เห็ดครบี Agarics : กลมุ่ ป่าแกง่ กระจาน เขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ป่าเชยี งดาว และเขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ภเู ขยี ว สานักวิจยั การอนรุ ักษป์ ่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพ์ุ ชื กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
ท่ปี รึกษา : ผ้อู านวยการสานักวิจัยการอนรุ กั ษป์ า่ ไมแ้ ละพันธุ์พชื นายณรงค์ มหรรณพ ผู้อานวยการส่วนวจิ ยั การอนรุ กั ษป์ ่าไม้ นางสริ ิรตั น์ จันทร์มหเสถยี ร หัวหนา้ สานกั งานหอพรรณไม้ นายวิชยั ออ่ นน้อม ผูเ้ รียบเรยี ง : สานกั งานหอพรรณไม้ นายบารมี สกลรกั ษ์ ส่วนวิจัยการอนุรกั ษ์ป่าไม้ นางกิตติมา ด้วงแค ส่วนความหลากหลายทางชวี ภาพ นางสาวจนั จิรา อายะวงศ์ ส่วนวิจัยการอนุรกั ษป์ า่ ไม้ นางกฤษณา พงษ์พานิช สว่ นวิจยั การอนุรักษป์ ่าไม้ นางสาววินนั ท์ดา หิมะมาน ออกแบบ/ประสานงาน : นางสาวเบญจมาศ วงศศ์ รีวจิ ิตร ส่วนวิจยั การอนุรักษป์ ่าไม้ จานวนพิมพ์ : 500 เลม่ สาหรบั เผยแพร่ ห้ามจาหน่าย การอ้างองิ หนงั สือ : บารมี สกลรักษ์, กิตติมา ด้วงแค, จันจิรา อายะวงศ์, กฤษณา พงษ์พานิช และ วินันท์ดา หิมะมาน. 2559. เห็ดครีบ : กลุ่มป่าแก่งกระจาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว. สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืช, กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธุพ์ ืช, กรงุ เทพฯ. 240 หนา้ . ISBN : 978-616-316-328-8 จัดทาโดย : ส่วนวจิ ยั การอนุรกั ษป์ า่ ไม้ สานกั วจิ ัยการอนุรกั ษ์ป่าไมแ้ ละพนั ธพุ์ ชื กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุ์พชื 61 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 พิมพท์ ่ี : โรงพิมพ์สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ สงวนลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2559
คานา เห็ดจัดเป็นจุลินทรีย์ในกลุ่มเชื้อราที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศป่าไม้ และมนุษย์ โดยเป็นผู้ย่อยสลายในห่วงโซ่อาหาร และมนุษย์ได้นามาใช้ประโยชน์ ด้านการอุปโภค บริโภค การแพทย์ การอุตสาหกรรม การเกษตร และการป่าไม้ เห็ดสามารถจัดกลุ่มตามลักษณะโครงสร้างของดอกออกเป็น 18 กลุ่ม คือ เห็ดครีบ เห็ดมันปู เห็ดตับเต่า เห็ดหิ้ง เห็ดแผ่นหนัง เห็ดหูหนู เห็ดแบนราบไปกับ ขอนไม้ เห็ดฟันเลื่อย เห็ดปะการัง เห็ดรูปร่มหุบ เห็ดลูกฝุ่นและเห็ดดาวดิน เห็ดลูกฝุ่นก้านยาว เห็ดรังนก เห็ดเขาเหม็น เห็ดนิ้วมือคนตายและเห็ดดันหมี เห็ดอานม้า เห็ดแก้วแชมเปญและเห็ดรูปจาน และเห็ดลิ้นพสุธา สาหรับหนังสือเล่มน้ี จะได้กล่าวถึงกลุ่มของเห็ดครีบ ซึ่งเป็นกลุ่มของเห็ดที่มีสมาชิกในกลุ่มจานวนมาก สังเกตเห็นได้ง่ายเพราะมีสีสรรและรูปทรงที่สวยงาม ประกอบกับพื้นที่ป่า ไม้ ของประเทศไทยมีความหลากหลายของพรรณพืชและมีความอุดมสมบูรณ์สูง ทาให้ พบเห็ดครีบที่หลากหลายโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน หนังสือ “เห็ดครีบ : กลุ่มป่าแก่งกระจาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว และเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูเขียว” น้ีได้จากการรวบรวมผลการศึกษาภายใต้ โครงการวิจัยความหลากหลายของเห็ดราไมคอร์ไรซาในระบบนิเวศป่า ไม้เขตรักษา พันธ์ุสตั ว์ป่าเชยี งดาว (พ.ศ. 2548 – 2551) โครงการวิจัยความหลากหลายและการใช้ ประโยชน์ของเห็ดราในกลุ่มป่าแก่งกระจาน (พ.ศ. 2551 – 2554) รวมพื้นท่ีป่า 4 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้าภาชี และข้อมูลเห็ดในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว (พ.ศ. 2554) ประกอบด้วยสภาพพื้นที่ป่าหลายแบบ ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง เป็นต้น
หนังสือเล่มน้ีประกอบด้วยข้อมูลด้านอนุกรมวิธาน โดยจาแนกถึงระดับ ชนิดโดยอาศัยข้อมูลทางสัณฐานวิทยาเท่านั้น จะบรรยายลักษณะทั่วไปของเห็ดครีบ ตั้งแต่ ลักษณะหมวก ครีบ ก้าน สปอร์ ที่อยู่อาศัย และข้อมูลการบริโภค พร้อม ภาพประกอบเพื่อให้ผู้สนใจได้เรียนรู้เรื่องความหลากชนิดของเห็ดครีบในป่าอนุรักษ์ สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืชหวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะสร้างความตระหนักให้ ผู้อ่านเห็นถึงความสาคัญของป่าไม้ และเกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ต่อไป (นายณรงค์ มหรรณพ) ผู้อานวยการสานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช สิงหาคม 2559
คานิยม ตลอดระยะเวลาศึกษาวิจัยความหลากชนิดของเห็ด และการรวบรวมข้อมูล จานวนชนิดของเห็ดนั้น คณะนักวิจัยได้รับความอนุเคราะห์จากหัวหน้าอุทยานแห่งชาติ หวั หนา้ เขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ หัวหนา้ สถานวี จิ ยั รวมถงึ เจา้ หนา้ ทใี่ นหน่วยงานภาคสนาม ท่ีเป็นเจ้าของพนื้ ที่ศึกษาเป็นอยา่ งดีมาโดยตลอด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง นายประทีป โรจนดิลก หัวหน้าสถานีวิจัยสัตว์ป่าดอยเชียงดาวในขณะนั้น และ นางสาวกมลทิพย์ พรมเพ็ชร์ หัวหนา้ สถานีพฒั นาและสง่ เสริมการอนุรักษ์สตั ว์ป่าราชบุรี ขอขอบคุณผู้ช่วยนักวิจัยทุกท่าน นางสาวปานรดา แจ้งสันเทียะ นางสาว อลิสา ชาตเวช นางสาววิรุดา สมรัตน์ นายอานาจ ภูขุนทด นายกิติศักดิ์ กระจับเผือก และนายบุญส่ง ศรียศสมบัติ ที่ได้ร่วมวิจัยและปฏิบัติงานด้วยความอุตสาหะท้ังใน ภาคสนามและในห้องปฏิบัติการ และขอขอบคุณ นางสาวสุพัตรา อารีจันทวัฒน์ นางสาวภณดิ า แนวหล้า และนางสาวนิตยา สุจริตธรรม ท่ีให้ความช่วยเหลือด้านต่าง ๆ จนทาใหก้ ารจดั ทาหนงั สอื เล่มนี้สาเรจ็ ได้ดว้ ยดี คณะผูว้ ิจยั สิงหาคม 2559
สารบญั บทนา 1 เหด็ ครบี 2 ลักษณะท่ีมองเหน็ ด้วยตาเปล่า 4 ลักษณะภายใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์ 4 การจดั อนกุ รมวิธาน 9 11 คาบรรยายชนดิ เห็ด 13 Agaricus arvensis Schaeff. 15 Agaricus augustus Fr. 17 Agaricus subrutilescens (Kauffman) Hotson & D.E. Stuntz 19 Chlorophyllum molybdites (G. Mey.) Massee 21 Coprinus comatus (O.F. Müll.) Pers. 23 Lepiota castanea Quél. 25 Leucoagaricus rubrotinctus (Peck) Singer 27 Leucocoprinus cepistipes (Sowerby) Pat. 29 Leucocoprinus fragilissimus (Ravenel ex Berk. & M.A. Curtis) Pat. 31 Macrolepiota gracilenta (Krombh.) Wasser 33 Amanita angustilamellata (Höhn.) Boedijn 35 Amanita calyptroderma G.F. Atk. & V.G. Ballen 37 Amanita ceciliae (Berk. & Broome) Bas 39 Amanita cheelii P.M. Kirk 41 Amanita fulva Fr. 43 Amanita hemibapha (Berk. & Broome) Sacc. 45 Amanita javanica (Corner & Bas) T. Oda, C. Tanaka & Tsuda 47 Amanita mira Corner & Bas 49 Amanita princeps Corner & Bas 51 Amanita pseudoporphyria Hongo 53 Amanita vaginata (Bull.) Lam. Amanita verna (Bull.) Lam. Entoloma cyanonigrum (Hongo) Hongo
สารบญั คาบรรยายชนิดเหด็ Entoloma virescens (Sacc.) E. Horak ex Courtec. 55 Laccaria amethystina Cooke 57 Laccaria laccata (Scop.) Cooke 59 Hygrocybe brunneosquamulosa Leelav., Manim. & Arnolds 61 Hygrocybe cantharellus (Schwein.) Murrill 63 Hygrocybe coccineocrenata (P.D. Orton) M.M. Moser 65 Hygrocybe cuspidata (Peck) Murrill 67 Crepidotus mollis (Schaeff.) Staude 69 Crepidotus sulphurinus Imazeki & Toki 71 Asterophora lycoperdoides (Bull.) Ditmar 73 Termitomyces clypeatus R. Heim 75 Termitomyces eurrhizus (Berk.) R. Heim 77 Termitomyces globulus R. Heim & Gooss.–Font. 79 Termitomyces heimii Natarajan 81 Termitomyces indicus Natarajan 83 Termitomyces microcarpus (Berk. & Broome) R. Heim 85 Campanella junghuhnii (Mont.) Singer 87 Chaetocalathus liliputianus (Mont.) Singer 89 Crinipellis scabella (Alb. & Schwein.) Murrill 91 Marasmius coarctatus Wannathes, Desjardin & Lumyong 93 Marasmius haematocephalus (Mont.) Fr. 95 Marasmius jasminodorus Wannathes, Desjardin & Lumyong 97 Marasmius maximus Hongo 99 Marasmius nigrobrunneus (Pat.) Sacc. 101 Marasmius pallenticeps Singer 103 Marasmius pellucidus Berk. & Broome 105 Marasmius pseudopellucidus Wannathes, Desjardin & Lumyong 107 Marasmius pulcherripes Peck 109
สารบัญ คาบรรยายชนดิ เหด็ Marasmius purpureobrunneolus Henn. 111 Marasmius purpureostriatus Hongo 113 Marasmius siccus (Schwein.) Fr. 115 Pleurocybella porrigens (Pers.) Singer 117 Tetrapyrgos nigripes (Fr.) E. Horak 119 Trogia infundibuliformis Berk. & Broome 121 Favolaschia manipularis (Berk.) Teng 123 Panellus pusillus (Pers. ex Lév.) Burds. & O.K. Mill. 125 Hemimycena candida (Bres.) Singer 127 Marasmiellus corticum Singer 129 Marasmiellus ramealis (Bull.) Singer 131 Hymenopellis radicata (Relhan) R.H. Petersen 133 Physalacria inflata (Fr.) Peck 135 Pluteus cervinus (Schaeff.) P. Kumm. 137 Pluteus leoninus (Schaeff.) P. Kumm. 139 Volvariella cubensis (Murrill) Shaffer 141 Volvariella pusilla (Pers.) Singer 143 Volvariella volvacea (Bull.) Singer 145 Coprinellus disseminatus (Pers.) J.E. Lange 147 Coprinopsis atramentaria (Bull.) Redhead, Vilgalys & Moncalvo 149 Coprinopsis cinerea (Schaeff.) Redhead, Vilgalys & Moncalvo 151 Cystoagaricus trisulphuratus (Berk.) Singer 153 Parasola plicatilis (Curtis) Redhead, Vilgalys & Hopple 155 Parasola setulosa (Berk. & Broome) Redhead, Vilgalys & Hopple 157 Psathyrella candolleana (Fr.) Maire 159 Psathyrella piluliformis (Bull.) P.D. Orton 161 Gymnopilus aeruginosus (Peck) Singer 163 Lepista nuda (Bull.) Cooke 165
สารบญั 167 169 คาบรรยายชนดิ เห็ด 171 Macrocybe crassa (Sacc.) Pegler & Lodge 173 Resupinatus applicatus (Batsch) Gray 175 Tricholomopsis rutilans (Schaeff.) Singer 177 Panaeolus cyanescens (Berk. & Broome) Sacc. 179 Panaeolus papilionaceus (Bull.) Quél. 181 Panaeolus semiovatus (Sowerby) S. Lundell & Nannf. 183 Lactarius hygrophoroides Berk. & M.A. Curtis 185 Lactarius volemus (Fr.) Fr. 187 Russula alboareolata Hongo 189 Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr. 191 Russula densifolia Secr. ex Gillet 193 Russula emetica (Schaeff.) Pers. 195 Russula flavida Frost 197 Russula foetens Pers. 199 Russula neoemetica Hongo 201 Russula nigricans Fr. 203 Russula rosea Pers. 205 Russula sanguinaria (Schumach.) Rauschert 207 Russula sanguinea Fr. 209 Russula senecis S. Imai 210 Russula violeipes Quél. 212 Russula virescens (Schaeff.) Fr. 223 เอกสารและส่งิ อา้ งองิ ดชั นรี ายช่อื วทิ ยาศาสตร์ ดชั นรี ายช่อื ท้องถน่ิ / ช่ือสามัญ
Agaricus 1 เห็ดครีบ เห็ดครีบ (Gilled mushroom หรือ Agarics) เปน็ คาเรียกลักษณะของรา โดยรวมที่มีการสร้างโครงสร้างสาหรับสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศขนาดใหญ่ ซึ่งโดยท่ัวไป เรียกว่า “ดอกเหด็ ” หรอื “fruiting body” มสี ว่ นทใ่ี ห้กาเนิดสปอร์เป็นเนื้อเย่ือแผ่นบาง คล้ายใบมีด เรียกวา่ ครีบ (gill) โครงสร้างนี้จะพบอยู่ใต้หมวกและมักเรียงตัวเป็นแนว รัศมีออกจากก้าน ส่วนใหญ่ดอกเห็ดในกลุ่มเห็ดครีบจะมีโครงสร้างต่าง ๆ ดังแสดง ในภาพ แหลง่ กาเนิดสปอร์ / ครบี หมวก (cap / pileus) (gill / lamella) วงแหวน (ring / annulus) กา้ น (stipe / stalk) สะเก็ด (scale) ถว้ ย / โวลวา เส้นใย (mycelium) (cup / volva) โครงสรา้ งส่วนต่าง ๆ ของดอกเห็ด เห็ดครีบส่วนใหญ่จะเป็นเห็ดที่อยู่ในอันดับ Agaricales และ Russulales แตม่ บี างชนดิ เชน่ เหด็ ตบั เตา่ ครบี เหด็ ขม้ิน และเหด็ ลม เมอื่ นาไปศึกษาสายวิวัฒนาการ เชิงพันธุกรรมแล้วพบว่ามีความใกล้เคียงกับเห็ดในอันดับอ่ืน ๆ ได้แก่ Boletales, Cantharellales และ Polyporales ตามลาดบั ซึง่ จะไม่รวมอยใู่ นหนังสือเลม่ นี้ การจาแนกชนิดเห็ดครีบจาเป็นต้องทาการศึกษาและจดบันทึกข้อมูล 2 ส่วน ใหญ่ ๆ คือ ลักษณะที่มองเห็นด้วยตาเปล่า (macroscopic features) และ ลักษณะภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ (microscopic features)
2 Agaricus ลกั ษณะท่มี องเห็นด้วยตาเปลา่ 1. ขนาด (size) เป็นการวัดขนาดสว่ นตา่ ง ๆ ของดอกเหด็ ท้งั หมวก ก้าน ครีบ นิยมวัดเปน็ หนว่ ยของมลิ ลิเมตร หรอื เซนติเมตร 2. สี (color) สามารถพบได้ทุกเฉดสี แต่สีที่พบบ่อยอยู่ในโทนสีเหลือง ถึงสีน้าตาล การอธิบายสีของดอกเห็ดหากจะให้เป็นมาตรฐานเดียวกันควรมีการเทียบ จากตารางสีมาตรฐาน (standard colored chart) และต้องสังเกตต้ังแต่เป็นดอกเห็ด สดในสภาพธรรมชาติ 3. รอยพิมพ์สปอร์ (spore print) เป็นการทาเพื่อดูสีของกลุ่มสปอร์ และ เปน็ ข้อมูลสาคัญท่ใี ชใ้ นการจาแนกชนิดของเห็ด โดยเฉพาะในกลุ่มเห็ดครีบ ต้องทาทันที ท่ีกลับจากการออกพ้ืนที่ เนื่องจากดอกเห็ดยังสดและมีความช้ืนอยู่มาก ไม่ควรทา หลังจากท่ีนาดอกเห็ดเข้าตู้เย็นหรือแช่น้าแข็งแล้ว เพราะจะทาให้สปอร์ไม่ตกลงมาหรือ ตกลงมาในปรมิ าณนอ้ ย ยากแก่การแยกกลุ่มสที ช่ี ัดเจน วธิ กี ารทารอยพิมพส์ ปอร์ มีดงั น้ี นาดอกเห็ดมาตัดเอาเฉพาะส่วนหมวก (ก และ ข) นาหมวกไปคว่าลง บนกระดาษสีขาว หรอื กระดาษทขี่ า้ งหนงึ่ เป็นสีขาวอกี ขา้ งหนึง่ เปน็ สีดา หาภาชนะครอบ หมวกเห็ดทิ้งไว้ประมาณ 2 – 3 ชั่วโมง ถึง 1 คืน แล้วแต่ชนิดของเห็ด (ค) เมื่อเปิด ภาชนะครอบออก ย้ายหมวกเห็ดออกจากกระดาษพิมพ์ จะเห็นสีของสปอร์ที่หล่นติดกับ กระดาษ (ง) โดยสีของรอยพิมพ์สปอร์แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มสีขาว กลุ่มสีชมพูอ่อน กลุ่มสนี า้ ตาลปนเหลือง กลมุ่ สนี ้าตาลปนมว่ ง และกลุ่มสีเทาดา กข ค ง ข้นั ตอนการทารอยพิมพ์สปอร์
Agaricus 3 4. สังเกตการเปล่ียนสีและของเหลวที่ไหลออกมาเม่ือดอกเห็ดหรือส่วนใด ส่วนหนึง่ ของดอกเห็ด เกดิ การฉกี ขาดหรือชา้ 5. บันทึกลักษณะรูปร่าง ผิวสัมผัส พร้อมทั้งวัดขนาดของหมวก และบันทึก การเปลยี่ นสเี มอ่ื สัมผัส ฉีกขาด หรอื ช้า หากดอกเห็ดมีขนาดใหญ่ควรผ่าเพื่อดูลักษณะ สี และการเปลยี่ นสขี องเนอื้ หมวก รวมถึงของเหลวทีไ่ หลออกมาดว้ ย 6. ครีบ เปน็ โครงสรา้ งทส่ี าคญั ใชใ้ นการจดั กลุ่ม “เห็ดครีบ” เปน็ แหลง่ กาเนดิ สปอร์ อยดู่ ้านล่างของหมวกเห็ด และมักหันด้านขอบลงสู่พื้นดินเพื่อช่วยในการกระจาย สปอร์ การบันทึกลักษณะของครีบ ได้แก่ รูปแบบการติดของครีบกับส่วนก้าน สี การ เรยี งตวั หากบริเวณหนา้ ครบี และขอบครีบมสี ีท่ีแตกต่างกนั จะต้องจดบันทึกไวด้ ว้ ย 7. ก้าน เปน็ สว่ นที่ยกหมวกให้อยสู่ ูง สะดวกตอ่ การปล่อยสปอร์ให้กระจาย ไปได้ไกล ๆ เห็ดบางชนิดอาจมีหรือไม่มีก้านก็ได้ แต่หากมีต้องบันทึกขนาด รูปร่าง ผิว เนือ้ ใน การเปล่ียนสเี มอื่ สมั ผสั หรือช้า เห็ดบางชนิดอาจพบโครงสร้างที่เรียกว่า วงแหวน (ring หรอื annulus) และ/หรือ ถว้ ย (cup หรือ volva) บนสว่ นของกา้ นดว้ ย 8. วงแหวนและถ้วยหุ้มโคนก้านเป็นส่วนที่เหลือจากเยื่อหุ้มต่าง ๆ กล่าวคือ วงแหวนเป็นส่วนเหลือของ partial veil และถ้วยหุ้มโคนก้าน หรือ โวลวา (volva) เป็นส่วนเหลือของ universal veil ซงึ่ ต้องบันทกึ ลักษณะรูปรา่ ง ความคงทน สี เปน็ ต้น 9. ลักษณะการเจริญ (growth habit) จะบอกถึงจานวนของดอกเห็ด ที่พบในแต่ละคร้ัง แบ่งเป็น เกิดเด่ียว ๆ (solitary) เป็นกลุ่มแต่ละกลุ่มห่างกันเล็กน้อย (scattered) อยู่ใกล้ ๆ กัน (gregarious) เป็นกระจุก (caespitose) และโคนติดกันเป็น กระจกุ (connate) 10. สิง่ ท่ีดอกเห็ดขึ้นอยู่ (substrate) ทาให้ทราบถงึ บทบาททางระบบนิเวศได้ ในระดับหน่ึง เช่น เห็ดผู้ย่อยอินทรียวัตถุ (saprophytic mushrooms) พบอยู่บนซาก อนิ ทรยี วัตถุ เหด็ เอคโตไมคอรไ์ รซา (ectomycorrhizal mushrooms) พบอยู่บนพ้ืนดิน โดยตรงใกล้กับต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ในวงศ์ Dipterocarpaceae Fagaceae และ Pinaceae เป็นตน้
4 Agaricus ลักษณะภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ 1. สปอร์ (spores) เห็ดครีบสร้างสปอร์แบบอาศัยเพศท่ีมีช่ือเรียกเฉพาะ ว่าเบสิดิโอสปอร์ (basidiospores) ส่ิงที่ต้องบันทึก คือ รูปร่าง ขนาด ส่ิงประดับ (ornamentation) เช่น หนาม สันนูน และปฏิกริยาท่ีทากับสารเคมีบางชนิด เช่น Lactophenol Cotton Blue, Melzer’s reagent เปน็ ตน้ 2. เซลล์ที่ให้กาเนิดสปอร์ สาหรับเห็ดครีบเบสิดิโอสปอร์จะเกิดบน โครงสร้างท่ีเรียกว่า เบสิเดียม (basidium) ส่ิงท่ีต้องบันทึก คือ รูปร่าง ขนาด จานวน ก้านชสู ปอร์ (sterigma) 3. ซิสติเดีย (cystidia) เป็นเซลล์ท่ีเป็นหมันอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของดอกเห็ด เช่น พบที่บริเวณส่วนท่ีให้กาเนิดสปอร์ (hymenial cystidia) ผิว (dermatocystidia) เนื้อ (endocystidia หรือ trama cystidia) สิ่งที่ต้องบันทึก คือ รูปร่าง ขนาด ตาแหน่ง และการทาปฏกิ รยิ ากับสารเคมีต่าง ๆ 4. รูปแบบการเรียงตัวของเส้นใยท่ีรวมตัวกันเป็นส่วนท่ีให้กาเนิดสปอร์ (hymenophoral trama) มอี ยู่ดว้ ยกนั 4 รูปแบบ คือ เรียงแบบขนาน (parallel) เรียง พนั กันไม่เป็นระเบียบ (interwoven) เรียงเป็นรูปตัววี (convergent) และ เรียงเป็นรูป ตัววกี ลบั (divergent) การจดั อนุกรมวธิ าน เน่ืองจากปัจจุบันการจัดอนุกรมวิธานของเห็ดยังไม่คงท่ี มีการเปล่ียนแปลง การจัดวงศ์ (family) และสกุล (genus) อยู่เสมอ เพื่อง่ายต่อการสืบค้นและทาข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันมากที่สุด หนังสือเล่มนี้จึงอ้างอิงการจัดลาดับอนุกรมวิธานตามเว็บไซต์ www.catalogueoflife.org และ www.indexfungorum.org (ตรวจสอบล่าสุดเดือน มถิ นุ ายน 2559) ซ่ึงเห็ดทีร่ ายงานทง้ั 101 ชนิด สามารถจัดอนกุ รมวิธานได้ ดงั นี้
Phylum Basidiomycota Agaricus 5 Class Agaricomycetes Order Agaricales Agaricaceae Family Genus Agaricus (3 ชนดิ ) Family Chlorophyllum (1 ชนดิ ) Family Coprinus (1 ชนิด) Family Lepiota (1 ชนิด) Family Leucoagaricus (3 ชนดิ ) Family Macrolepiota (1 ชนิด) Family Amanitaceae Genus Amanita (12 ชนิด) Family Entolomataceae Genus Entoloma (2 ชนดิ ) Hydnangiaceae Genus Laccaria (2 ชนดิ ) Hygrophoraceae Genus Hygrocybe (4 ชนิด) Inocybaceae Genus Crepidotus (2 ชนิด) Lyophyllaceae Genus Asterophora (1 ชนดิ ) Termitomyces (6 ชนิด) Marasmiaceae Genus Campanella (1 ชนดิ ) Chaetocalathus (1 ชนิด) Crinipellis (1 ชนิด) Marasmius (12 ชนิด)
6 Agaricus Family Pleurocybella (1 ชนิด) Family Tetrapyrgos (1 ชนิด) Family Trogia (1 ชนิด) Family Mycenaceae Family Genus Favolaschia (1 ชนดิ ) Panellus (1 ชนิด) Family Omphalotaceae Family Genus Hemimycena (1 ชนิด) Marasmiellus (2 ชนิด) Physalacriaceae Genus Hymenopellis (1 ชนิด) Physalacria (1 ชนดิ ) Pluteaceae Genus Pluteus (2 ชนิด) Volvariella (3 ชนิด) Psathyrellaceae Genus Coprinellus (1 ชนิด) Coprinopsis (2 ชนิด) Cystoagaricus (1 ชนิด) Parasola (2 ชนดิ ) Psathyrella (2 ขนดิ ) Strophariaceae Genus Gymnopilus (1 ชนดิ ) Tricholomataceae Genus Lepista (1 ชนดิ ) Macrocybe (1 ชนิด) Resupinatus (1 ชนิด) Tricholomopsis (1 ชนิด)
Agaricus 7 Family Not assigned Genus Panaeolus (3 ชนิด) Order Russulales Family Russulaceae Genus Lactarius (2 ชนิด) Russula (14 ชนิด) จากการรวบรวมข้อมูลเห็ดครีบท้ังหมด 101 ชนิด พบในอุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน 16 ชนิด อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน 18 ชนิด อุทยาน แห่งชาติกุยบุรี 21 ชนิด เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าแม่น้าภาชี 20 ชนิด สถานีพัฒนาและ ส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ป่าราชบุรี 27 ชนิด เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเชียงดาว 29 ชนิด สถานีวจิ ัยสตั วป์ ่าดอยเชยี งดาว 15 ชนดิ และเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ ่าภูเขียว 14 ชนดิ ประโยชน์ในด้านการนาไปบริโภค พบว่า เป็นเห็ดท่ีรับประทานได้ 49 ชนิด เห็ดที่รับประทานไม่ได้รวมทั้งเห็ดพิษ 12 ชนิด และเห็ดท่ีไม่ทราบข้อมูลว่ารับประทานได้ หรอื ไม่ 39 ชนิด ประโยชน์ด้านระบบนิเวศ พบว่า เป็นเห็ดผู้ย่อยสลายอินทรียวัตถุ 63 ชนิด เหด็ เอคโตไมคอร์ไรซา 31 ชนิด เห็ดท่ีมีความสัมพันธ์อยู่ร่วมกับปลวกหรือเห็ดโคน 6 ชนิด และเหด็ ทย่ี งั ไมท่ ราบบทบาทที่ชดั เจน 1 ชนดิ รายละเอยี ดของเหด็ แต่ละชนิด แสดงดังตอ่ ไปนี้
Agaricaceae 9 Agaricus arvensis Schaeff. ช่ือทอ้ งถนิ่ /ชื่อสามญั : ชานหมากวงแหวน 1 ชน้ั ขีม้ ้า นกกะบา / Horse Mushroom ชื่อพอ้ ง : Agaricus arvensis var. abruptus Peck Agaricus exquisitus Vittad. Psalliota arvensis (Schaeff.) Gillet ลักษณะทวั่ ไป หมวก : รูปครึ่งวงกลมหรือรูปเลนส์ ø 7 – 15 ซม. ผิวเรียบ หรือมีเกล็ดบาง ๆ ฟอู ่อนน่มุ บรเิ วณตรงกลางหมวก สขี าว เม่ือชา้ อาจเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ครบี : ไมต่ ดิ ก้าน เรียงถ่ี ดอกออ่ นสีขาว และเปล่ียนเป็นสีน้าตาลแก่เม่ือดอกเห็ดมีอายุ มากข้ึน กา้ น : ทรงกระบอกหรือเกือบเป็นทรงกระบอก โคนใหญ่กว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 7 – 15 X 1 – 1.5 ซม. ผิวเรียบหรือมีเกล็ดเล็กน้อยบริเวณโคน พบวงแหวน สีขาวบริเวณก่ึงกลางหรือค่อนไปทางปลายก้าน เน้ือสีขาว เม่ือช้าเปล่ียนเป็น สีน้าตาล สปอร์ : ทรงรี ขนาด 7 – 9 X 4.5 – 6 µm ผวิ เรียบ รอยพมิ พ์สนี ้าตาลเข้ม ทีอ่ ยู่อาศยั : เห็ดผู้ย่อยสลาย เกิดเป็นกล่มุ บนพนื้ ดินทม่ี อี ินทรยี วัตถุทบั ถม ข้อมลู การบรโิ ภค : รับประทานได้ สถานท่พี บ : อทุ ยานแหง่ ชาติแก่งกระจาน (ก.พ. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 11 Agaricus augustus Fr. ชอื่ ทอ้ งถิ่น/ช่ือสามญั : ทาทอง / the Prince ชอื่ พ้อง : Agaricus augustus var. augustus Fr. Psalliota augusta (Fr.) Quél. ลักษณะทวั่ ไป หมวก : ดอกอ่อนรูปครึ่งวงกลมแล้วกางออกเมื่อแก่ ø 3 – 15 ซม. ผิวเรียบ มีเกล็ดเป็น เสน้ ขนออ่ นน่มุ สนี า้ ตาล ปลายรวมกนั เปน็ กระจกุ ราบไปกบั ผิวหมวก ขอบเรียบ แตม่ เี สน้ ขนสนี า้ ตาลอ่อนนมุ่ ปกคลุม ครบี : ไม่ติดก้าน เรียงถ่ี ดอกอ่อนเป็นสีขาวถึงสีชมพู และเปล่ียนเป็นสีน้าตาลถึง สีน้าตาลชอ็ กโกแลตเมื่อแก่ กา้ น : ทรงกระบอกหรือเกือบเป็นทรงกระบอก โคนใหญ่กว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 3.5 – 20 X 0.8 – 2 ซม. ผิวเรียบ มีขนสีขาวที่หลุดร่วงง่ายปกคลุม วงแหวน คล้ายกระโปรงสีขาว มีความฟูคล้ายสาลี พบบริเวณค่อนไปทางปลายก้าน เน้ือสขี าว เมื่อช้าเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล สปอร์ : ทรงรี ขนาด 8 – 10 X 5 – 6 µm ผิวเรียบ รอยพิมพ์สนี ้าตาลชอ็ กโกแลต ท่อี ยู่อาศัย : เหด็ ผยู้ ่อยสลาย เกิดเป็นกลุ่ม หรือเด่ยี ว ๆ บนพนื้ ดนิ ทม่ี อี ินทรียวัตถุทบั ถม ขอ้ มลู การบรโิ ภค : รับประทานได้ สถานทพ่ี บ : สถานีพฒั นาและส่งเสริมการอนุรกั ษ์สตั วป์ ่าราชบรุ ี (พ.ค. 54) เขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ปา่ เชยี งดาว (ก.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 13 Agaricus subrutilescens (Kauffman) Hotson & D.E. Stuntz ชื่อท้องถิ่น/ชือ่ สามญั : – ช่อื พอ้ ง : Psalliota subrutilescens Kauffman ลกั ษณะทว่ั ไป หมวก : รูปครง่ึ วงกลมหรอื รปู เลนส์ แลว้ กางออกแผแ่ บนเม่ือแก่ ø 5 – 15 ซม. ผิวเรียบ สขี าว มีขนเป็นสะเก็ดสนี ้าตาลปกคลมุ หนาแนน่ บริเวณกลางหมวกแล้วกระจาย ออกตามแนวรัศมี ครบี : ไม่ติดกับก้าน เรียงถี่ ครีบย่อย 4 – 5 ระดับ ดอกอ่อนสีขาว และเปลี่ยนเป็น สีนา้ ตาลเขม้ เมือ่ แก่ กา้ น : ทรงกระบอก ขนาด 5 – 20 X 0.5 – 1.5 ซม. ผิวเรียบ สีขาว เมื่อสัมผัสหรือช้า เปล่ียนเป็นสีน้าตาลแดง วงแหวนเป็นแผ่นคล้ายกระโปรง สีขาว ติดที่ ปลายก้าน โคนก้านอาจพบเส้นใยสีขาวฟูปกคลุมเล็กน้อย เน้ือสีขาว เมื่อช้า ไมเ่ ปลยี่ นสี สปอร์ : ทรงรี ขนาด 5 – 6 X 3 – 3.5 µm ผวิ เรียบ รอยพิมพ์สีนา้ ตาลเข้ม ท่ีอยู่อาศัย : เห็ดผู้ย่อยสลาย เกิดเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่มกระจายบนพื้นดินท่ีมีอินทรียวัตถุ ทับถม ขอ้ มลู การบริโภค : ไมม่ ีขอ้ มลู วา่ รับประทานได้ สถานทพี่ บ : อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ฉลิมพระเกยี รตไิ ทยประจัน (มี.ค., ม.ิ ย. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 15 Chlorophyllum molybdites (G. Mey.) Massee ชือ่ ท้องถิน่ /ชือ่ สามญั : หัวกรวดครบี เขียว กระโดงตีนต่าครีบเขียว ชอ่ื พอ้ ง : Agaricus molybdites G. Mey. Lepiota molybdites (G. Mey.) Sacc. Macrolepiota molybdites (G. Mey.) Pat. ลกั ษณะทวั่ ไป หมวก : ดอกอ่อนรูปครึ่งวงกลมถึงชามคว่าแล้วค่อย ๆ กางออกเม่ือแก่ ø 8.5 – 20 ซม. ผิวแห้ง สีขาว มีเกล็ดรูปเหล่ียม สีขาวหม่นถึงสีน้าตาลอ่อนอมชมพู ขนาดใหญ่ ถึงเลก็ ดงึ ออกไดง้ า่ ย ครีบ : ไมต่ ดิ กับกา้ น เรียงถ่ี สขี าวแลว้ ค่อยเปลยี่ นเป็นสีเขยี วหมน่ ปนเทาเมอ่ื แก่ ก้าน : ทรงกระบอก โคนก้านโป่งออกเล็กน้อย ขนาด 6 – 20 X 1 – 2.5 ซม. สีขาว หรอื สีน้าตาลออ่ น เม่ือช้าเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลปนเทา ผิวเรียบ วงแหวนมี 2 ช้ัน เคลื่อนท่ีขน้ึ ลงได้ เนือ้ สีขาว เมอ่ื ช้าเปล่ยี นเป็นสีนา้ ตาลแดง สปอร์ : ทรงรียาว ขนาด 8 – 10 X 6 – 8 µm ผวิ เรยี บ ผนังหนา รอยพิมพ์ สเี ขียวอมเทา ทอ่ี ยูอ่ าศยั : เห็ดผู้ย่อยสลาย เกิดเด่ียว ๆ หรอื มกั ข้ึนเป็นวงกลมบนสนามหญ้า ทุ่งหญ้า หรือทเี่ ปิดโล่ง ขอ้ มูลการบรโิ ภค : เห็ดพิษ สรา้ งสารพิษกลมุ่ Gastrointestinal ทาให้เกิดอาการกบั ทางเดินอาหาร เช่น คล่นื ไส้ อาเจยี น ทอ้ งรว่ ง สถานท่ีพบ : อทุ ยานแห่งชาตเิ ฉลมิ พระเกียรติไทยประจนั (ก.ค. 54) สถานพี ัฒนาและสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์สัตว์ปา่ ราชบรุ ี (พ.ค. 54) เขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าเชียงดาว (ก.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 17 Coprinus comatus (O.F. Müll.) Pers. ชือ่ ทอ้ งถิน่ /ชอื่ สามญั : น้าหมกึ ใหญ่ น้าหมกึ ขนปุย / Lawyer’s Wig, the Shaggy Mane ช่อื พ้อง : Agaricus comatus O.F. Müll. Agaricus ovatus Scop. Coprinus comatus f. comatus (O.F. Müll.) Pers. ลกั ษณะทั่วไป หมวก : รูปทรงกระบอกหรือทรงรี ดอกแก่บานออกคล้ายร่ม ø 4 – 10 ซม. สีขาวถึง สีน้าตาลอ่อน ขอบม้วนขึ้นและฉีกขาดตามแนวรัศมี อาจพบสะเก็ดสีขาวปลาย กระดกปกคลุมหนาแนน่ บริเวณกลางหมวก ครบี : ไม่ติดก้าน เรียงถ่ี สีขาวแล้วเปล่ียนเป็นสีดา สลายตัวเป็นหยดน้าหมึกสีดา เมือ่ แก่ กา้ น : ทรงกระบอกโคนหนากว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 5 – 15 X 1 – 2 ซม. กลวง ผวิ เรยี บ สีขาว อาจพบวงแหวนเป็นเยอื่ บาง ๆ สีขาวแต่หลุดร่วงได้ง่าย เนื้อบาง สขี าว ไม่เปลี่ยนสีเมื่อชา้ สปอร์ : ทรงรี ขนาด 10 – 15 X 7 – 9 µm ผวิ เรียบ รอยพิมพ์สดี า ท่อี ยู่อาศัย : เห็ดผู้ย่อยสลาย ขึ้นเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม กระจายใกล้ ๆ กัน บนดินที่มี อินทรยี วตั ถุทับถม ข้อมูลการบริโภค : รับประทานได้ แตไ่ มแ่ นะนาให้เก็บเห็ดป่ามารับประทาน สถานท่ีพบ : สถานีพัฒนาและสง่ เสริมการอนุรกั ษส์ ัตว์ปา่ ราชบุรี (ก.พ. 53) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 19 Lepiota castanea Quél. ชื่อทอ้ งถน่ิ /ชื่อสามัญ : กระโดงพิษน้อย / Chestnut Dapperling ชื่อพอ้ ง : Mastocephalus castaneus (Quél.) Kuntze Lepiota ignicolor Bres. Lepiota ignipes Locq. ลักษณะทวั่ ไป หมวก : รูปคร่ึงวงกลมหรือเกือบกลม แล้วกางออกเมื่อแก่ ø 1 – 3 ซม. ผิวสีขาว ปกคลุม ด้วยกลุ่มขนสีน้าตาลแดงเป็นกระจุกนูน หนาแน่นบริเวณกลางหมวกแล้ว คอ่ ย ๆ กระจายออกไป ขอบเรียบหรือมีเย่ือสีขาวตดิ อยู่ ครีบ : ไมต่ ดิ ก้าน หนา เรียงใกล้ มคี รีบย่อย 2 – 3 ระดบั สีขาว กา้ น : วงแหวนเป็นกระจุกขนสีขาวบริเวณปลายก้าน เน้ือแน่น สีขาว ไม่เปลี่ยนสี เมื่อช้า ทรงกระบอก ขนาด 1.5 – 6 X 0.3 – 0.5 ซม. ผิวสีขาว มีขนสีแดง ปกคลมุ คล้ายท่หี มวก สปอร์ : ทรงรีถึงทรงกระบอก ขนาด 8 – 15 X 3 – 4 µm ผิวเรียบ รอยพิมพส์ ีขาว ทอี่ ยู่อาศัย : เห็ดผู้ย่อยสลาย ขึ้นเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม กระจายใกล้ ๆ กัน บนดินที่มี อินทรียวตั ถทุ บั ถม ข้อมูลการบริโภค : เห็ดพิษ สร้างสารพิษกลุ่ม Cyclopeptides ที่รู้จักกันดีว่า Amatoxins มพี ษิ ทาลายตบั และไต ทาใหเ้ สยี ชวี ิตได้ สถานท่ีพบ : อุทยานแห่งชาติเฉลมิ พระเกียรตไิ ทยประจนั (มิ.ย. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 21 Leucoagaricus rubrotinctus (Peck) Singer ชื่อทอ้ งถ่นิ /ชื่อสามัญ : – ช่อื พ้อง : Agaricus rubrotinctus Peck Lepiota rubrotinctus Peck ลกั ษณะท่วั ไป หมวก : รูปไข่ถึงโค้งนูน ค่อย ๆ กางออกจนถึงขอบหมวกยกสูงขึ้นเมื่อแก่ ø 2 – 6 ซม. ผิวเรียบ สีแดงจนถึงสีแดงอมส้ม ขอบหมวกเรียบ มีรอยขีดตามแนวรัศมี ฉีกขาด ตามแนวรัศมีเม่อื แก่จดั ครบี : ไมต่ ดิ กับก้าน ถึงตดิ กบั ก้านเลก็ น้อย เรยี งใกล้กันถงึ เกอื บถ่ี สีขาว กา้ น : ทรงกระบอกที่บริเวณปลายใหญ่กว่าโคน ขนาด 5 – 10 X 0.3 – 0.8 ซม. ผิวเรียบ สีขาว มีวงแหวนเป็นเส้นบาง ๆ บริเวณก่ึงกลางก้าน หรือค่อนไปทาง สว่ นปลาย ภายในกลวง เนื้อสขี าว ไม่เปล่ยี นสเี มื่อชา้ สปอร์ : ทรงรี ขนาด 6 – 10 X 4 – 5 µm ผนงั หนา รอยพมิ พส์ ีขาว ท่อี ยู่อาศัย : เหด็ ผยู้ ่อยสลาย ขึ้นบนพ้ืนดนิ ที่มอี นิ ทรยี วัตถทุ บั ถม ขอ้ มลู การบรโิ ภค : ไมม่ ขี อ้ มูลว่ารับประทานได้ สถานทพ่ี บ : สถานีพฒั นาและส่งเสริมการอนรุ กั ษ์สตั วป์ ่าราชบรุ ี (พ.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 23 Leucocoprinus cepistipes (Sowerby) Pat. ช่ือทอ้ งถนิ่ /ชือ่ สามัญ : ตน้ หอม ตน้ หอมขาว กระโดงแป้ง / Onion Stalk Lepiota ชอื่ พ้อง : Agaricus cepistipes Sowerby Coprinus cepistipes (Sowerby) Gray Lepiota cepistipes (Sowerby) P. Kumm. ลกั ษณะทัว่ ไป หมวก : รูประฆังคว่าแล้วกางออกจนเกือบแบนเม่ือแก่ ø 2 – 7 ซม. สีขาว ตรงกลาง มีปุ่มนูน ขอบมีริ้วและรอยพับจีบตามแนวรัศมี ปกคลุมด้วยเกล็ดฟูคล้ายหนาม สขี าว หลดุ ร่วงได้ง่าย ครีบ : ไมต่ ดิ กา้ น เรียงถ่ถี งึ ชิดตดิ กนั สขี าว ขอบปกคลมุ ด้วยขนสขี าวฟู กา้ น : ทรงกระบอก โคนโป่งเป็นกระเปาะ ขนาด 5 – 15 X 3 – 5 ซม. สีขาว มีเกลด็ บาง ๆ สีขาวปกคลุม สัมผัสแล้วเปลี่ยนเป็นสีแดงคล้า วงแหวนเป็นแผ่น คลา้ ยกระโปรง ขอบมขี นสีขาวฟู เนอ้ื บาง กลวง สขี าว เปลี่ยนเป็นสแี ดงเมอ่ื ช้า สปอร์ : ทรงรี ขนาด 6 – 12 X 6 – 9.5 µm ผวิ เรยี บ ผนงั หนา รอยพมิ พ์สขี าว ท่ีอยู่อาศัย : เห็ดผู้ย่อยสลาย เกิดเป็นกลุ่มบนเศษซากฮิวมัสหรือบนพื้นดินที่มี อินทรียวตั ถุทับถม ข้อมลู การบริโภค : รับประทานไม่ได้ มีรายงานวา่ จัดอยใู่ นกลุ่มทนี่ า่ จะเป็นพิษ (possibly poisonous) สถานที่พบ : อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรตไิ ทยประจนั (ม.ี ค., เม.ย. 54) สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนรุ กั ษส์ ตั วป์ ่าราชบรุ ี (มิ.ย. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 25 Leucocoprinus fragilissimus (Ravenel ex Berk. & M.A. Curtis) Pat. ช่อื ทอ้ งถิน่ /ชอ่ื สามญั : ดาวกระจาย กระโดงเหลืองบาง / Fragile Lepiota ชื่อพอ้ ง : Hiatula fragilissima Ravenel ex Berk. & M.A. Curtis Lepiota fragilissima (Ravenel ex Berk. & M.A. Curtis) Morgan ลกั ษณะทวั่ ไป หมวก : รปู ไขแ่ ลว้ กางออกเมือ่ แก่ ø 3.5 – 8 ซม. ผิวสีขาวถึงสีเหลืองอ่อน ๆ กลางหมวก สเี ข้มกว่าขอบ บาง เรยี บ โปรง่ แสง มีรอ่ งพบั จีบตามแนวรัศมี ขอบงอข้ึนเม่ือแก่ ครีบ : ติดกบั ก้าน เรียงหา่ งกันเล็กน้อย สีขาวถึงสีเหลืองออ่ น ๆ ก้าน : ทรงกระบอก โคนใหญ่กว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 5 – 15 X 0.1 – 0.3 ซม. ผิวเรียบ สขี าวถึงสเี หลืองอ่อน มีเกลด็ เลก็ ๆ สีเหลืองออ่ น วงแหวนเป็นแผน่ บาง ๆ สีเหลืองออ่ น เน้ือบาง สขี าว เปราะ ไม่เปล่ียนสเี มือ่ ชา้ สปอร์ : ทรงรี ขนาด 8 – 15 X 7 – 9 µm ผวิ เรยี บ มีรเู ปิดทปี่ ลาย 1 รู รอยพมิ พ์สขี าว ทอ่ี ย่อู าศยั : เห็ดผู้ยอ่ ยสลาย ขนึ้ เดย่ี ว ๆ หรอื กระจายกนั บนพน้ื ดินท่ีมีอินทรียวตั ถุทับถม ขอ้ มลู การบริโภค : ไม่มีข้อมูลว่ารับประทานได้ สถานที่พบ : อุทยานแหง่ ชาตกิ ยุ บุรี (ก.พ. 53) สถานีพฒั นาและส่งเสริมการอนรุ ักษ์สตั ว์ป่าราชบุรี (พ.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Agaricaceae 27 Macrolepiota gracilenta (Krombh.) Wasser ชือ่ ท้องถิน่ /ชอ่ื สามญั : ยูง นกยงู กระโดง คอ้ นกลอง ชอื่ พอ้ ง : Agaricus gracilentus Krombh. Lepiota gracilenta (Krombh.) Quél. Leucocoprinus gracilentus (Krombh.) Locq. ลักษณะทว่ั ไป หมวก : รปู ไข่แล้วกางออกคลา้ ยกระทะควา่ ø 5 – 15 ซม. สขี าว ตรงกลางหมวกมีปุ่มเล็ก ๆ ปกคลุมด้วยสะเก็ดแผ่นสีน้าตาล หนาแน่นบริเวณกลางหมวก แล้วกระจาย ออกไปตามขอบ ขอบรงุ่ รง่ิ ครีบ : ไม่ตดิ ก้าน เรยี งถี่ มคี รบี ย่อย 2 ระดบั สีขาว ก้าน : ทรงกระบอก ขนาด 15 – 20 X 1 – 1.5 ซม. โคนโป่งเป็นกระเปาะเล็ก ๆ สีขาวถงึ สีนา้ ตาลอ่อน วงแหวนเปน็ 2 ชั้นสามารถเลอ่ื นขึน้ ลงได้ ภายในกลวง เน้อื สขี าว ไมเ่ ปล่ยี นสีเม่ือชา้ สปอร์ : ทรงรีกวา้ งถงึ เกือบกลม ขนาด 9 – 14 X 7 – 9 µm ผิวเรยี บ ผนงั หนา มีรงู อก 1 รู รอยพมิ พ์สีขาว ทอี่ ยู่อาศัย : เห็ดผู้ย่อยสลาย เกิดเป็นดอกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่มขนาดเล็ก บนพื้นดิน ท่ีมีอินทรียวัตถุทับถม ขอ้ มูลการบริโภค : รับประทานได้ สถานที่พบ : อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน (ก.ค. 53) เห็ดครีบ : Agarics
Amanitaceae 29 Amanita angustilamellata (Höhn.) Boedijn ช่ือทอ้ งถ่ิน/ชื่อสามญั : ไขห่ ่านขาว / White Goose–egg ชอ่ื พ้อง : Amanitopsis vaginata var. angustilamellata Höhn. ลักษณะทัว่ ไป หมวก : รูปไข่ถึงชามคว่าแล้วกางออกเมื่อแก่ ø 5 – 10 ซม. ผิวเรียบ ตรงกลางหมวก สนี ้าตาลควันบหุ ร่ี จางออกไปยงั ขอบ ขอบมีรอยพบั ขีดตามแนวรัศมี ครีบ : ไม่ตดิ กา้ น เรียงใกล้ มคี รีบย่อย 2 – 3 ระดับ สีขาว ก้าน : ทรงกระบอกบริเวณโคนใหญ่กว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 8 – 13 X 0.7 – 1.3 ซม. สีขาวหม่น ถึงสีน้าตาลอ่อน เรียบ ไม่มีวงแหวน ถ้วยท่ีโคนก้านมีลักษณะคล้าย ถุงเทา้ สีขาว ตดิ เฉพาะท่ีสว่ นโคนก้าน ภายในกลวง เนือ้ สขี าว ไมเ่ ปลี่ยนสีเมื่อช้า สปอร์ : ทรงกลมถงึ เกอื บกลม ø 9 – 13 µm ผวิ เรยี บ ผนังบาง ใส รอยพมิ พส์ ีขาว ท่อี ยอู่ าศัย : เห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา เกดิ เด่ียว ๆ หรอื กระจายอยู่ใกล้ ๆ กนั บนพน้ื ปา่ ข้อมลู การบริโภค : ไมม่ ีข้อมลู วา่ รบั ประทานได้ สถานทพ่ี บ : อุทยานแหง่ ชาติแก่งกระจาน (ม.ิ ย. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Amanitaceae 31 Amanita calyptroderma G.F. Atk. & V.G. Ballen ช่อื ท้องถนิ่ /ช่ือสามัญ : ไขน่ ้าตาลอมเหลอื ง ไขเ่ หลอื ง ระโงกเหลือง / Coccora, Coccoli ชือ่ พ้อง : – ลกั ษณะทวั่ ไป หมวก : รูปกลมถึงรูปไข่ แล้วกางออกเมื่อแก่ ø 5 – 10 ซม. ผิวเรียบ เมื่อเปียกมีความมัน และหนืดมือ สีเหลืองถึงน้าตาลอมส้มหรือน้าตาลอมเหลือง มีสะเก็ดเป็นแผ่น สีขาวหนาปกคลมุ และสามารถลอกออกได้ง่าย ขอบมรี อยขดี ตามแนวรัศมี ครบี : ไม่ติดกา้ น สีขาวนวลถงึ สขี าวอมเหลืองอ่อน ครีบยอ่ ย 3 – 4 ระดบั ก้าน : ทรงกระบอก ขนาด 5 – 10 X 1 – 2.5 ซม. ผิวเรียบ สีเหลืองอ่อน มีวงแหวน เป็นแผ่นบางสีขาวนวลติดอยู่ด้านปลายก้าน หลุดร่วงได้ง่าย ถ้วยหุ้มโคนก้าน สีขาว คงทน ภายในกลวง เนอื้ หนา สีขาว สปอร์ : ทรงรี ขนาด 8 – 10 X 5 – 6 µm ผวิ เรียบ ผนงั บาง รอยพมิ พ์สีขาว ท่ีอย่อู าศัย : เห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา เกิดเปน็ ดอกเดี่ยว ๆ กระจายอยบู่ นพื้นป่า ข้อมูลการบริโภค : รับประทานได้ สถานทพ่ี บ : เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ เชยี งดาว (พ.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Amanitaceae 33 Amanita ceciliae (Berk. & Broome) Bas ชอ่ื ท้องถิ่น/ชือ่ สามญั : ระโงกเทา นมกวาง / Strangled Grisette ช่ือพอ้ ง : Agaricus ceciliae Berk. & Broome Amanita inaurata Secr. Amanitopsis ceciliae (Berk. & Broome) Wasser ลักษณะทว่ั ไป หมวก : รูปไข่ถึงรูปชามคว่าแล้วกางออกเมื่อแก่ ø 4 – 10 ซม. ผิวเรียบสีน้าตาลถึง สีน้าตาลเทาถึงเกือบดา โดยเฉพาะบริเวณกลางหมวก ขอบมีรอยขีดตามแนว รศั มี มีสะเก็ดเป็นแผน่ สีขาวหมน่ ครีบ : ไมต่ ิดก้าน เรยี งใกลถ้ ึงชดิ มีครีบยอ่ ย 4 – 5 ระดบั สีขาว ขอบหยกั เลก็ น้อย กา้ น : ทรงกระบอก โคนใหญ่กว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 6 – 15 X 0.8 – 1.8 ซม. สีขาว ปกคลมุ ด้วยขนฟู สีขาวถงึ สเี ทาออ่ น ๆ วงแหวนไม่ชัดเจน ถ้วยท่ีโคนก้าน เปน็ ถงุ ชัดเจน แขง็ แรง สีขาว เนือ้ แนน่ สีขาว ไมเ่ ปลีย่ นสเี ม่อื ชา้ สปอร์ : ทรงกลม ø 10 – 15 µm ผวิ เรยี บ ผนังบาง รอยพิมพส์ ีขาว ทอ่ี ยู่อาศยั : เห็ดเอคโตไมคอร์ไรซา เกิดเปน็ ดอกเดี่ยว ๆ กระจายอยู่บนพ้นื ป่า ขอ้ มลู การบริโภค : ไม่มีขอ้ มูลว่ารบั ประทานได้ สถานทีพ่ บ : เขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าเชยี งดาว (พ.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Amanitaceae 35 Amanita cheelii P.M. Kirk ชือ่ ท้องถ่ิน/ชอ่ื สามญั : ไขก่ ้านเกลด็ งู ช่ือพ้อง : Amanita punctata (Cleland & Cheel) D.A. Reid Amanita vaginata var. punctata (Cleland & Cheel) E.–J. Gilbert Amanitopsis punctata Cleland & Cheel ลักษณะทวั่ ไป หมวก : รูปนูนถึงชามคว่าแล้วกางออกจนถึงแผ่แบนราบเม่ือแก่ ø 5 – 7 ซม. ผิวเรียบ สีน้าตาลอ่อน สัมผัสแล้วหนืด กลางหมวกสีน้าตาลเกือบดา ขอบมีรอยขีด ตามแนวรศั มี ครีบ : ไม่ติดกา้ น เรยี งใกลก้ นั ถึงชดิ สขี าวแล้วเปลย่ี นเปน็ สีขาวอมชมพเู มอ่ื แก่ ก้าน : ทรงกระบอกโคนใหญ่กว่าปลายเล็กน้อย ขนาด 8 – 15 X 0.5 – 1 ซม. สีนา้ ตาล ถึงน้าตาลหม่น มีขน ลักษณะคล้ายเกล็ดสีน้าตาลเรียงเป็นชั้น ๆ ไม่มี วงแหวน ถว้ ย ทีโ่ คนก้านเป็นแผ่นบาง สขี าว เนอื้ แน่น สขี าว ไมเ่ ปลี่ยนสีเม่อื ชา้ สปอร์ : ทรงกลม ø 8 – 13 µm ผวิ เรยี บ ผนงั บาง รอยพิมพส์ ีขาว ทีอ่ ยู่อาศยั : เห็ดเอคโตไมคอรไ์ รซา เกดิ เป็นดอกเดย่ี ว ๆ หรือกระจายอยูบ่ นพื้นป่า ขอ้ มลู การบริโภค : มรี ายงานวา่ เปน็ เหด็ พิษ รับประทานไม่ได้ แตไ่ มไ่ ดใ้ หร้ ายละเอียดไว้ สถานทพี่ บ : เขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าเชยี งดาว (พ.ค., ก.ค. 54) เห็ดครีบ : Agarics
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242