยะหน้าและระยะกลาง ส่วน ระยะหลังแทบจะมองไมเ่ ห็น เน่อื งจากภาพของตน้ ไมใ้ นระยะกลางท่ีบดบัง บรรยากาศของภาพดแู ลว้ รสู้ กึ ร้อนดว้ ยโทนสีส้มแดงที่ใช้ มีความเคล่อื นไหวของใบไม้ทด่ี มู พี ลังชีวิต พลังลม หรืออาจเปน็ อารมณ์ที่ แปรปรวนของผวู้ าดเองเปน็ ได้ ภาพท่ี 87 ภาพวาดของโกลด มอแน(Claude Monet) (LE PONT JAPANOIS A GIVERNY).1899 ท่ีมา : โลกศลิ ปะ ศตวรรษท่ี 20.2545 จากภาพแสดงทศั นียภาพระยะไกลแต่ดเู หมือนใกล้เน่อื งจากมีระยะหน้าและระยะกลาง สว่ น ระยะหลังจะมองไม่เหน็ เนอื่ งจากภาพของตน้ ไมใ้ นระยะกลางทบ่ี ดบงั ท้ังหมด บรรยากาศของภาพดูแลว้
84 รู้สกึ รม่ รน่ื ด้วยโทนสเี ขียวทใี่ ช้ หากมองผวิ เผินจะรสู้ ึกอดึ อดั และลายตาเน่ืองจากรายละเอียดของต้นไม้ที่ เต็มอย่ทู ัว่ ภาพ ทัศนยี ภาพสามารถแบ่งสัดสว่ นออกไดต้ ามระยะและมุมมองดังน้ี 1. ระยะ (Phase) หมายถงึ ความใกล้ไกลของสิ่งแวดล้อมต่างๆ ทีเ่ หน็ ในภาพ ซึ่งสง่ิ แวดลอ้ ม ทงั้ หลายทีเ่ ราเห็นจะเปน็ ตัวกาหนดระยะต่างๆ ทเี กิดข้นึ ดังน้นั ระยะทีเ่ กดขน้ึ จะมคี วามสัมพันธ์กบั มมุ มองทเี่ ห็นดว้ ยเชน่ กัน ส่วนความชดั เจนในรายละเอียดของภาพท่ีปรากฏการโฟกัสดว้ ยสายตาจะเปน็ ตวั กาหนดความชดั ของภาพนั้น หากเราโฟกสั ท่รี ะยะหน้าก่อน ระยะถัดไปจะมีความชัดของภาพน้อยลง ตามลาดบั และหากเราโฟกสั ที่ระยะหลังก่อน ระยะทยี่ ้อนออกมาดา้ นหนา้ จะมคี วามชัดของภาพน้อยลง ตามลาดับ ภาพที่ 88 แสดงระยะของต้นไม้ ทม่ี า : perspectivethai.2013.[Online]
85 ระยะขัน้ พ้ืนฐานในภาพแบ่งออกเป็น 3 ระยะ หน้า กลาง หลังดงั ต่อไปน้ี 1.1 ระยะหน้า (The front) สิ่งทีเ่ หน็ ใกลส้ ายตาทส่ี ุด มีความชดั เจนในสี รปู รา่ ง รปู ทรง ขนาดทเ่ี ห็นใหญ่กวา่ ความเป็นจรงิ เม่ืออยใู่ กลต้ าหรือเทียบกบั วตั ถุท่ีอย่ไู กลออกไปในทัศนยี ภาพนนั้ ภาพที่ 89 แสดงการโฟกสั ระยะหนา้ ของดอกไม้ ทีม่ า : perspectivethai.2013.[Online] ภาพท่ี 90 แสดงการโฟกัสระยะหนา้ ของตุ๊กตา ทีม่ า : perspectivethai.2013.[Online]
86 1.2 ระยะกลาง (Medium term) ระยะท่ีอยูล่ ึกออกไปจากระยะหนา้ ความชดั เจนของ สงิ่ แวดล้อมในภาพลดนอ้ ยลงมาตามลาดับความใกล้ไกล เป็นระยะที่ชว่ ยให้ภาพมมี ิตเิ พ่มิ มากขน้ึ ภาพท่ี 91 แสดงการโฟกัสระยะกลางของกล้องถา่ ยรูป ทม่ี า : perspectivethai.2013.[Online] 1.3 ระยะหลัง (Lately) ระยะท่ีอยู่ทา้ ยสุดท่ตี ามองเหน็ มคี วามชดั เจนน้อยท่สี ดุ ในภาพหาก โฟกสั ทีร่ ะยะหนา้ ขนาดสิ่งแวดล้อมเลก็ ลงไปตามระยะทางความลกึ ภาพที่ 92 แสดงการโฟกัสระยะหลังของขวดน้า ทีม่ า : perspectivethai.2013.[Online]
87 ภาพท่ี 93 (จนิ ตนาการริมหาดและเสียงเพลง) สีอะครลิ คิ บนผา้ ใบ ในภาพแสดงระยะหน้าเปน็ ภาพกล่องกับฟองอากาศ ระยะกลางเป็นภาพคนเล่นกีต้าร์และระยะหลังเป็นภาพคลืน่ น้าท่ซี ัดใส่โขดหิน กับทอ้ งฟา้ ตามลาดับ ทมี่ า : ผลงานของ นายพศนิ เวียงแก้ว.2009 ภาพท่ี 94 (ออกกเิ ลส) สีอะครลิ ิคบนผา้ ใบ ในภาพแสดงระยะหนา้ กลาง หลงั ทีด่ ูลึกไกลออกไป ทมี่ า : ผลงานของ นายพศนิ เวียงแกว้ .2011
88 2. มุมมอง (Point of View) เป็นตาแหน่งของการมองท่ีทาให้ภาพเปลี่ยนไปตามระดับหรือ ทิศทาง โดยแบ่งคร่าวๆออกเป็น 3 มุมมอง มองจากด้านบน มองระดบั สายตา มองจากด้านล้าง ภาพท่ี 95 มุมมอง ทมี่ า : perspectivethai.2013.[Online] จากภาพแสดงสัดสว่ นของรปู ทรงส่ีเหลี่ยมในแต่ละมุมมอง บน กลาง ลา่ งทมี่ ีความแตกต่างกนั วิธีการวาดตอ้ งเช็คจดุ นาสายตา Vanishing point ( v.p ) โดยสังเกตจากเส้นระนาบแนวนอนของวัตถุ ช้ีไปทางทิศไหนจากนนั้ ลากเส้นจากระนาบแนวนอนของวัตถเุ ขา้ หาจดุ นาสายตาเพ่ือง่ายตอ่ การวาด สดั ส่วนท่ถี กู ต้อง
89 2.1 มุมมองจากด้านบนลงมา (Bird's eye view) เมื่อมองจากที่สูงภาพท่ีปรากฏจะมี ลักษณะเล็กลงไปตามความสูงของตาแหน่งการมอง ส่ิงที่ใกล้ตาจะมีขนาดใหญ่กว่าความเป็นจริงเมื่อ เทียบกับส่ิงที่อยู่ไกลออกไป จะเห็นด้านบนของส่ิงแวดล้อมมีขนาดใหญ่ไล่ระดับลงมา ภาพท่ี 96 มุมนกมอง ท่ีมา : perspectivethai.2013.[Online] 2.2 มุมมองระดับสายตา (Eye level) เป็นการมองตรงไปข้างหน้า จะเห็นด้านหน้าของ สิ่งแวดล้อมไล่ระดับออกไปตามทิศต่างๆ ขนาดสัดส่วนของสิ่งแวดล้อมมีผลต่อองศาท่ีเกิดข้ึนต่อรูปร่าง และรูปทรง ภาพที่ 97 มุมมองระดับสายตา ท่ีมา : perspectivethai.2013.[Online]
90 2.3มุมมองจากด้านล่างข้ึนไป (View from below) หากเรามองขึ้นสู่ด้านบนจะเห็นดา้ นล่าง ของสิ่งแวดล้อมมีขนาดใหญ่ไล่ระดับข้ึนไปตามความสูง องศาของเส้นรูปร่างและรูปทรงพุ่งขึ้นในแนวด่ิง ตามขนาดและสัดส่วนของภาพ ภาพท่ี 98 มุมมองจากด้านลา้ งข้ึนไป ทม่ี า : perspectivethai.2013.[Online] ภาพที่ 99 มุมมองจากด้านลา้ งขึน้ ไป ทม่ี า : perspectivethai.2013.[Online
91 เอกสารอ้างอิง perspectivethai.2013. การเขยี น Perspectivethai.[Online]Available : http://www. perspectivethai.wordpress.com/2013/03/12/การเขยี น-perspective/ จิระพัฒน์ พิตรปรชี า. โลกศิลปะ ศตวรรษที่ 20. กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ, 2545. แบบฝกึ หัดทา้ ยบท แบบอัตนยั จงตอบคาถามตามหวั ขอ้ ที่กาหนด 1. ทศั นียภาพหมายถึงอะไร 2. อธิบายระยะในภาพ 3. อธิบายมมุ มองในภาพ แบบปฏิบตั ิ จงวาดภาพตามหัวขอ้ ทีก่ าหนด 1. ฝกึ วาดภาพมมุ มองระดับสายตาให้มีระยะหน้า กลาง หลัง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118