Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Spark U ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน

Spark U ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน

Description: Spark U ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน.

Search

Read the Text Version

ปลSุก‘pปใจลaเุกมrใอื จkงคอุณสี Uาน’ โดย เครอื ขา่ ยสื่อศลิ ปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน ได้รบั การสนับสนุนโดย ส�ำ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) ปี 2560

Spark U ‘ปลกุ ใจคุณ ปลกุ ใจเมืองอีสาน’ จดั ทำ�โดย : แผนงานสื่อศิลปวฒั นธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สำ�นกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) รว่ มกบั เครอื ขา่ ยสือ่ ศลิ ปวัฒนธรรมชมุ ชนภาคอสี าน เทศบาลนครขอนแกน่ เทศบาลต�ำ บลท่าพระ ชาวชุมชนสาวะถี กล่มุ หน่อไมห้ วาน จังหวัดเลย คณะหมอลำ�หนุ่ เด็กเทวดา จงั หวดั มหาสารคาม เครอื ข่ายศลิ ปินภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื สมาคมส่อื มวลชนจงั หวัดขอนแก่น พมิ พค์ ร้ังแรก : กนั ยายน 2560 จ�ำ นวนพิมพ์ : 1,000 เลม่ พิมพ์ที่ : หจก.อภิชาติการพิมพ์ เลขที่ 1112/111 ถนนผังเมอื งบัญชา ตำ�บลตลาด อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั มหาสารคาม 44000 โทรศัพท์ :  0-4372-1-403 บรรณาธกิ าร : สุมาลี สวุ รรณกร กองบรรณาธกิ าร : ชตุ กิ าญจน์ บ�ำ รุง, จริยาภรณ์ มาตรพร, พไิ ล ทานา, กิตติทตั จันทะเรงิ , พชั ราภรณ์ วฒั นข�ำ , ปรชี า การณุ พิสูจนอ์ ักษร : ธิดารตั น์ สีหะเกรยี งไกร แบบปก/รูปเลม่ : บรรจง บุรนิ ประโคน

สารบัญ ๏ ท�ำ ไมต้องปลกุ ใจเมือง 5 ๏ โครงการ “Spark U… ปลกุ ใจเมอื ง” 9 ๏ ปลกุ ใจ แล้วเยาวชนได้อะไร? 16 ๏ ปลกุ ใจ เครอื ข่าย ครู ประชาชน คนในชุมชน ไดอ้ ะไร? 21 ๏ เปิด 5 พน้ื ทป่ี ฏิบตั ิการ ปลกุ ใจเมือง ปลกุ ใจคณุ ปลุกใจเรา Spark U 27 ๏ ปลกุ ใจชาวท่าพระ ต้ังตลาดทา่ พระรอ้ ยปี ขอสถานีรถไฟ 30 ๏ ทา่ พระ บา้ นเก่า...ตลาดร้อยปี และ...ความทรงจ�ำ 36 ๏ ปลกุ ใจคน ปลกุ ชมุ ชน ร่วมสืบค้นเมอื งเกา่ บา้ นเราศรฐี าน 61 ๏ เจาะเวลาหาอดตี ตามหาเมอื งเกา่ บ้านเราศรฐี าน 68 ๏ ปลกุ ใจไทสาวะถี ทีน่ ไี่ ม่มีขยะ 105 ๏ ปลุกใจชมุ ชนเทพารกั ษท์ างรถไฟ “เรายงั ไม่มบี า้ น” 118 ๏ เสียงจากเดก็ สถานพนิ จิ ฯ “พวกเราอยากกลบั บ้าน” 130 ๏ “ปลุก-แปง (สร้าง)- ป้นั (ร้-ู ท�ำ -น�ำ สขุ )” 142 ๏ “ลานรู้เรียนเปล่ียนชีวติ ” พืน้ ทส่ี ร้างสรรค์ถนนเลาะเลย 147 ๏ ปลุกเมอื ง ปลกุ ใจ ปลุกไทนาดนู 169 ๏ โรงละครหมอล�ำ ห่นุ เพอ่ื ชมุ ชน โฮม ทอง ศรี อุปถมั ภ ์ 180



ท�ำ ไมตอ้ งปลุกใจเมือง โครงการมหกรรมการเรียนรู้สื่อและพื้นท่ีสร้างสรรค์ ปฏิบัติการ ปลกุ -ใจ-เมือง (SPARK U) เกิดขน้ึ จากการบูรณาการงาน ผ่าน การขับเคลื่อนงานของ 3 แผนงานหลัก คือ 1.) แผนงานส่ือศิลปวัฒนธรรม สร้างเสริมสุขภาพ 2.) แผนงานส่ือสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชน 3.) แผน งานการสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน โดยใช้ยุทธศาสตร์เมือง 3 ดี (ส่ือดี พ้ืนท่ีดี ภูมิดี) และการสร้างพลเมืองท่ีต่ืนรู้และมีส่วนร่วมเป็นทิศทางเชิงรุก ที่ดึงพลังเชิงบวกของเด็กเยาวชน ครอบครัว และทุกฝ่ายในชุมชนมาร่วมขับ เคลื่อนงานในมิติและประเด็นตา่ งๆ โครงการมหกรรมการเรยี นรสู้ อ่ื และพน้ื ทสี่ รา้ งสรรค์ ปฏบิ ตั กิ าร ปลกุ - ใจ-เมอื ง (SPARK U) ภาคอีสานเป็นอีกโครงการหนึง่ ท่ีมีจดุ ม่งุ หวัง ในการดงึ เอาความสขุ ความหวัง การมีสว่ นรว่ มของเดก็ เยาวชน ชุมชน ในภาคอสี าน โดย เครอื ขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 5

ทมี่ ีเอกลกั ษณ์โดดเดน่ หลายพืน้ ท่ี ความร่วมมอื ทงั้ ภาคประชาสังคม, สอื่ สาร มวลชน,และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยหัวใจอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น มี จุดท่ีสำ�คัญคอื เทศบาลนครขอนแกน่ เทศบาลตำ�บลทา่ พระ และเทศบาล ตำ�บลสาวะถี ซ่ึงถือเป็นหวั ใจสำ�คญั ทัง้ ทางดา้ นการใช้กระบวนการทางศิลป วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม เพื่อสร้างการเปล่ียนแปลง เช่น เทศบาลตำ�บล ท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ที่มีเอกลักษณ์ในเร่ืองของพ้ืนท่ีสถานีรถไฟเก่า ที่กำ�ลังจะถูกรื้อท้ิง มาปรับเปลี่ยนโยกย้ายสถานที่ เพื่อมาเป็นศูนย์เรียนรู้ ในชุมชน ซ่ึงถือเป็นเอกลักษณ์ของโดยทำ�ให้เกิดการมีส่วนร่วมของเด็กและ เยาวชนจะสานต่อ ชว่ ยพัฒนาพน้ื ที่ พ้ืนที่ชุมชนศรีฐาน จ.ขอนแก่น ที่มีพื้นท่ีวัดเก่าและเข้ามาปลุก ประวัติศาสตร์ท่ีเราเรียกว่าภูมิตำ�นาน ให้เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ร่วม กับวัด โรงเรียน และชุมชน รวมถึงเทศบาลนครขอนแก่น จะเปิดพ้ืนที่ถนน คนเดนิ ท่จี ะเป็นพน้ื ทีถ่ นนคนเดินใหม่ ทมี่ นี วัตกรรมทางดา้ นความคดิ ในการ เปลี่ยนเมือง ชุมชน สังคมและส่ิงแวดล้อม และเกิดการจัดกิจกรรมในระยะ ยาวต่อไป พื้นที่ ชุมชนสาวะถี ท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์ชุมชน ทำ�งานร่วม กันกับวัด ชุมชน สนับสนุนเพื่อให้เยาวชน เกิดพื้นท่ีดี ภูมิดี ส่ือดี ร่วมกับ เครือข่ายภาคอีสาน 20 จังหวัด และนอกเหนือจากท่ีจังหวัดขอนแก่น ยังมี พื้นที่อำ�เภอเชียงคาน จังหวัดเลย ท่ีเป็นการผสมผสาน เร่ืองของความฝัน ความหวัง ของเด็กเยาวชนในพ้ืนท่ี พื้นที่อำ�เภอนาดูน จ.มหาสารคาม ที่มี การรื้อฟ้นื แหลง่ เรยี นรู้ หนุ่ กระต๊ิบขา้ ว และหนุ่ หนา้ กากสอนคุณธรรม หวังให้ เกิดพ้ืนทสี่ ร้างสรรค์ และเพือ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาพื้นทีใ่ หเ้ ป็นแหล่งเรียนร้อู ย่าง ยงั่ ยืนในระยะยาวตอ่ ไป อาจารย์ดนัย หวงั บุญชัย ผู้จดั การแผนงานสอ่ื ศิลปวฒั นธรรมสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สสส. 6 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

โครงการ Spark U หรือ ปลุกใจเมือง ภาคอีสานดำ�เนินการโดย ท้องถิ่น 3 จังหวัด ประกอบดว้ ย จ.เลย มหาสารคาม และจงั หวดั ขอนแกน่ โดยเฉพาะในจงั หวดั ขอนแกน่ 3 พนื้ ทใ่ี หญค่ อื เทศบาลนครขอนแกน่ เทศบาลต�ำ บลทา่ พระ และชมุ ชนสาวะถี ไดร้ ว่ มกนั จดั กจิ กรรมนข้ี น้ึ มาและวนั นี้น�ำ เอาผลสมั ฤทธมิ์ าโชวใ์ ห้ทุกคนได้เหน็ ผลสัมฤทธ์ิท่ีเกิดจากการร่วมมือกันทำ� ท้ังในกลุ่มของ ชุมชน ผู้นำ�องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักเรียน นักศึกษา และ ครูในพ้ืนที่น้ันๆ ซึ่งถือเป็นโครงการท่ีดี ท่ีเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้ทำ�งานร่วมกัน รวมไป ถึงเป็นกิจกรรมดีๆ ท่ีจะทำ�ให้ชุมชนได้คิดค้น เปล่ียนแปลงหลายสิ่งเพ่ือให้ ชุมชนตัวเองดีขน้ึ และต้องขอบคุณสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรอื สสส.ทไ่ี ดน้ �ำ เอางบประมาณมาใหช้ ุมชนไดร้ ่วมกันคดิ ร่วมกันทำ� เพอื่ ให้ เกิดประโยชน์กับทอ้ งถิ่นอยา่ งย่ังยืน โดยเฉพาะเกดิ พน้ื ที่สร้างสรรคใ์ นชมุ ชน ทจี่ ะนำ�ไปใช้ประโยชนร์ ่วมกัน เกดิ สอ่ื ดๆี ทจ่ี ะน�ำ ไปส่กู ารเปลย่ี นแปลงตัวเอง เปลย่ี นแปลงชมุ ชนให้ดยี งิ่ ข้ึน โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 7

ในฐานะสื่อมวลชน เรายินดีน�ำ เสนอข้อมลู ท่ีดี เพือ่ สือ่ สารจากชมุ ชน ไปยงั บคุ คลภายนอก หวงั ท�ำ ใหเ้ กดิ สง่ิ ดๆี ขน้ึ ในสงั คม และเกดิ การเปลย่ี นแปลง ไปส่กู ารพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป พ.ท.พสิ ิษฐ์ ชาญเจริญ นายกสมาคมส่อื มวลชนจงั หวดั ขอนแกน่ 8 I Spark U ‘ปลุกใจคณุ ปลุกใจเมืองอีสาน’

โครงการ “Spark U… ปลุกใจเมอื ง” ความเป็นมา : การจัดงานมหกรรมส่ือและพ้ืนที่สร้างสรรค์ “เดก็ บนั ดาลใจ” เปน็ รปู แบบหนงึ่ ของการขบั เคลอื่ นงาน ไดด้ �ำ เนนิ การ ในปแี รก เมอื่ เดอื นพฤษภาคม 2558 ทผี่ า่ นมา ซงึ่ ไดร้ บั การตอบรบั จากสาธารณะ และมขี อ้ เสนอแนะใหม้ กี ารด�ำ เนนิ การตอ่ เนอ่ื ง โดยใหป้ ระชาชนรบั รแู้ ละสามารถ เขา้ ถงึ ไดก้ วา้ งขวางมากขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กลมุ่ เปา้ หมายในภมู ภิ าคตา่ งๆ ดังน้นั ในปี 2559 ภาคหี ลัก 3 แผนงาน ของสำ�นักงานกองทุนสนบั สนุนการ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ หรอื สสส. จงึ ไดร้ ว่ มกนั จดั ท�ำ โครงการ มหกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และพน้ื ทสี่ รา้ งสรรคส์ �ำ หรบั เดก็ และเยาวชนปี 2559 ในชอ่ื เดก็ บนั ดาลใจ ปี 2 ลอ่ งทอ้ งถนิ่ ภมู ภิ าค ข้นึ โดยพฒั นารปู แบบการด�ำ เนินงานให้มคี ณุ ภาพ เพ่อื ให้ภาคแี ละประชาชนในท้องถน่ิ สามารถเขา้ ถงึ และมสี ว่ นร่วมมากขึ้น โดย เครอื ขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 9

แนวคดิ โครงการ : การขบั เคลอื่ นกระบวนการสอื่ และพนื้ ทส่ี รา้ งสรรค์ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในชุมชน โดยบูรณาการงานผ่านการขับเคล่ือน งานของ 3 แผนงานหลัก คือ 1.) แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุข ภาพ 2.) แผนงานส่ือสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชน 3.) แผนงานการสร้าง เสริมวัฒนธรรมการอ่าน โดยใช้ยุทธศาสตร์เมือง 3 ดี (ส่ือดี พื้นที่ดี ภูมิดี) และการสร้างพลเมืองที่ตื่นรู้และมีส่วนร่วม เป็นทิศทางเชิงรุก ที่ดึงพลังเชิง บวกของเด็กเยาวชน ครอบครัว และทุกฝ่ายในชุมชนมาร่วมขับเคล่ือนงาน ในมิติและประเด็นต่างๆ อย่างได้ผล ด้วยหนังสือ ส่ือและพื้นท่ีสร้างสรรค์ เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรม (Creativity& Innovation) การส่ือสารเพื่อสุข ภาวะที่มีความเป็นเอกลกั ษณ์เหมาะสมกบั แต่ละพืน้ ที่ ซึง่ เปน็ เนอ้ื หาทีส่ �ำ คญั และเหมาะสมในการสร้างการเรียนรู้เท่าทันสื่อ เท่าทันตนเอง เท่าทันสังคม โดยมกี ลมุ่ เยาวชนทผี่ า่ นการเรยี นรเู้ รอื่ งสอื่ สรา้ งสรรคส์ ขุ ภาวะเปน็ ผรู้ ว่ มเคลอ่ื น กระบวนการเพื่อการพัฒนาเป็นเป็นนกั สอ่ื สารสขุ ภาวะ กระบวนการเคล่ือนงาน Spark U มีเป้าหมาย เพ่ือให้องค์ความรู้ นวตั กรรม บทเรยี นทไี่ ดจ้ ากการท�ำ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งยาวนานดงั กลา่ วไดม้ กี าร ขยายผลสสู่ งั คมวงกวา้ ง ดงั นนั้ จงึ มคี วามจ�ำ เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งเผยแพรแ่ นวคดิ ประสบการณ์ บทเรียนการทำ�งาน นวตั กรรมด้านส่อื และพ้ืนท่สี รา้ งสรรคท์ ่ีได้ มกี ารดำ�เนินงานมาแล้ว เพื่อสร้างความตระหนัก และระดมความคิดและการ มสี ว่ นรว่ มของสงั คมในทกุ ระดบั ซงึ่ จะท�ำ ใหห้ ลายภาคสว่ นเกดิ ความตระหนกั และต่ืนตวั เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการขบั เคล่ือนอยา่ งกว้างขวาง ในขณะเดียวกนั กลไกในระดบั นโยบายภมู ภิ าคก็มกี ารขบั เคลื่อน เพ่ือจดุ ประกายใหเ้ กดิ ชมุ ชน ปฏบิ ตั กิ ารท่วั ประเทศ 10 I Spark U ‘ปลุกใจคณุ ปลุกใจเมืองอีสาน’

วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ 1. เพอื่ เปดิ พน้ื ทใี่ หม้ กี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เผยแพรแ่ นวคดิ ประสบการณ์ บทเรยี น และกรณตี วั อยา่ งทปี่ ระสบผลส�ำ เรจ็ ในการท�ำ งานดา้ นสอ่ื และพนื้ ทสี่ รา้ งสรรค์ 2. เพอื่ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ ความตระหนกั และสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ในการจัดกระบวนการสื่อและพื้นท่ีสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาสุขภาวะของเด็ก เยาวชน ครอบครวั และสงั คมในชมุ ชนท้องถ่นิ 3. เพอ่ื ระดมความคดิ และการมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ งๆ ในสงั คม ในการขับเคล่ือนงานในระดับภูมภิ าค 4. ผลกั ดนั นโยบายทอ้ งถน่ิ ดา้ นระบบสอ่ื และพน้ื ทสี่ รา้ งสรรคท์ เ่ี ออ้ื ตอ่ สขุ ภาวะเดก็ เยาวชน และครอบครัว ปลุก Spark - จดุ ประกายจุดเรม่ิ ตน้ ของประกายความฝนั ความคิด สรา้ งสรรค์ และแรงบนั ดาลใจอนั เกดิ จากสายตาท่ีมองเห็นโอกาส และความ เป็นไปได้ใหม่ๆ พร้อมท่ีจะเปล่ียนแปลงและสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ ให้ปรากฏ เปน็ จริง ใจ Heart - หัวใจมากกวา่ พ้นื ท่ี อาคาร สถานทคี่ อื ชมุ ชน ความเปน็ อยู่ และชวี ิตเพราะ ผ้คู น และ หวั ใจของผคู้ นทพ่ี ร้อมท่ีจะถกู ปลกุ ขน้ึ มาเพื่อ ค้นหาคุณค่า ความหมายดั้งเดิมและพร้อมท่ีจะถ่ายทอดนำ�เสนอในบริบท ท่ีรว่ มสมยั จากอดีตสูป่ จั จุบัน นำ�ไปส่อู นาคต เมือง Urban - เมืองคือ ชุมชนแหง่ การอย่รู ว่ มกนั ท้ังขนาดเลก็ กลาง ใหญ่ เปน็ ศูนยร์ วมปจั จยั ของการด�ำ เนินชีวติ ทม่ี อี ดตี ความเปน็ มา และโอกาส ใหม่ในการปรบั ปรุง รังสรรค์ ให้เกดิ คณุ ค่า และความหมาย ในการอยูร่ ว่ มกัน ของผู้คนในสังคม โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 11

กรอบแนวคดิ ในการท�ำ งาน กรอบแนวคิดในการทางาน Inspiring / Sharing / Engagement 12 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

แนวคดิ การขับเคลอ่ื น ประเดน็ “เดก็ บนั ดาลใจ” 1) เดก็ เยาวชนเปน็ ผสู้ รา้ งการเปลย่ี นแปลงและเปน็ ผสู้ รา้ งแรงบนั ดาลใจ ให้เด็กๆ ด้วยกันเองและผู้ใหญ่เข้ามีส่วนร่วมสร้างการเปล่ียนแปลงให้เกิด สงั คมสขุ ภาวะ การทจ่ี ะสรา้ งใหเ้ ดก็ มบี ทบาทในการเปน็ เดก็ บนั ดาลใจได้ ตอ้ ง พัฒนาในทุกช่วงวัย เร่ิมตั้งแต่เด็กปฐมวัย ด้วยพลังของสื่อสร้างสรรค์ที่เด็ก เยาวชนเข้าถึง และเป็นผู้สร้างสรรค์ด้วยตนเอง เพ่ือสร้างการเปล่ียนแปลง ในฐานะพลเมือง ซ่ึงจะเป็นแนวทางที่ทำ�ให้เด็กเยาวชนเห็นคุณค่าในตนเอง ท�ำ ใหส้ ังคมมองเดก็ เยาวชนในมิตใิ หม่ ไมใ่ ชเ่ พียงผรู้ ับบริการ หรอื ผทู้ ่ีตอ้ งรอ การแกไ้ ขปญั หา พลังของเด็กสามารถดึงผูใ้ หญ่ให้มาท�ำ งานรว่ มกนั ได้ โดยไม่ แบง่ แยกทางความคดิ เช่ือว่าการทำ�งานเชงิ รกุ แนวทางนี้ จะทำ�ให้พลกิ วธิ ีคดิ และแนวทางการท�ำ งานดา้ นเดก็ เยาวชนในดา้ นอน่ื ๆ อกี ทง้ั สามารถบรู ณาการ ประเดน็ ต่างๆ ทเี่ ป็นเร่อื งสำ�คัญของชุมชนและสังคม 2) พัฒนาพลเมืองที่ตื่นรู้ เป็นนักสื่อสารสุขภาวะ เท่าทันสื่อ และ สรา้ งปจั จยั แวดลอ้ ม และระบบสอื่ ทเ่ี ออื้ ตอ่ การสรา้ งสขุ ภาวะ ทสี่ ามารถระดม การมสี ว่ นรว่ มจากชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยไดอ้ ยา่ งมพี ลงั และใหค้ วามสำ�คญั กบั การ ใช้สอื่ รวมถึงพ้นื ที่สรา้ งสรรค์ท่ีหลากหลายในชมุ ชน และใชส้ ื่อใหม่เป็นเครอ่ื ง มือในการสรา้ งการเปลย่ี นแปลง ใชภ้ มู ปิ ญั ญาท่ีมีอยใู่ นทุกชมุ ชนมาร่วมสร้าง ตามแนวคิดเมือง 3 ดี ส่อื ดี พนื้ ทดี่ ี ภูมดิ ี 3) น�ำ เสนอตน้ แบบ ขยายองคค์ วามรู้ นวตั กรรม เคร่ืองมือ ใช้พน้ื ที่ ต้นแบบเป็นผู้สื่อสารและขยายผลในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมถึงสื่อสาร สงั คมทำ�ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นร่วมของครอบครัว ชุมชน ประชาชนท่ัวไป นำ�ไปสู่ การปรับเปลี่ยนทศั นคติ ค่านยิ ม จนเปน็ วถิ ีสุขภาวะ 4) บูรณาการยุทธศาสตร์ 3 ดี สู่สุขภาวะทางปัญญา และสร้าง พลเมอื งทตี่ น่ื รู้ เทา่ ทนั สอื่ มสี ว่ นรว่ มสรา้ งระบบสอื่ สขุ ภาวะ รวมถงึ บรู ณาการ ประเดน็ สขุ ภาวะอนื่ ๆ เชน่ เรอื่ งอาหาร กจิ กรรมทางกายฯ โดยการบรู ณาการ การทำ�งานของ 3 แผน จะทำ�ให้เกิดพลังในการขยายแนวคิด และการสร้าง ศกั ยภาพใหก้ บั ภาคี สร้างภาคีหนา้ ใหม่ โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 13

5) ขับเคลื่อนนโยบายในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ เพื่อสร้าง กลไกและระบบส่ือเพื่อวถิ ีสขุ ภาวะ กระบวนการปลุกใจเมือง 1. เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการพฒั นางานรว่ มกนั ของภาคี เครอื ขา่ ยภมู ภิ าค เพอ่ื รว่ มกนั ก�ำ หนดประเดน็ ปญั หา และขบั เคลอ่ื นงาน จนไปสู่ การจดั มหกรรมภูมิภาค 2. กิจกรรมในลักษณะมหกรรมท่เี ปิดส่สู าธารณะ ซึ่งประกอบด้วย • นทิ รรศการ จดั เปน็ เทศกาลสอื่ และพนื้ ทสี่ รา้ งสรรคเ์ ดก็ บนั ดาลใจ ระดับภาค ต่อเนื่อง 2-3 วัน โดยใช้ต้นทุนและทรัพยากรที่พ้ืนที่ และ เครือข่ายมอี ยู่มารว่ มออกแบบด�ำ เนินการ • เวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นชมุ ชน เวทกี ลาง การเปดิ งาน การแสดง เวทปี ระกาศเจตนารมณ์ • หอ้ งยอ่ ย เสวนาเครือขา่ ย/ขบั เคลื่อนนโยบายท้องถิน่ /ประชุม เชงิ ปฏิบัตกิ าร/วจิ ยั &วิชาการ • ตลาดนัดสื่อและพื้นที่สร้างสรรค์ (หนังสือ ละคร ดนตรี ส่ือพื้นบ้าน ฯลฯ) • พน้ื ที่ Show & Share งานเดน่ และนวัตกรรม • กิจกรรมเสนอข้อเรียกร้องและผลักดันนโยบายระบบสื่อ สร้างสรรค์ แถลงข่าว/แถลงผลการสำ�รวจความคิดเห็น ย่ืนข้อเสนอต่อฝ่าย นโยบาย ฯลฯ 3. ปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมเป็นต้น แบบขยายผลสู่พน้ื ท่อี ืน่ ๆ จุดประกายให้เกดิ ชุมชนปฏบิ ัตกิ ารท่วั ประเทศ 14 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

„ ตลาดนดั ส่ือและพืน้ ท่ีสร้างสรรค์ (หนงั สือ ละคร ดนตรี ส่ือพืน้ บ้าน ฯลฯ) „ พืน้ ท่ี Show & Share งานเดน่ และนวตั กรรม „ กิจกรรมเสนอข้อเรียกร้องและผลกั ดนั นโยบายระบบส่ือสร้างสรรค์ แถลงขา่ ว /แถลงผลการ สํารวจความคดิ เห็น ยื่นข้อเสนอตอ่ ฝ่ ายนโยบาย ฯลฯ 3.ปฏิบตั กิ ารเปล่ียนแปลงพืน้ ท่ีในชมุ ชนอยา่ งเป็นรูปธรรมเป็นต้นแบบขยายผลสพู่ ืน้ ที่อื่น ๆ จดุ ประกายให้เกิดชมุ ชนปฏิบตั กิ ารทวั่ ประเทศ พ้นื ท่ีปฏิบตั ิการในอีสาน 5 พ้ืนที่ พนื้ ท่ปี ฏบิ ัติการในอสี าน 5 พน้ื ท่ี ทท่า่าพพรระะ ศรีฐาน สาวะถี สร้ างตลาดท่าพระร้ อยปี สืบค้นเมอื งเกา่ บ้านเราศรีฐาน ปลกุ ใจไทสาวะถีไมม่ ขี ยะ ขอสถานีรถไฟ มมหหาาสสาารรคคาามม เเลลยย ปลุกใจไทนาดนู ปลุก ปั้น ธรรม นาสุข ต้ านคอร์ รัปช่ นั โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 15

ปลุกใจ แล้วเยาวชนไดอ้ ะไร? ๏ เสวนาถอดบทเรยี นเยาวชนจากโครงการปลุกใจเมอื ง ในงานแสดงนทิ รรศการปลุกใจเมอื งภาคอสี าน ภายในงานมหกรรมหนงั สอื ภาคอสี าน ท่ีศูนย์ประชมุ อเนกประสงคก์ าญจนาภิเษก มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เม่ือวนั ท่ี 16 สงิ หาคม 2560 ท่ผี า่ นมา “เยาวชนปลกุ ใจเมือง” อยา่ งไร? ค�ำ ถามท่ีถูกสง่ มาวา่ เยาวชนได้รับประโยชนอ์ ะไร ? จากการเข้ารว่ ม โครงการปลุกใจเมืองครั้งนี้ คำ�ตอบที่ได้ จะต้องถามจากเยาวชนท่ีเข้าร่วม โครงการตั้งแต่ต้น จงึ จะรูค้ วามจริง ภานพุ งศ์ อดุ ม ตวั แทนจากชมุ ชนสาวะถี อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ บอกวา่ ได้แก้ปัญหาเร่ืองขยะ ชุมชนสาวะถีนั้นเป็นชุมชนท่องเท่ียวทางวัฒนธรรม โดยมีสิมวัดไชยศรีเป็นจุดสนใจท่ีดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามา พอนักท่องเที่ยว เขา้ มาแลว้ ถา้ ชมุ ชนเราไมส่ ะอาดกจ็ ะเสยี ชอ่ื เสยี ง เราเลยคดิ ทจ่ี ะท�ำ เรอื่ งนขี้ นึ้ เพ่ือปรบั เปลย่ี นชมุ ชนให้สะอาดและดูสวยงาม 16 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

“ตอนแรกท่ีทำ�ก็ยาก เราใช้วิธีดึงเด็กมัธยมเข้ามาช่วยในเรื่องการ คัดแยกขยะ การเก็บขยะ แต่ช่วงแรกน้องๆ ไม่ค่อยให้ความร่วมมือเท่าไหร่ เพราะเด็กมัธยมข้ีเกียจ ไม่ค่อยจะมาเก็บขยะช่วยกัน พอทำ�ไปนานเข้าน้อง ก็เร่ิมสนใจ เรียกว่าเราเริ่มปลุกจิตสำ�นึกให้น้อง น้องก็เร่ิมท่ีจะมาร่วมมือทำ� มากข้ึน เพ่ือรักษาสิ่งแวดล้อม เราเริ่มต้นจากโรงเรียนก่อน พอเราผ่านจุด ของโรงเรยี นแลว้ เรากจ็ ะไปเริ่มท่ีชมุ ชนโดยเอาชมุ ชนสาวะถเี ป็นตวั แกนหลกั ” ภานพุ งศ์ ขยายความ และเมื่อถูกถามว่า ผู้ใหญ่ในชุมชนสาวะถีได้ร่วมด้วยไหม? คำ�ตอบ คือ ผู้ใหญ่ให้ความสำ�คัญมาก โดยเฉพาะเทศบาลจะทำ�เป็นระบบเงินออม เป็นการนำ�ขยะของแต่ละบ้าน แต่ละครัวเรือนมารวมกันที่ศาลากลางบ้าน แล้วก็ให้ทำ�เป็นโครงการขยะแลกเงิน ธนาคารขยะ เป็นเงินออมในบัญชีของ แต่ละบ้าน เพือ่ เอาไวช้ ่วยเหลอื ครอบครวั ในอนาคต “ตอนแรกทท่ี �ำ เพอื่ นๆ นอ้ งๆ กม็ ตี อ่ ตา้ นเหมอื นกนั อยา่ งบางหอ้ งเรยี น ที่มีผู้ชายมากก็ไม่อยากจะร่วมมือ พอเราจะติดโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การ คดั แยกขยะ เขามาเหน็ ก็มองขา้ ม ไมส่ นใจ ไม่อยากรว่ ม แต่เด๋ยี วน้เี ขาสนใจ ทำ�แล้ว” ภานุพงศ์ เสริมอีก เพราะส่ิงที่เขาทำ�ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง ชัดเจน จีรนันท์ ชุ่มทอง ตัวแทนชาวชุมชนศรีฐาน เทศบาลนครขอนแก่น บอกถึงสง่ิ ทไี่ ดร้ บั จากโครงการน้วี า่ ชาวชมุ ชนศรฐี าน ได้ทำ�โครงการ “สืบคน้ เมอื งเก่า บา้ นเราศรฐี าน”เพราะชุมชนนเ้ี ป็นชุมชนดง้ั เดมิ ตง้ั แตส่ มัยทวารวดี มสี ่งิ ของโบราณมากมาย ทงั้ ใบเสมา เครอื่ งปน้ั ดินเผา รวมถึงต้นไม้อายุหลาย รอ้ ยปอี ย่างตน้ คิงคาว หรอื ชาวบ้านเพย้ี นเสยี งวา่ เป็นต้นคา้ งคาว ซงึ่ ใช้เปน็ ยา รักษาโรคขาดสารอาหาร รวมถงึ ท่ีวัดแห่งนย้ี งั มหี อระฆงั ท่ใี ช้เปน็ จุดชมวิวได้ “ตอนแรกทมี่ โี ครงการน้ี แคไ่ ดย้ นิ ชอ่ื หนกู ส็ นใจ อยากจะท�ำ อยากจะ รว่ มมอื เพราะกอ่ นหนา้ นพี้ อ่ แมป่ ยู่ า่ ตายายกเ็ คยเลา่ ใหฟ้ งั ตวั หนเู องไมไ่ ดเ้ ปน็ คนศรีฐานต้ังแต่กำ�เนิด แต่พอได้มาร่วมทำ�โครงการก็สนใจ และดีใจท่ีแผ่น โดย เครอื ขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 17

ดินที่เราอยู่มีประวัติความเป็นมามากมาย นอกจากน้ันยังได้สืบค้นหาของดี ของชมุ ชนอกี หลายอยา่ ง ทำ�ใหร้ ู้แล้วว่าหากมาชุมชนศรฐี านเราจะตอ้ งไปกิน อาหารทไ่ี หน ซ้อื ของฝากทีไ่ หน” เธอยังเสริมอกี ว่า พอไดบ้ อกเล่าเรอ่ื งนใี้ หเ้ พื่อนๆ ฟัง เพอื่ นก็อยาก มาร่วมโครงการด้วย แต่ศรีฐานมี 4 ชุมชน เพราะฉะน้ันก็จะต้องใช้ความ พยายามในการกระจายขอ้ มูลเพื่อดงึ เดก็ เยาวชนคนอืน่ เขา้ ร่วมกิจกรรมด้วย นเิ ทศศาสตร์ อพั ภยั ชา ตวั แทนเยาวชนคนทา่ พระ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ บอกวา่ ทา่ พระท�ำ โครงการขอสถานที า่ พระ เพอื่ น�ำ มาสรา้ งเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี น รู้ให้กับคนในชุมชน และเปิดตลาดร้อยปีท่าพระ ซึ่งใช้ถนนหน้าสถานีรถไฟ ท่าพระ ซ่ึงเคยเป็นถนนสายเศรษฐกิจของเมืองเป็นพ้ืนท่ีส่วนกลางและเป็น พ้นื ท่ีสรา้ งสรรคข์ องคนในท่าพระ โดยสถานรี ถไฟ ทางการรถไฟไดเ้ รมิ่ ท�ำ รถไฟทางคู่ ท�ำ ใหต้ อ้ งรอื้ สถานี รถไฟเก่าออก โดยสถานีรถไฟเก่าน้ีอยู่คู่กับชาวท่าพระมานานกว่า 100 ปี แลว้ ท�ำ ให้ชาวชุมชนอยากเอามาเก็บไวใ้ ห้ชาวชุมชนและเดก็ เยาวชนไดเ้ รยี นรู้ ดีกว่าให้ทางการรถไฟรอื้ ทิง้ ไป สถานีแห่งน้ีเปน็ ทๆ่ี คนทา่ พระ และคนผ่าน ทางไดใ้ ชม้ ายาวนาน ซงึ่ การขอสถานรี ถไฟมาใหช้ มุ ชนดแู ลกม็ คี า่ ใช้จา่ ยคอื คา่ ขนย้าย จึงได้มีการร่วมแรงร่วมใจกันของคนในชุมชน เร่ียไรเงิน บริจาคเงิน เด็กเยาวชนไดไ้ ปชว่ ยในเร่อื งการแสดงดนตรีเปิดหมวก ใหค้ นในชมุ ชนรูว้ า่ จะ มีการบริจาคเงินเพื่อเคลื่อนยา้ ยสถานรี ถไฟ โดยจะนำ�สถานรี ถไฟเก่าไปไว้ท่ี ขา้ งอาคารโรงยมิ ของเทศบาล เพ่อื ทำ�เปน็ ศูนย์เรียนรู้ สว่ นตลาดทา่ พระรอ้ ยปี เปน็ ตลาดถนนคนเดนิ ทเ่ี ปน็ พนื้ ทส่ี รา้ งสรรค์ ให้คนในพ้ืนที่ตำ�บลท่าพระได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยมีการจำ�หน่ายอาหาร ทัง้ อาหารปรุงสุก อาหารสดใหม่ และมีพ้ืนทีใ่ หเ้ ด็กเยาวชนไดแ้ สดงออกรว่ ม กันทั้งการเล่นดนตรี แสดงความสามารถ และการโชว์ผลงานของนักเรียน นักศกึ ษา และการแสดงของประชาชนในพื้นทดี่ ว้ ย “ผมดีใจนะครับท่ีเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมครั้งน้ี ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ 18 I Spark U ‘ปลุกใจคณุ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ชมุ ชนว่า ท่าพระของเราเก่าแก่แค่ไหน และเกดิ ความภูมิใจข้างในว่า บ้านฉนั กม็ ขี องดี บา้ นฉนั กม็ ปี ระวตั ศิ าสตรย์ าวนานไมแ่ พเ้ มอื งอน่ื ”นเิ ทศศาสตร์ บอก ณฐั นนั ท์ สรุ นั นา ตวั แทนจาก อ.เชยี งคาน จงั หวดั เลย บอกวา่ ตอนแรก มีพม่ี าชวนไปอบรม ไดเ้ ขา้ ไปรว่ มทำ�ทำ�ไปทำ�มากบ็ อกใหไ้ ปวางแผน โดยแบ่ง เป็น 3 กลุ่ม ของตนเป็นกลุ่มคน 3 วัย ท่ีมาของกลุ่มคน 3 วัยไทเชียงคาน ก็มีกลมุ่ คนอยู่ 3 วัย วัยแรกก็คือวยั เดก็ วยั ท่ีสองคือวยั เยาวชน และวยั ทส่ี าม คอื วัยผ้ใู หญ่ ซง่ึ จะแบง่ เปน็ 3 กล่มุ โดยกลมุ่ นี้จะมคี น 3 วัย ใหไ้ ปส�ำ รวจพ้นื ท่ี ของเชียงคาน โดยแบง่ เปน็ 3 โซน คอื โซนถนนใหญ่ โซนส่วนกลาง และโซน ริมแม่น้�ำ โขง “กลมุ่ ผมไดต้ ามซอย ถนนกลาง โดยไปตามหาภมู ปิ ญั ญาของชาวบา้ น จดุ ไหนมีดีอะไร ทำ�อะไร และเป็นมาอย่างไร เข้าไปสอบถามแลว้ จงึ นำ�มาระ ดมความคิดกนั แลว้ ก็นำ�มาเขียนวา่ ในจุดไหน มีอะไรท่ีดี ตวั ผมไม่เคยรูว้ า่ ท่ี เชยี งคานมอี ะไรบ้าง เด่นๆ กจ็ ะมกี ารแสดงผีโขนน้ำ� ถนนคนเดิน ภูทอกท่ีมี หมอกเยอะ แกง่ คดุ คู้ แลว้ กร็ มิ โขงสวย แตพ่ อไปเดนิ สบื คน้ หาขอ้ มลู กลบั พบวา่ มปี า่ ชาวบ้านนา่ รกั มอี าหารแปลกๆ อย่างข้าวป้นุ น้ำ�แจ่วไปเชียงคานตอ้ งกิน และไดเ้ หน็ ปญั หาวา่ พนื้ ทข่ี องเรามปี ญั หาอะไร โดยเฉพาะการจอดรถเลยเสน้ ขาวออกมา กีดขวางการจราจร ปัญหาขยะ เพราะนกั ทอ่ งเทยี่ วมาเทีย่ วเยอะ เกิดปญั หาขยะล้น ทพี่ กั จะไมค่ ่อยพอ น.ส.รัชนีกร จันทหาร และ ด.ช.วิทวัฒน์ มะทิเปนา ตัวแทนจาก จังหวัดมหาสารคาม บอกว่า โครงการน้ีเป็นการกลับมามองตนเอง ทั้งใน แง่ของผูท้ ำ�งานและผรู้ ว่ มงาน จากการทีเ่ ด็กๆ ได้ร่วมกันสะท้อนปัญหาของ ชุมชนออกมาว่าปัญหาของชุมชนตนเองมีปัญหาอะไร น้องๆ ก็สะท้อนมา เรือ่ งการคอรร์ ปั ช่นั ทีเ่ ด็กๆ เหน็ เราจงึ ใช้กระบวนการละครเขา้ ไปด�ำ เนนิ การ เพอื่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง แตไ่ มร่ วู้ า่ สอ่ื ทเ่ี ราจะเอาไปใชเ้ พอ่ื ใหเ้ ขาเปลยี่ นแปลง พฤติกรรมนั้นจะได้ผลไหม? เราใช้ละครเพ่ือเผยแพร่คุณธรรมแก่ผู้ชม หรือ แมแ้ ตก่ ระทง่ั ตวั ของนอ้ งๆ เองทไ่ี ดอ้ ยใู่ นกระบวนการ และไดค้ ดิ ตามเนอื้ เรอ่ื ง โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 19

ของละคร ว่าเราดีหรือยัง หรือต้องแก้ไขอะไร เพ่ือกระตุ้นทางความคิดว่า เราเป็นแบบนน้ั หรอื เปล่า แลว้ เราเคยท�ำ เพอ่ื คนอืน่ บา้ งหรอื เปลา่ ให้เกิดการ ต้งั ค�ำ ถาม เพื่อหวังเกิดการเปลย่ี นแปลงทด่ี ีข้ึน สรปุ การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ หลงั เขา้ รว่ มโครงการ ปลกุ ใจเมอื ง สรุปการเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ขนึ้ หลังเข้าร่วมโครงการ ปลุกใจเมือง ท่าพระ รู้จกั ของด/ี ภมู ิใจไทท่าพระ สาวะถี ศรีฐาน แก้ปัญหาขยะเพื่อชมุ ชนสะอาด รู้ประวตั คิ วามเป็นมา / ภมู ใิ จ มหาสารคาม เลย แก้ปัญหาคอร์รัปชน่ั เริ่มท่ีตวั เรา ภมู ิใจสบื ค้นคนเชียงคาน 20 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ปลุกใจ เครอื ขา่ ย ครู ประชาชน คนในชุมชน ไดอ้ ะไร? ๏ กิจกรรมถอดบทเรียนการท�ำ งานของเครือขา่ ยพรอ้ มเดก็ เยาวชน เม่ือวนั ท่ี 17 สิงหาคม 2560 ณ อาคารพทุ ธศลิ ป์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น นอกจากเดก็ เยาวชนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการปลกุ ใจเมอื งแลว้ ยงั มกี ลมุ่ ครู ประชาชน เจา้ หนา้ ทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และคนในชมุ ชนเขา้ รว่ มดว้ ย โดยในกจิ กรรมถอดบทเรยี นการทำ�งานในโครงการ สปารค์ ยนู น้ั ไดแ้ บง่ หวั ขอ้ ในการหาคำ�ตอบเอาไว้ 4 หัวขอ้ ใหญ่ๆ คือ โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 21

1. อดีต ปัจจุบัน อนาคตโครงการ Spark U จะเป็น อย่างไร? พื้นทท่ี ่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น - เราตอ้ งการมัคคเุ ทศก์ จะหาไกด์ ทเี่ ปน็ เดก็ นกั เรยี นเยาวชนในต�ำ บลทา่ พระ เพอื่ ทจี่ ะใหท้ า่ พระของเราเปน็ แหลง่ ท่องเท่ยี วท่ีสำ�คญั แหง่ หนึง่ ของจังหวัดขอนแกน่ จะทำ�ให้ท่าพระเป็นศนู ย์รวม สถานทท่ี อ่ งเท่ียว ซ่งึ ทา่ พระของเรามีตลาดท่าพระร้อยปี ที่เปดิ ไปเมือ่ วันท่ี 3 พฤษภาคม 2560 จดุ ประสงคเ์ พอ่ื ตอ้ งการเกบ็ รกั ษาอาคารบา้ นเรอื นเกา่ ทย่ี งั มี อยไู่ วใ้ นทา่ พระ ใหเ้ ปน็ ตลาดเหมอื นตลาดถนนคนเดนิ ของเชยี งคาน จงั หวดั เลย เพราะเราอยากสร้างจดุ สนใจใหก้ ับท่าพระ หาแลนดม์ ารค์ ท่ดี ี พนื้ ทอี่ .เชยี งคาน จ.เลย - โครงการนไี้ ดม้ าจากคนสามวยั ไทเชยี งคาน ท่ีนำ�เด็กวัยรุ่น และผู้ใหญ่ มาร่วมทำ�กิจกรรมกัน ร่วมระดมความคิดว่า เชยี งคานของเรามปี ญั หาอะไรบา้ ง แลว้ เราจะแกไ้ ขปญั หากนั อยา่ งไร เปน็ การ ปรบั ปญั หาภูมิทศั น์ของอำ�เภอเชียงคาน สว่ นหลกั ๆ นักท่องเท่ียวเขา้ มาแลว้ ทำ�สิง่ ที่ไมค่ ่อยดเี ทา่ ไหร่ จงึ ร่วมกนั แก้ปัญหา รวมถงึ การอนรุ กั ษแ์ ละเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม การอนุรักษ์ภูมิปัญญาของชาวบ้าน และเป็นการช่วยกันคิด และออกแบบผลติ ภัณฑข์ องอ�ำ เภอเชียงคานที่มีเอกลกั ษณข์ องเชียงคานด้วย พนื้ ท่ีสาวะถี ต.สาวะถี อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ - ต้องการแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อม บ้าน โรงเรียน ปลูกจิตสำ�นึกที่ดีให้แก่นักเรียนในโรงเรียน เพอ่ื แก้ไขปัญหาขยะ เพราะท่ีผ่านมา ไมม่ ีการคดั แยกขยะ ใครอยากทง้ิ อะไร กท็ ง้ิ มีขยะแต่ไม่ท้ิงลงถัง พื้นท่ี อ.นาดนู จ.มหาสารคาม - โครงการปลกุ ใจไทนาดูน เป็นการ แสดงละครห่นุ หนา้ กาก เล่นเร่อื งผ้เู สยี สละ ออกตระเวนแสดงไปยังโรงเรียน ตา่ งๆ ปลุกเดก็ ในพนื้ ท่ีให้เสียสละ ไมโ่ กง ไมค่ อรร์ ปั ช่ัน พื้นที่ศรีฐาน เทศบาลนครขอนแก่น - ได้ลงพื้นท่ีไปสืบค้นประวัติ ความเป็นมาของบา้ นศรฐี านเพื่ออนรุ ักษบ์ ้านเกา่ ของบ้านศรีฐาน สง่ิ ท่ีค้นพบ คอื พบใบเสมาอายกุ วา่ พนั ปี พบเศยี รพระพทุ ธรปู ทป่ี ระเมนิ คา่ ไมไ่ ด้ พบตน้ ไม้ ขนาดใหญ่ พบของดีของชมุ ชนมากมาย 22 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

2. โครงการ Spark U คืออะไร? เมอื่ ถกู ถามถงึ ความหมายของคำ�วา่ Spark U คอื อะไร สมาชกิ ทรี่ ว่ ม กันถอดบทเรียน ได้ให้คำ�นิยามคำ�น้ีว่า คือการปลูกฝังจิตสำ�นึกของตนเอง การท่ีเราปลูกจิตสำ�นึกของตนเองให้เกิดข้ึนมาก่อนแล้วเราถึงจะไปบอกต่อ คนอื่นไดว้ า่ การปลูกฝงั จติ สำ�นึกเป็นอย่างไร ให้เกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง ด้วยการชว่ ยกันสรา้ งชือ่ ของท้องถ่ิน หรอื ชุมชนที่เราอยอู่ าศยั โดยไมพ่ ยายาม ทำ�ลายช่อื เสยี งของชุมชน และเราจะทำ�ให้บา้ น วัด โรงเรียน มีส่วนรว่ มในการ พฒั นาชมุ ชนของเราโดย 1. การอนุรกั ษ์วฒั นธรรมในแตล่ ะพนื้ ท่ี 2. อนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม 3. เปน็ การสร้างความรู้ ให้เกิดประโยชน์ 4. เปน็ การกระตุน้ ให้คนในพืน้ ท่ี ตืน่ ตัวกับปญั หา 5. ได้ท�ำ กจิ กรรมท่ีแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ 6. ได้เกดิ ความคดิ ท่ีแปลกใหม่ แล้วน�ำ มาใชใ้ นปจั จบุ นั 7. เป็นโครงการที่เป็นการจุดประกายให้ตัวเองพัฒนาความคิดที่ สร้างสรรค์ 8. เป็นการปลุกใจให้คนในชุมชนให้พัฒนาพ้ืนที่ของตนเองให้มี คณุ ค่ามากข้ึน 9. เป็นการแสดงออกทางด้านความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ ของตนเอง 10. เปน็ การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมประเพณขี องชมุ ชนทม่ี มี าอยา่ งยาวนาน 11. เป็นการเรยี นรู้และสืบทอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ใหม้ ีสบื ต่อไป 12. เป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมในชมุ ชนให้กบั คนตา่ งชุมชน และคน ต่างชาติได้รู้จกั 13. ท�ำ ใหค้ นมีความสามคั คี กลา้ คดิ และกลา้ ลงมอื ท�ำ 14. มีการแลกเปลย่ี นวัฒนธรรมของแตล่ ะชุมชน โดย เครอื ขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 23

3. ในอนาคตคาดหวงั ให้โครงการ Spark U เป็นอยา่ งไร • อยากใหเ้ ป็นโครงการที่ท�ำ ใหช้ ุมชนของเราเป็นชุมชนต้นแบบ • เป็นโครงการท่ีทำ�ใหช้ มุ ชนมีผลติ ภัณฑ์เปน็ ของชมุ ชน เพอื่ พัฒนา และส่งออกไปทั่วโลก • อยากใหเ้ ปน็ โครงการท่ีส่งเสรมิ การท่องเที่ยวทยี่ งั่ ยนื • เป็นโครงการที่มีมัคคุเทศก์ประจ�ำ ท้องถ่ิน มีความสามารถทาง ด้านภาษา เพือ่ รองรบั นกั ทอ่ งเที่ยว • อยากให้เป็นโครงการทีใ่ ช้หลกั บ-ว-ร บา้ น วัด โรงเรียน และช่วย ทำ�ให้สภาพแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่ ปลอดภยั ปราศจากอบายมุข • มีการจัดการพนื้ ทีส่ าธารณะ ให้ทกุ คนมีส่วนรว่ ม เชน่ การรณรงค์ รักษาความสะอาด ปรบั ปรงุ พนื้ ท่ีทดี่ ูไมด่ ใี นพน้ื ท่ขี องเรา • เป็นการส่งเสริมภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น เช่น การฟ้อนร�ำ การสืบสาน วัฒนธรรมด้ังเดิม ป่าชาวบ้าน วัฒนธรรม เช่น ผีขนนำ้�ของอำ�เภอเชียงคาน จังหวดั เลย • ปลูกฝงั ใหเ้ ดก็ รนุ่ ใหม่ ใส่ใจและรู้ซงึ้ ในการอนรุ ักษบ์ ้านเกิด ให้เรา รักบา้ นเกดิ • อยากให้ไปศึกษาดูงานของแต่ละชุมชนท่ีเป็นจุดเด่น แล้วนำ�มา ประยกุ ตใ์ ช้ในชุมชนของตนเอง • อยากให้มเี วทแี สดงความสามารถของเด็กๆ ในพนื้ ท่ี • สร้างพลเมอื งเป็นคนจิตอาสาสร้างคุณประโยชนใ์ ห้แก่ชมุ ชน เช่น ทำ�ความสะอาดบริเวณลานวดั ชมุ ชนของตนเอง • ท�ำ ใหช้ มุ ชนของเราเข้มแข็งมากยง่ิ ข้ึน และเจริญกา้ วหนา้ ทางด้าน ความคดิ • ท�ำ ใหช้ มุ ชนมคี วามเปน็ ผนู้ �ำ เรมิ่ จากการพฒั นาตง้ั แตใ่ นชมุ ชนเพอ่ื ไปนำ�พฒั นาต่อยอดไดใ้ นอนาคต 24 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

• สนับสนนุ สานตอ่ วัฒนธรรมทเี่ ก่าแก่ท่ีสบื ทอดมาชา้ นาน ให้อย่คู ง ตอ่ สืบไป • ฝกึ ฝนเยาวชนใหก้ ล้าคดิ กล้าแสดงออก มีการทำ�โรงละครหุ่น นำ� เอาเรอื่ งราวท่เี ลา่ ต่อกันมามาเปน็ ละครเพ่อื สอนและปลกุ ใจคนในชุมชน • จัดทำ�พิพิธภัณฑ์ของเก่าแก่เพื่อเก็บรักษาไว้ให้ลูกหลานใน รุ่นต่อๆ ไป ตารางสรปุ การท�ำ งาน 5 พน้ื ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารและผลสมั ฤทธทิ์ เี่ กดิ ขนึ้ พ้นื ท่ี ส่งิ ทท่ี ำ� ผลที่เกิด เทศบาล -สืบคน้ ประวตั ทิ ่าพระ - เกดิ ตลาดท่าพระรอ้ ยปี ต�ำ บลท่าพระ -ตามหาของดที ่าพระ - มศี นู ยเ์ รียนรูร้ วมเร่อื งดๆี ของ ขอนแก่น -ตามหาสถานทีท่ ่องเทีย่ ว ชาวทา่ พระ ชมุ ชนสาวะถี ท่าพระ -มีตลาดทา่ พระรอ้ ยปเี ปน็ พนื้ ที่ ขอนแก่น -ตามหาบคุ คลส�ำ คญั ของ สรา้ งสรรค์ของชมุ ชน ทา่ พระ -ปลุกจิตส�ำ นึกใหน้ ักเรยี น - โรงเรียนปลอดขยะ ในโรงเรียน อนุรกั ษ์ส่งิ - ชุมชนปลอดขยะ แวดลอ้ ม ช่วยกนั บ�ำ เพญ็ ประโยชน์ และฝกึ ฝนการ เปน็ ผนู้ ำ� เพอื่ พัฒนาชุมชน ของตนเอง โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 25

พืน้ ที่ สง่ิ ทท่ี ำ� ผลทเี่ กิด ชมุ ชนศรีฐาน - สืบค้นประวตั ิชาวศรีฐาน - ได้ประวตั ิชาวศรฐี านทม่ี อี ายุ ขอนแกน่ - คน้ หาสถานทีส่ �ำ คัญ ยาวนานหลายรอ้ ยปี อ�ำ เภอนาดนู - คน้ หาของดีของชาว - ได้สถานที่ส�ำ คัญเพื่อยกระดบั มหาสารคาม ศรฐี าน เป็นแหล่งทอ่ งเที่ยวชุมชน ศรีฐาน ท้ัง บอ่ พญานาค, หอระฆัง, ศาลเจ้าปู่ญาคูจดั , ตน้ คิงคาว, คเู มืองเก่า, หนองบอน, หนองยาว - ไดข้ องดีของชาวศรีฐาน ประกอบด้วย แจ่วบอง, ปลาส้ม, ขนมครก, นวดแผน โบราณ ฯลฯ -คน้ หาปญั หาชาวนาดนู - พบปัญหาชาวนาดนู - หาเร่ืองราวมาแสดงละคร เรอื่ งการคอรร์ ัปชั่น ปลุกใจ - นำ�ละครชาดกเรอื่ งผู้เสยี สละ -ฝกึ การเป็นผูเ้ สยี สละ ไปแสดง จติ สาธารณะ -ปลุกใจ ปลูกฝังใหเ้ ยาวชน - ปลกู ฝังการช่วยเหลือ เป็นผู้เสียสละ จติ สาธารณะ คนอน่ื บำ�เพญ็ ประโยชน์ อำ�เภอเชยี งคาน -ค้นหาประวตั ิชาวเชยี งคาน - สืบสานป่าวัฒนธรรมของปา่ จ.เลย - คน้ หาของดีชมุ ชน ชาวบ้าน ชาวเชยี งคาน - เรียนรวู้ ธิ ีถ่ินทง้ั การจกั สาน, นวดแผนไทย, การแสดงผขี น นำ�้ , การตัดกระดาษสรอ้ ยสา, การทำ�ปราสาทลอยเคราะห์ แบบโบราณ 26 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

เปดิ 5 พ้นื ที่ปฏิบัติการ ปลุกใจเมือง ปลกุ ใจคณุ ปลุกใจเรา Spark U โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 27

“เราต้องการทำ�ให้พื้นที่เศรษฐกิจ เดิมของท่าพระกลับมาคึกคักอีกครั้งหน่ึง หลังจากก่อนหน้านี้เมื่อ 80-90 ปีก่อน ทา่ พระเราเคยเปน็ พนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ เพราะความเจรญิ มากบั รถไฟ แตพ่ อความเจรญิ ของ เมอื งเขา้ มา ชนบทเลก็ ๆ อย่างท่าพระก็ไม่ต่าง จากเมอื งขอนแกน่ ท�ำ ให้ ประชาชนหลง่ั ไหลเขา้ เมอื ง ยา่ นเศรษฐกจิ ของทา่ พระ ที่เคยรุง่ เรอื งก็ ซบเซาลง”

เป็นการร่วมมือของ สสส.และเทศบาลตำ�บลท่าพระ เราต้องการ ทำ�ให้พื้นท่ีเศรษฐกิจเดิมของท่าพระกลับมาคึกคักอีกคร้ังหน่ึง หลังจากก่อนหน้าน้ีเม่ือ 80-90 ปีก่อนท่าพระเราเคยเป็นพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ เพราะความเจรญิ มากบั รถไฟ แตพ่ อความเจริญของเมืองเขา้ มา ชนบทเล็กๆ อย่างท่าพระก็ไม่ต่างจากเมืองขอนแก่น ทำ�ให้ประชาชนหล่ังไหลเข้าเมือง ย่านเศรษฐกจิ ของท่าพระทีเ่ คยรุ่งเรอื งกซ็ บเซาลง โครงการสปาร์คยู ปลุกใจ เมอื งเขา้ มานี้ ท�ำ ใหเ้ ราไดก้ ลบั มาคดิ ทบทวน หาของดขี องชมุ ชนทเ่ี รามี ตามหา รากเหง้าของเราเพ่ือให้เกิดความภาคภูมิใจ อยากจะเอาของดีท่ีมีอยู่ออกมา โชวใ์ หค้ นอืน่ ได้เห็น จึงเกิดโครงการก่อตง้ั ตลาดทา่ พระรอ้ ยปขี ้นึ มา เพอื่ หวงั ฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ ของเราในถนนบ้านเกา่ ซึง่ เปน็ ถนนย่านเศรษฐกิจเดมิ จากนั้นส่ิงท่ีเราสืบค้น ของดีท่ีเรามีอยู่ ได้นำ�มาโชว์ท่ีตลาดร้อยปี แห่งนี้ รวมถึงการค้นหารากเหง้า ความภูมิใจ ประวัติความเป็นมาต่างๆ ก็จะนำ�มาเก็บไว้ในศูนย์เรียนรู้ของชุมชน เพราะโครงการสปาร์คยูน้ี ทำ�ให้ เราได้สอบถามประชาชนในพื้นที่ เพื่อจะเอาสถานีรถไฟเก่าของท่าพระ ทกี่ ารรถไฟแหง่ ประเทศไทยจะรอ้ื ทงิ้ ขอเอากลบั มาเปน็ ของชมุ ชนเพอื่ เปน็ การ บอกเล่าประวัติศาสตร์ของเราให้เด็กเยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้ และจะนำ� เอาขอ้ มลู ท่เี ราสบื ค้นทั้งหมด มาจดั แสดงไวใ้ นศูนยเ์ รยี นรู้แหง่ น้ี เพอ่ื ให้คนที่ สนใจมาเรียนรู้ดว้ ย บอกไดเ้ ลยวา่ ผลสมั ฤทธใ์ิ นโครงการดมี าก ชาวชมุ ชนตอบรบั และพดู ถงึ โครงการน้ีด้วยเสียงชื่นชม ยอมรับว่าโครงการนี้ได้ปลุกใจคนเมืองท่าพระให้ ลุกขน้ึ มาทำ�อะไรเพอ่ื บา้ นตนเองแลว้ พิสุทธิ์ อนตุ รอังกูร นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำ บลท่าพระ โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 29

ปลุกใจชาวท่าพระ ตั้งตลาดท่าพระร้อยปี ขอสถานีรถไฟ ชุมชนท่าพระ เป็นเพียงชุมชนเล็กๆ ก่อนถึงตัวเมืองขอนแก่น ที่ผ่านมาน้อยคนนักจะรู้ว่า ชุมชนแห่งน้ีเคยเป็นแหล่งการค้าที่ ใหญ่ท่ีสุดของอีสานตอนกลาง เป็นชุมทางเชอื่ มต่อไปยงั จังหวดั มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธ์ุ ก่อนที่รถไฟจะผ่านมาถึงเมืองขอนแก่น และเลยต่อ ไปทีห่ นองคาย แตพ่ อความเจรญิ รกุ ทกุ หวั เมอื งใหญ่ ท�ำ ใหท้ า่ พระในวนั นี้ เหลอื เพยี ง ความทรงจ�ำ ในอดตี อนั ยง่ิ ใหญใ่ หร้ ะลกึ ถงึ และสถานรี ถไฟทา่ พระ ทเี่ คยรงุ่ เรอื ง เมอ่ื เกอื บรอ้ ยปีก่อน กลายเป็นเพียงสถานเี กือบรา้ ง ทค่ี นไมค่ ่อยสญั จรไปมา มากนกั ประกอบกบั ในอนาคตอันใกล้นี้ สถานรี ถไฟในต�ำ นานแหง่ นี้จะถูกรื้อ ทงิ้ เพ่ือขยายเสน้ ทางรองรบั รถไฟทางคู่ ทกี่ ำ�ลงั จะทะลวงผ่านแผ่นดนิ อีสาน เหตุน้ีทำ�ให้ชาวชุมชนตลาดท่าพระ ที่อาศัยอยู่บริเวณถนนพาณิชย์เจริญ 1 ต�ำ บลท่าพระ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ เกดิ แนวคดิ ปลุกพลังในตวั ตน ปลกุ พลงั ในชมุ ชน รว่ มกนั เรยี กรอ้ งขออาคารสถานรี ถไฟและสง่ิ กอ่ สรา้ งเดมิ ๆ ท่ีมีอยู่ไว้ให้เด็กและเยาวชนรุ่นลูกหลานได้ศึกษาเรียนรู้ถึงประวัติความ เป็นมาของบ้านเกิดเมืองนอนพวกเขา เพ่ือสร้างความภาคภูมิใจจากอดีต สู่การวางรากฐานในปัจจุบัน เพ่ือวางเป้าหมายความสำ�เร็จในอนาคต จึงได้ จัดประชาคมขอมติจากชุมชน เพ่ือ ขออาคารสถานีรถไฟท่าพระนำ�ไปจัด ทำ�เป็นเป็นศูนย์เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ให้เด็กเยาวชนคนรุ่นใหม่ ผู้สนใจ ท้ังในและนอกพนื้ ท่ไี ด้ศึกษา 30 I Spark U ‘ปลุกใจคณุ ปลุกใจเมืองอีสาน’

นอกจากชาวชมุ ชนทา่ พระยงั มแี นวคดิ จะท�ำ ถนนคนเดนิ ตลาดทา่ พระ ร้อยปี โดยใช้ บริเวณถนนพาณิชย์เจริญ 1 ต้ังอยู่ติดกับถนนมิตรภาพ ยาว ไปทางทศิ ตะวนั ออก จรดสถานรี ถไฟท่าพระ ซงึ่ เปน็ พน้ื ท่ชี ุมชนตลาดด้ังเดิม ท่ีมีอาคารบา้ นเรอื นทรงโบราณ ลกั ษณะทพี่ ักอาศยั เป็นบา้ น 2 ชั้น ชั้นบนมี ชานไมย้ นื่ หนา้ บา้ น รปู แบบการปลกู สรา้ งบา้ นเปน็ แบบเดยี วกนั ตลอดแนวถนน ปัจจุบนั ยงั เป็นพน้ื ท่ีค้าขาย และเป็นชมุ ชนตลาดแม้จะมกี ารปรบั ปรุงบ้านพกั อาศัยบ้าง แต่ยังคงความเป็นอาคารด้ังเดิมไว้ หวังให้เยาวชนรุ่นหลังได้เห็น ซง่ึ ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ ของตลาดสมัยก่อนทเี่ คยเจรญิ รุ่งเมืองในอดตี ๏ สภาพบ้านเรอื นบนถนนพาณิชยเ์ จริญ 1 นอกจากนั้นการมาของรถไฟทางคู่ ผ่านชุมชนท่าพระ ยังส่งผล กระทบกบั ชมุ ชน ทงั้ พื้นทีอ่ อกกำ�ลังกายของชุมชนหายไป ประกอบดว้ ย ลาน ออกกำ�ลังกายแอโรบิค สนามบาสเก็ตบอล ศาลากลางบ้าน สนามตะกร้อ ซึ่งเปน็ พื้นทีส่ ่วนกลางของชมุ ชนส�ำ หรับทำ�กจิ กรรมของหมู่บ้าน ซึ่งเคยใช้เป็น สถานท่ีสำ�หรับการจัดงานเทศกาลงานงิ้วท่าพระเป็นประจำ�ทุกปี ในทุกเย็น กลุ่มเยาวชนในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียง จะมาออกกำ�ลังกายเล่นบาส เก็ตบอล เล่นวอลเล่ย์บอล เล่นตะกร้อ สนามบาสเก็ตบอลขนาดมาตรฐาน ใชง้ บประมาณหลายลา้ นบาทในการกอ่ สรา้ ง แตใ่ ชง้ านไดเ้ พยี ง 1 ปี กต็ อ้ งถูก โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 31

รื้อถอน เน่ืองจากต้องใช้พ้ืนท่ีก่อสร้างเป็นอาคารพาณิชย์ของการทางรถไฟ แห่งประเทศไทย เม่อื เป็นเช่นน้นั ชาวชมุ ชนท่าพระจึงนิง่ เฉยอยู่ไม่ได้ ต้องปลกุ ใจคน ท่าพระ ลกุ ขน้ึ ทำ�อะไรเพ่อื ชุมชนของเรา นัน่ คอื การสปาร์ค เริม่ ต้นด้วย 1. ประชุมประชาคมขอใช้ประโยชน์พ้ืนที่จัดต้ังศูนย์เรียนรู้ตำ�บล ทา่ พระ เพอื่ สรา้ งความตระหนกั รถู้ งึ ความเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ และใหเ้ ครอื ขา่ ย รว่ มกำ�หนดพืน้ ทส่ี รา้ งศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ำ�บลทา่ พระ บน 2 ทางเลอื ก ประกอบ ด้วย ทางเลือกท่ี 1 ต้ังบนที่ธรณีสงฆ์ หากมีมติคณะกรรมการวัดอนุญาต ทางเลือกที่ 2 คือ ใช้พื้นที่สาธารณประโยชน์ หมู่ที่ 18 บ้านหนองบัวดีหมี เพ่ือจัดต้งั เปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ตำ�บลท่าพระ บนพ้นื ทีป่ ระมาณ 18 ไร่ ๏ เวทีประชาคม ระดมความคดิ เห็นคนท่าพระ ตอ้ งท�ำ อะไรบางอยา่ งเพื่อชุมชนของตนเอง 2. เวทีสร้างข้อตกลงร่วมในการอนุรักษ์อาคาร บ้านเก่าร้อยปีกับ ชมุ ชน เพอื่ ให้ชมุ ชนมีอาคารบา้ นเรอื นทรงเดมิ ให้เดก็ เยาวชนได้ศกึ ษาเรียนรู้ กำ�หนดข้อตกลงร่วมกันอนุรักษ์บ้านเดิม ร่วมสร้างตลาดวัฒนธรรมพ้ืนถิ่น ดั้งเดิม ทา่ พระ ร่วมกันร่วมสร้างตลาดปลอดถุงพลาสตกิ รณรงค์ใช้ถุงผา้ เพื่อ ซอื้ สนิ คา้ บนตลาดวฒั นธรรมชาวตำ�บลท่าพระ 32 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

๏ เวทีสร้างข้อตกลงร่วมกันของชาวทา่ พระ จะอนรุ ักษบ์ า้ นเกา่ 3. เปดิ ตลาดทา่ พระรอ้ ยปี วถิ ตี ลาดวฒั นธรรมดง้ั เดมิ ของชาวทา่ พระ ๏ กจิ กรรมระดมทนุ เพอ่ื เป็น ค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายอาคาร สถานรี ถไฟ เครอื่ งจกั ร บา้ นพกั พรอ้ ม หวั รถจกั ร เพอ่ื จดั ตง้ั เป็นศนู ยก์ ารเรยี น รตู้ �ำ บลทา่ พระ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มให้ เกดิ จากภายในใจของสมาชกิ ในชมุ ชน ๏ กจิ กรรมอบรมเยาวชนในการเกบ็ ขอ้ มลู ชมุ ชน ประวตั ชิ มุ ชน ดว้ ยการสมั ภาษณ์ คนท�ำ เฒา่ คนแก่ สรา้ งเครอื ขา่ ยเยาวชนรว่ ม ตระหนกั รู้ประวัตชิ ุมชนตลาดท่าพระรอ้ ยปี และรว่ มบอกเลา่ ประวตั ติ ลาดทา่ พระรอ้ ยปี อย่างไม่รู้จบ โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 33

ผลสมั ฤทธิ์จากกจิ กรรม โครงการจดั ตงั้ ตลาดทา่ พระรอ้ ยปแี ละตงั้ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ �ำ บลทา่ พระ ภายใต้แนวคดิ Spark U ร่วมปลกุ ชมุ ชน เปล่ียนเมือง สรา้ งเมอื งทนี่ า่ อยู่ ใน วิถีชีวิตด้ังเดิมของชุมชน ได้ตอบสนองความต้องการของชุมชน สร้างการมี ส่วนร่วมในทุกช่วงวัย กำ�หนดแนวทางร่วมกันเพื่อทางออกที่ดี ให้ชุมชนได้ คิด ออกแบบ การพัฒนาพ้นื ท่ีได้ด้วยตนเอง ผลสัมฤทธิ์จากกิจกรรม ท�ำ ให้ 1. เดก็ และเยาวชนในพน้ื ท่ี ตระหนกั รถู้ งึ ผลกระทบความเปลยี่ นแปลง จากสรา้ งรถไฟทางคู่ มสี ่วนร่วมสบื ค้นประวตั วิ ถิ ีความเปน็ อยขู่ องชาวท่าพระ ดั้งเดิม ซึมซับ วิถีชีวิต ชาวท่าพระดั้งเดิม มีส่วนร่วมรวบรวมและเผยแพร่ ประวัติตลาดทา่ พระและบอกเลา่ เร่อื งราวประวัตทิ า่ พระรอ้ ยปีอย่างไมร่ จู้ บ 2. เด็กและเยาวชนได้ฝึกฝนทักษะการตั้งคำ�ถาม จุดประเด็น สำ�คัญ และเรียบเรียงข้อมูลท่ีได้มาให้ถูกต้องตามขั้นตอน ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน บางอย่างไม่มีสอนในห้องเรียน หากแต่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม ทม่ี พี เี่ ล้ียงแต่ละกลุม่ ให้ความรู้ 34 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

3. เดก็ และเยาวชนมมี ุมมองสรา้ งจุดดึงดดู ใจใหเ้ กดิ ข้นึ แก่นักทอ่ ง เที่ยว โดยเด็กและเยาวชนมองว่าพื้นที่โซเชียลมีเดียเป็นช่องทางสำ�คัญท่ีจะ เป็นอีกแรงสำ�คัญ หากนำ�มาใช้ควบคู่กับการประชาสัมพันธ์ในช่องทางหลัก จะสามารถผลกั ดนั ใหต้ ลาดชมุ ชนทา่ พระ เปน็ ที่ร้จู ักของคนทวั่ ไปได้ 4. ความคาดหวงั อนาคตเกดิ แลนดม์ ารค์ แหง่ ใหมข่ องจงั หวดั ขอนแกน่ ด้านทิศตะวันออกของสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลท่าพระ โดยนำ�สถานีรถไฟ ทา่ พระ บา้ นพักของนายสถานีรถไฟ พรอ้ มหวั รถจกั ร ตู้คอนเทนเนอร์รถไฟ จัดทำ�เป็นศนู ย์การเรียนรู้ เพือ่ ชาวท่าพระ และผสู้ นใจ โดย เครอื ขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 35

ท่าพระ บา้ นเก่า...ตลาดรอ้ ยปี และ...ความทรงจ�ำ สองฟากฝง่ั ของถนนพาณชิ ยเ์ จรญิ ทเี่ ชอื่ มจากถนนมติ รภาพ เขา้ ไป สสู่ ถานรี ถไฟทา่ พระ เปน็ ทต่ี ง้ั ของบา้ นเรอื น รา้ นรวง ซงึ่ เรยี งราย จนถึงปลายถนน พินิจจากห้องแถวบ้านไม้ท่ีมีอายุเก่าแก่ราวหนึ่งช่ัวอายุคน อาจดเู หมอื นวา่ ชมุ ชนแหง่ นจี้ ะถกู ปกคลมุ ดว้ ยความเงยี บสงบ แตภ่ ายใตค้ วาม เงยี บและเรียบงา่ ย บ้านไม้ ชายคาสังกะสเี ก่า ๆ บานประตูเหล็กยดื ประตูไม้ บานเฟย้ี ม มเี สนห่ ์ทถ่ี ูกซกุ ซ่อนไว้ เป็นเรอื่ งเล่า เรอื่ งราว ประวัตศิ าสตร์ ความ ทรงจ�ำ ทีม่ อี ายกุ ว่าร้อยปี รวมถงึ การก่อตง้ั ตลาดทา่ พระ 100 ปีท่มี ีการร้อื ฟื้น เมือ่ ไม่นานมาน้ี ความคกึ คักและมนตร์เสนห่ ์ของทา่ พระที่หลบั ใหลพร้อมจะ ฟื้นตนื่ ทกุ ขณะ เพียงทำ�ความรู้จกั และเดนิ ทางมาเยอื นสกั ครั้งหนงึ่ ... 36 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ทา่ พระ : อดีตชุมทางการค้าภาคอีสาน หากกลา่ วถงึ เสน้ ทางการคา้ ในภาคอสี าน แนน่ อนวา่ “จงั หวดั ขอนแกน่ ” เปน็ อกี หนง่ึ จดุ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นเศรษฐกจิ ทสี่ ำ�คญั ของภมู ภิ าค เพราะนกั ลงทนุ หนว่ ยงาน องคก์ รทง้ั ภาครฐั และเอกชน ตา่ งกท็ มุ่ งบประมาณเพอ่ื พฒั นาเมอื ง ดอกคูณเสียงแคนแห่งน้ี ไม่ใช่แค่การรับรองประชากรในจังหวัดที่มีจำ�นวน มากข้ึน แต่ยังรองรับนักท่องเท่ียวชาวไทยและต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่อง เที่ยวเพื่อนบา้ นในอาเซยี นท่ีเดินทางเข้ามาในประเทศไทยโดยมีขอนแก่นเป็น จุดหมายปลายทาง และเป็นเมืองที่สัญจรผ่านไปยังจังหวัดอื่น การค้าและ เศรษฐกจิ ในขอนแกน่ จงึ เตบิ โตขน้ึ เรอ่ื ยๆ การท�ำ มาคา้ ขายทค่ี อ่ นขา้ งคกึ คกั ใน ขอนแกน่ ไมไ่ ดเ้ พง่ิ เกดิ ขนึ้ หลงั จากการเปดิ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น แตเ่ กดิ ขน้ึ เมอ่ื นานมาแล้วใน “ท่าพระ” หนึ่งใน 18 ตำ�บลของอำ�เภอเมอื งขอนแก่น ซ่ึงเรียกได้ว่าเป็น “ชุมทางการค้าในอดีต” ของภาคอีสาน เสียง ฉึกกะฉัก... ฉกึ กะฉกั ...ของรถไฟดงั ขนึ้ ครงั้ แรกในชมุ ชนแหง่ น้ี ราวปี พ.ศ. 2474 ซงึ่ เคลอ่ื น มาถงึ พรอ้ มกบั ความเปลย่ี นแปลง จากชมุ ชนเลก็ ๆ ทมี่ ผี คู้ นอาศยั อยเู่ พยี ง 2-3 ครอบครัว เริ่มมีจำ�นวนมากขึ้น ซ่ึงไม่ได้มีแค่คนไทย แต่ยังมีคนจีนแผ่นดิน ใหญ่ที่หอบเสอ่ื ผนื หมอนใบ มาตั้งหลักปักฐานบนแผ่นดนิ นี้ เกิดเป็นชมุ ชนที่ มขี นาดใหญข่ นึ้ มตี ลาดสถานรี ถไฟทพ่ี อ่ คา้ แมข่ ายไดน้ ำ�สนิ คา้ มาจำ�หนา่ ย แม้ จะเปน็ “ตลาดแบกะดนิ ” หรอื ตลาดท่ีขายของบนพืน้ แตต่ ลาดแหง่ เดียวกนั นี้ก็นับว่าเป็นศูนย์กลางทางการค้า เพราะนอกจากชาวท่าพระแล้วยังมีชาว บ้านจากอำ�เภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม และใกล้เคียง บ้างเดินเท้า บา้ งนัง่ เกวียนเพ่อื นำ� “ของป่า” มาขายให้คนทา่ พระและพอ่ ค้าคนกลางท่ีจะ นำ�สินค้าเหล่านั้นไปขายในกรุงเทพมหานคร รายได้จากการขายของป่าก็นำ� มาซื้อข้าวของกลับไปขายต่อให้คนในหมู่บ้านซึ่งอยู่ห่างไกลออกไป วิธีน้ีช่วย ใหช้ าวโกสมุ พสิ ยั และใกลเ้ คียงไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปไกลถงึ ในตวั จงั หวดั ขอนแก่น เพราะมแี มน่ ้ำ�ชขี วางกน้ั การสัญจรคอ่ นข้างล�ำ บาก ส�ำ หรบั “ของป่า” ท่ีว่านน้ั ชาวทา่ พระผ้เู ปน็ บุคคลอาวุโสไดบ้ อกเล่าใหฟ้ งั วา่ ของป่าเปน็ สินคา้ ชาวบ้าน โดย เครอื ขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 37

นิยมขาย ไดแ้ ก่ มะขามเปียก คร่งั น่นุ ปอ ข้าว เศรษฐกจิ ท่าพระในขณะน้ันจงึ คกึ คกั มาก ท�ำ ใหบ้ รเิ วณใกลเ้ คยี งสถานรี ถไฟมกี ารปลกู สรา้ งบา้ นเรอื นมากขน้ึ ปี พ.ศ. 2490 เป็นต้นมา ภายหลังจากการก่อสร้างสถานีรถไฟ และการคา้ ขายในตลาดแบกะดนิ ท�ำ ใหป้ ระชากรมจี �ำ นวนเพมิ่ ขนึ้ ชว่ งเวลา เดียวกันนี้ มีการสร้างโรงสีข้าว ไทยอีสาน ขึ้น แม้ท่ีตั้งจะเป็นเพียงตำ�บล หรือชุมชน แต่การท่ีมีโรงสีข้าวก็สามารถยืนยันถึงการเติบโตสุดขีดของ การคา้ ขายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การมโี รงสขี า้ วขนาดใหญ่ตอ้ งมกี ารวา่ จา้ งแรงงาน มีส่วนให้เกิดการก่อสร้างโรงฝิ่นอีกด้วย ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวฝ่ินยังไม่ใช่ พืชต้องห้าม แต่ฝ่ินเป็นสิ่งที่ช่วยให้คนงานรับจ้างหรือคนท่ีทำ�งานหนักมี ก�ำ ลงั วงั ชาและผอ่ นคลายจากการกร�ำ งานหนกั คนในพนื้ ทจ่ี งึ พลอยมรี ายได้ เสริมจากอาชพี ตฝี นิ่ กระทง่ั ปี พ.ศ.2502 รฐั บาลไดป้ ระกาศใหฝ้ น่ิ กลายเปน็ สง่ิ เสพตดิ หา้ ม มกี ารเสพและซ้อื ขาย โรงฝิ่นจึงปิดตัวลง พน้ื ท่รี อบๆ สถานรี ถไฟทีเ่ ดมิ ทีนน้ั เปน็ ป่าและใชเ้ ปน็ พน้ื ทส่ี ำ�หรบั เลย้ี งม้ากป็ รับเปล่ียนเป็นเส้นทางสัญจร พื้นที่ ดงั กลา่ วเปน็ กรรมสทิ ธข์ิ อง ก�ำ นนั ประทกั ษ์ จนั ทวงษ์ ภายหลงั มกี ารแบง่ ขาย ให้เช่า และบริจาคเน้ือที่จนกลายเป็นถนนสายเล็กๆ (ถนนพาณิชย์เจริญใน ปจั จบุ ัน) แม้จะเป็นเพียงถนนลกู รงั แต่ก็ชว่ ยให้การค้าขายสะดวกสบายมาก ข้ึน มีการตั้งบ้านเรือนและร้านค้าในย่านดังกล่าว ขาประจำ�และขาจรจาก พนื้ ทีใ่ กลเ้ คียงจึงไม่ต้องล�ำ บากเข้าไปในตัวเมอื ง เพราะขณะนนั้ การคมนาคม ลำ�บาก ยงั ไม่มีรถประจำ�ทาง การเดนิ ทางท่ชี าวบา้ นนยิ มจงึ เปน็ การโดยสาร เกวยี นซ่ึงลำ�บากมากในหนา้ ฝน ถนนมิตรภาพ ซ่ึงเป็นถนนสายหลักอีกสายหนึ่งของภูมิภาค ได้เร่ิม สร้างเม่ือปี พ.ศ.2505 ในแบบ 2 ช่องทางจราจร ก่อนจะแล้วเสร็จและเปิด ใช้อย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2507 ซึ่งถนนมิตรภาพได้เช่ือมต่อกับถนน พาณชิ ยเ์ จรญิ สง่ ผลใหก้ ารสญั จรไปมาสะดวกสบายขน้ึ ไมไ่ กลจากสถานรี ถไฟ จงึ มที า่ รถ รบั - สง่ ผโู้ ดยสาร ซงึ่ รถเจา้ แรกในทา่ พระกค็ อื รถของบรษิ ทั พรนยิ ม 38 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ตำ�บลท่าพระจึงเป็นตำ�บลท่ีมีท่ารถ ส่วนบ้านเรือนก็เพิ่มมากข้ึน ท้ังเจ้าถิ่น และคนตา่ งถนิ่ รวมถงึ บรรดาพอ่ คา้ ลกู คา้ กม็ าลงหลกั ปกั ฐานทที่ า่ พระแหง่ นี้ การปลูกสร้างบ้านเรือนมีการขยับขยายจากบริเวณสถานีรถไฟไปยังถนน พาณชิ ยเ์ จรญิ การกอ่ สรา้ งบา้ นนน้ั ไมม่ รี ปู แบบหรอื แปลนบา้ นทเ่ี ปน็ แบบแผน ตายตวั จากสว่ นกลาง หากใครสะดวกสรา้ งแบบใดก็สรา้ งตามทนุ ทรัพยท์ ี่มี ผู้ เฒา่ ผแู้ กเ่ ลา่ วา่ การสรา้ งนน้ั กจ็ ะสรา้ งคลา้ ยๆ กนั คอื สรา้ งบา้ นไมช้ น้ั เดยี ว เหน็ บา้ นไหนใชว้ ัสดุอะไร สร้างแบบไหนสวยก็สร้างตามๆ กัน ช่วงเวลาเดียวกนั น้ี เป็นช่วงเวลาทีช่ าวท่าพระนยิ มทอเสอื่ กก กจิ การทอเสอื่ เตบิ โตขน้ึ เรอื่ ยๆ ถงึ ขนาดวา่ มีโรงทอเสอ่ื เพราะตน้ กก ซง่ึ เปน็ วสั ดหุ ลกั นน้ั มจี ำ�นวนมากในลำ�น�้ำ ชี ซงึ่ เปน็ แหลง่ น�้ำ ส�ำ คญั ของชาวทา่ พระและตามคคู ลองทน่ี �้ำ ไหลผา่ น คณุ อรพนิ ท์ จารุจันทร์ ข้าราชการบ�ำ นาญ ชาวทา่ พระ ไดเ้ ล่าเพ่มิ เติมวา่ การทอเสอ่ื ของ ชาวทา่ พระน้นั เปน็ สินค้าสง่ ออก โดยมีพอ่ ค้ารับซื้อแล้วส่งขึ้นรถไฟ สมยั กอ่ น น้ันราคาผนื ละ 5-6 บาทเท่านนั้ สิบปีให้หลงั ในราวปี พ.ศ. 2514 สาธารณูปโภคท่สี ำ�คญั คอื ไฟฟา้ และนำ้�ประปา เขา้ ถงึ พนื้ ท่ีท่าพระ หลังจากท่บี า้ นและจ�ำ นวนครวั เรอื นมมี าก ข้ึนทุกๆ ปี โดยเฉพาะถนนพาณิชย์เจริญ ที่มีร้านขายสินค้าเบ็ดเตล็ดหรือ โชห่วย ร้านน้ำ�แข็ง รา้ นไก่ย่าง หรือแม้แต่ร้านจักรยานซึง่ เปน็ รา้ นเดียวในเขต ท่าพระและอำ�เภอโกสุมพิสยั ความสะดวกสบายจงึ มาพร้อมกับความรุง่ เรือง ของการคา้ ขาย ทา่ พระกลายเปน็ ชมุ ทางการคา้ ท่ีต้อนรับผู้คนจากท่วั สารทศิ ทีต่ ้องการประหยัดเวลาและเงินจากการเขา้ ไปในตวั เมือง บรรยากาศการค้าและความเป็นอยู่ของคนท่าพระเป็นไปอย่างต่อ เนือ่ ง ตลาดทอ่ี ยใู่ กลส้ ถานรี ถไฟ และรา้ นค้าใกล้เคยี งมีลูกค้า พ่อค้าคนกลาง หมนุ เวยี นมาจับจ่ายใชส้ อย จนกระท่งั ปี พ.ศ. 2520 เกิดเหตุไฟไหมบ้ า้ นไม้ ชั้นเดียว ซึ่งเป็นห้องแถวใกล้สถานีรถไฟ เหตุการณ์ดังกล่าวทำ�ให้หลาย ครอบครัวต้องย้ายบ้าน ปลูกบ้านใหม่ ส่วนใหญ่ขยับขยายมาอยู่ในถนน พาณิชย์เจริญ บ้านเก่าที่อยู่คู่ท่าพระมาต้ังแต่แรกเร่ิมจึงเหลือเพียงไม่กี่หลัง ในปจั จุบนั โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 39

ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 มีการสร้างโรงภาพยนตร์ในตำ�บลท่าพระ โดยใช้ช่ือว่า โรงภาพภาพยนตร์ “เพชรเกษม” เป็นโรงภาพยนตร์ท่ีใช้เสียง คนพากย์ ชาวท่าพระและพน้ื ท่ีใกล้เคียงตา่ งนยิ มซอ้ื ตัว๋ เข้าชม ในแต่ละวนั จะ มกี ารฉายภาพยนตรเ์ พยี งหนงึ่ รอบเท่านัน้ คอื เวลา 19.00 น. ซ่งึ ภาพยนตร์ ทม่ี ีช่อื เสยี งในขณะน้ันกค็ ือภาพยนตร์เร่อื ง โดราเอมอน อนิ ทรีแดง เป็นต้น ๏ โรงหนงั แห่งแรกของท่าพระ คอื โรงหนังเพชรเกษม ระยะเวลากวา่ 40-50 ปยี อ้ นหลงั จาก พศ. 2525มกี ารเปลยี่ นแปลง เกดิ ขน้ึ กบั ชมุ ชนแหง่ น้ี โดยเรมิ่ จากการคมนาคมคอื รถไฟ ทไ่ี ดน้ �ำ พาผคู้ นและ การปลกู สรา้ งบา้ นเรอื นมายงั ทา่ พระ ตามมาดว้ ยการพฒั นาในดา้ นอนื่ ๆ โดย เฉพาะสาธารณูปโภค ไดแ้ ก่ ถนน ไฟฟา้ น้�ำ ประปา องค์ประกอบเหลา่ น้ชี ่วย หนุนให้ท่าพระกลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าให้กับพื้นที่รอบนอกตัวเมือง ขอนแกน่ ชาวทา่ พระ ชาวโกสมุ พสิ ยั หรอื ใกลเ้ คยี งจงึ สะดวกสบายมากขนึ้ ทงั้ การซือ้ และการขาย จากแรกเร่มิ ท่มี ีตลาดแบกะดนิ ขายของปา่ เช่น นุ่น ปอ ครง่ั มะขามเปยี ก กม็ ีการขยับขยายสู่การคา้ ขายสนิ คา้ อุปโภค บริโภค และ งานบริการ มีร้านโชห่วย ร้านซ่อมจักรยาน โรงสี โรงทอเส่ือ โรงภาพยนตร์ รองรับความคึกคักรุ่งเรือง ช่วงเวลาดังกล่าวนี้เป็น “ยุคแรก” ของตำ�บล ท่าพระก็ว่าได้ เพราะระยะเวลาประมาณ 2 ปีให้หลัง คอื พ.ศ. 2527รฐั บาล 40 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ไดส้ ง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนปลกู พชื เศรษฐกจิ ในขณะนนั้ ไดแ้ ก่ มนั ส�ำ ปะหลงั ท�ำ ให้ กิจการดงั้ เดมิ อยา่ งการทอเสือ่ การผลิตกระสอบปา่ น การทำ�ปอ ต้องทยอย ปิดตัวลง เกิดโรงงานอดั มนั สำ�ปะหลงั ข้นึ มาแทน มีลานมันขนาดใหญ่เกดิ ขน้ึ ในต�ำ บลถงึ สองแหง่ โรงงานมนั ส�ำ ปะหลงั อดั เมด็ และโรงงานมนั ส�ำ ปะหลงั อดั เสน้ ตอ้ งปดิ ตวั ลงในปี พ.ศ. 2530 เนอื่ งจากระยะเวลา 3 ปี ทเี่ ปดิ โรงงานนนั้ กระบวนการ แปรรปู มนั ส�ำ ปะหลงั ไดส้ ง่ ผลกระทบดา้ นมลภาวะตอ่ ชมุ ชน ท�ำ ใหค้ นในชมุ ชน มีปัญหาเกีย่ วกบั ระบบทางเดนิ หายใจ จากฝุ่นละอองท่ีถูกปลอ่ ยจากโรงงาน นอกจากนย้ี งั มปี ญั หาเกย่ี วกบั กลน่ิ ไมพ่ งึ ประสงคท์ เ่ี กดิ จากน้ำ�เนา่ เสยี ทโี่ รงงาน ปลอ่ ยออกมา และการตากมันสำ�ปะหลังในลานมนั จาก พ.ศ. 2474 ถงึ พ.ศ. 2530 รวมระยะเวลากว่า 34 ปี จากวันที่ ทา่ พระมสี ถานรี ถไฟ ไดน้ �ำ มาซง่ึ การพฒั นา โดยเฉพาะการพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ และการค้า จากพ้ืนที่ที่มีแต่ผืนป่าก็ปรับเปลี่ยนเป็นชุมชนท่ีมีผู้คนมากมาย ซ่ึงเดินทางมาจากหลายท้องถ่ิน มารวมตัวกันเพื่อซื้อขายสินค้า ซ่ึงสินค้าก็ เปลย่ี นไปตามยคุ สมยั และความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค จากยคุ ของปา่ ทต่ี ลาด ตอ้ งการ ครงั่ นนุ่ ปอ และการผลติ เสอ่ื กก กเ็ ขา้ สยู่ คุ ทป่ี ลกู และผลติ พชื เศรษฐกจิ อยา่ งมนั สำ�ปะหลงั ไม่วา่ ยคุ ใด ทา่ พระก็เป็น “ศนู ยก์ ลางด้านการค้า” หรือ โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 41

“ชุมทางการคา้ ”มาโดยตลอด ด้วยปจั จยั ด้านการคมนาคมที่ถนนหนทางหรอื ยานพาหนะเป็นอุปสรรคในการเดินทางเข้าไปในตัวเมืองขอนแก่น คนใน ท่าพระหรอื คนในพ้ืนที่ใกลเ้ คียง เช่น ชาวอ�ำ เภอโกสุมพิสัย จงึ เลอื กเดนิ ทาง มายังท่าพระเพราะใกลก้ วา่ สะดวกกว่า กอปรกับการมสี ถานีรถไฟกช็ ว่ ยให้ สินค้าถูกลำ�เลียงไปขายในตลาดขนาดใหญ่อย่างกรุงเทพมหานครได้ โดยมี พ่อค้าคนกลางเป็นผ้รู ับซื้อและจัดส่งน่นั เอง นอกจากนี้ ส่ิงท่ียืนยันถึงความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของท่าพระ จะเห็นได้จากการสร้างโรงสีข้าวขนาดใหญ่และโรงภาพยนตร์ เพราะโดย ปกติแล้วโรงสีหรือโรงภาพยนตร์มักจะสร้างในตัวจังหวัดซึ่งกำ�ลังซ้ือจำ�นวน มาก จงึ ชดั เจนแล้ววา่ ท่าพระนัน้ เปน็ ชมุ ทางการค้าขนาดใหญอ่ กี แหง่ หนง่ึ ของ ภูมภิ าค แต่เรือ่ งราวเหลา่ นถ้ี ูกบนั ทึกแล้วเลา่ ขานในฐานะท่เี ปน็ อดตี และร่อง รอยความร่งุ เรอื ง เพราะทศวรรษตอ่ มา หรอื สิบปหี ลงั จาก พ.ศ.2530 ได้เกดิ การเปลย่ี นแปลงคร้ังใหญ่ในต�ำ บลแห่งนี้... ทา่ พระ : วิถีคน | วถิ ชี วี ิต ช่วงเวลาในอดีต เป็นช่วงเวลาที่ใครต่อใครต่างก็กล่าวกันว่าเป็น ส่ิงงดงามเสมอ แต่ช่วงเวลาเหล่านั้นก็ไมส่ ามารถยอ้ นกลบั คืนมาได้ ทว่าการ ไดร้ ูเ้ ห็นผ่านร่องรอยการบนั ทกึ ภาพถ่าย หรอื การบอกเล่าจากความทรงจำ� ของบุคคลผู้ผ่านเหตุการณ์ต่างๆ ในวันคืนเก่าๆ ย่อมทำ�ให้วันวานเหล่าน้ัน กลับมาแจม่ ชัดไดอ้ กี ครัง้ ดังเช่นเร่อื งราวทเ่ี กดิ ขึน้ ในชุมชนทา่ พระ ซึ่งเดินทาง ผ่านกาลเวลามาหลายสิบปกี ไ็ ดถ้ ูกเกบ็ บันทึกในความทรงจ�ำ และวถิ ชี วี ิตของ ชาวท่าพระ สืบต่อ ถ่ายทอดให้แก่กันจากรุ่นสู่รุ่น ถึงแม้ว่าการเปลี่ยนแปลง จะมาเยอื นชุมชนเกา่ แก่แหง่ นี้ แต่วิถคี น วิถีชวี ติ วถิ ดี งั้ เดมิ กลับยง่ิ ทวมี ีค่ามาก ขน้ึ เม่อื เวลาผ่านไป เพราะหาไดย้ ากยิง่ นกั ในปจั จบุ ัน 42 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ห้องแถว บ้านไม้ ชายคาเกา่ บา้ นไมส้ องชน้ั หอ้ งแถวเกา่ ทที่ อดยาวไปตามถนนเจรญิ พาณชิ ย์ และ บา้ นเกา่ ชนั้ เดยี วทอ่ี ยไู่ มไ่ กลจากสถานรี ถไฟ เปน็ อกี หนงึ่ แลนดม์ ารก์ หรอื สถาน ท่ีส�ำ คญั ของต�ำ บลทา่ พระ เพราะถนนพาณชิ ยเ์ จริญกลายเป็นสถานทีเ่ พยี งไม่ กี่แห่งในขอนแก่น ที่ยังคงรักษารูปแบบการสร้างบ้านเรือนในสมัยก่อนไว้ได้ ทา่ มกลางบา้ นเรอื นหลายหลงั หรอื หลายต�ำ บลทป่ี รบั เปลย่ี นสถาปตั ยกรรมไป ตามยคุ สมยั คณุ พเิ ชฐ อนตุ รองั กรู เปน็ ผอู้ ยกู่ บั ทา่ พระมาตงั้ แตก่ �ำ เนดิ กระทง่ั เติบโตและสร้างครอบครวั แม้จะมีทายาทกข็ อลงหลกั ปักฐาน ณ ที่แห่งนดี้ ว้ ย ความรกั ในบา้ นเกดิ ไดเ้ ลา่ ถงึ การสรา้ งบา้ นไมใ้ นชมุ ชนใหฟ้ งั ดว้ ยน�ำ้ เสยี งทเี่ ปยี่ ม สุขวา่ บ้านไมส้ องชนั้ ที่เห็นในปจั จุบนั นมี้ ีอายมุ ากกว่า 80 ปแี ล้ว บางหลังท่ี ยงั ไม่สญู หายไปกบั กองเพลงิ จากเหตุการณ์ไฟไหมเ้ ม่ือปี พ.ศ. 2520 ก็มีอายุ ถึง 100 ปี ยงั คงมใี หเ้ ห็นใกล้ๆ สถานีรถไฟ ซึง่ รูปแบบในการสรา้ งนนั้ จะไม่มี แบบแผนตายตัวว่าจะต้องสร้างแบบใด แต่สร้างตามความนิยมของยุคสมัย จำ�นวนเงนิ และความชอบใจ แตท่ ร่ี ูปแบบมคี วามคลา้ ยคลงึ กัน เพราะในอดีต นยิ มสร้างอาคารเรือนไม้ ฝาเฟี้ยม ภายหลงั กส็ รา้ ง การตอ่ เติม การปรบั ปรุง ให้เข้ากับประโยชน์ใช้สอยและความแข็งแรง คือมีการปรับปรุงพ้ืนบ้านโดย โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 43

ใชป้ ูน เปลย่ี นฝาเฟ้ียมเป็นประตูเหล็กยืดบา้ ง แตล่ ักษณะของหลังคา ระเบียง และฝาเรือน ยังคงมีกลิ่นอายของบ้านไม้ ตึกแถวเก่าๆ ในอดีต ลักษณะดัง กล่าวนี้สันนิษฐานได้ว่าเป็นอิทธิพลท่ีได้รับมาจากพ่อค้าชาวจีนท่ีอพยพมา ตงั้ ถิ่นฐานในภาคอสี าน ซง่ึ นอกจากทา่ พระแลว้ สถาปัตยกรรมเช่นนีพ้ บไดใ้ น พืน้ ท่ีตา่ งๆ ของภาคอสี าน (วชั ราภรณ์ เครอื พนั ธ์, 2555) คุณพเิ ชฐ อนุตร อังกรู ได้บอกอีกวา่ รสู้ ึกภูมใิ จ และไม่คิดจะยา้ ยไปที่ไหนอกี ต้ังใจจะอนุรักษ์ บ้านท่ที า่ พระน้ีไวใ้ ห้กบั ลูกหลานตอ่ ไป ๏ พิเชฐ อนตุ รอังกรู เจ้าของบ้านไม้เก่า ในชุมชนแห่งนี้ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นเจ้าของเดิม ยังไม่เปล่ียนผ่านไปยังเจ้าของใหม่ แม้ว่าทายาทของหลายครอบครัวจะแยก ย้ายกันไปในเมืองใหญ่ แต่เม่ือมีโครงการท่ีจะฟ้ืนฟูชุมชนแห่งน้ี ทายาทของ ชาวทา่ พระก็ดพู รอ้ มใจจะกลบั มา อนุรักษ์ พลกิ ฟน้ื ความเก่าแก่ของห้องแถว เหลา่ น้ีใหก้ ลายเป็นจุดเดน่ ทา่ มกลางการเติบโตของสังคม คนเก่าคนแกข่ อง ชาวท่าพระเองกพ็ ร้อมสนับสนนุ และชนื่ ชมไปกับแนวคิดนี้ สายตาท่ีมองเหน็ สิ่งต่างๆ มากว่าชั่วอายุคนก็ยังคงคอยมองสายน้ำ�ของการเปลี่ยนแปลงที่จะ เช่ียวไหลในตำ�บลท่าพระอีกครั้ง และแน่นอนว่าย่อมเป็นสายน้ำ�ท่ีจะทำ�ให้ ชาวทา่ พระไดช้ ุ่มเย็น 44 I Spark U ‘ปลุกใจคณุ ปลุกใจเมืองอีสาน’

การสร้างบ้านเรือนของชาวท่าพระจึงสามารถสะท้อนถึงวิถีชีวิต ของผู้คน รวมถึงสภาวะการณ์ในอดีต ซึ่งมีความเรียบง่ายไม่ซับซ้อน เน้นท่ี ประโยชนใ์ ช้สอย ปรับเปลย่ี นรูปแบบบา้ นเรือนไปตามความจำ�เปน็ นอกจาก นย้ี งั สะทอ้ นใหเ้ หน็ อทิ ธพิ ล ความนยิ มดา้ นสถาปตั ยกรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ในสมยั กอ่ น และยงั ท�ำ ใหเ้ หน็ หวั ใจของคนรนุ่ เกา่ และรนุ่ ใหมจ่ ากคามตง้ั ใจทจี่ ะอนรุ กั ษห์ อ้ ง แถว บ้านไม้ในชมุ ชนท่าพระ เทศกาล ประเพณีในทา่ พระ “งานงิ้ว” เป็นอีกหน่ึงเทศกาลสำ�คัญๆ ที่หลายคนช่ืนชอบ เพราะมี มหรสพ ความรนื่ เรงิ และการออกรา้ นของพอ่ คา้ แมข่ าย ใหช้ าวบา้ นไดจ้ บั จา่ ย ใช้สอย หลายจังหวดั ในภาคอสี าน เชน่ มหาสารคาม นครราชสีมา กม็ กี ารจัด งานนี้ข้ึนทุกปจี นเปน็ ประเพณี การจัดงานงวิ้ มักจะจัดในพื้นทที่ มี่ ีชาวจีน หรอื คนไทยเช้อื สายจนี จ�ำ นวนมาก ซ่ึงไมใ่ ช่ทกุ อ�ำ เภอหรือจงั หวัดที่มีการจัดงานน้ี แตก่ ลบั มกี ารจดั งานนข้ี นึ้ ทา่ พระ แมว้ า่ ทา่ พระจะเปน็ เพยี งต�ำ บลหนง่ึ ในอ�ำ เภอ เมอื ง จังหวัดขอนแก่นเท่าน้ัน เพราะอะไรนะ่ หรือ งานงวิ้ เปน็ งานทช่ี าวจนี หรอื ชาวไทยเชอื้ สายจนี จดั ขนึ้ เพอื่ ไหวบ้ รรพบรุ ษุ ในงานนอกจากการไหว้บรรพบุรุษตามธรรมเนียมผ่านพิธีกรรม และ เคร่อื งบชู าต่างๆ แล้ว กจ็ ะจดั ใหม้ ีมหรสพสมโภช ได้แก่ งวิ้ ภาพยนตร์กลาง แปลง ถ้าในภาคอีสานบางพื้นท่ีอาจจะมีหมอลำ� ซ่ึงงานงิ้วจะเป็นเทศกาล ท่ีได้รับความสนใจจากชาวชุมชนเป็นอย่างมาก มีการจำ�หน่ายขายสินค้า อาหารกนั อยา่ งคกึ คกั งานงว้ิ จะเกดิ ขน้ึ ไดต้ อ้ งมคี ณะกรรมการและจ�ำ นวนของ ผู้สนับสนุนให้เกิดการจัดงานข้ึน น่ันก็คือกลุ่มชาวจีน ชาวไทยเชื้อสายจีน ในต�ำ บลทา่ พระมชี าวไทยเชอื้ สายจนี จ�ำ นวนมาก นบั ตง้ั แตช่ ว่ งทม่ี สี ถานรี ถไฟ จึงเป็นเหตุผลว่าเพราะเหตุใด ท่าพระ ท่ีมีสถานะเพียงตำ�บลถึงสามารถ จัดงานประเพณีอย่างงานง้ิวไดน้ ่ันเอง โดย เครือขา่ ยสื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 45

๏ เรอื งชัย วงษว์ ทญั ญู เรอื งชยั วงษ์วทญั ญู อายุ 82 ปี ชาวนครสวรรค์ ผอู้ พยพย้ายรกราก มาปกั หลกั ในทา่ พระแหง่ นต้ี งั้ แตป่ พี .ศ. 2503 ไดเ้ ลา่ วา่ งานงว้ิ นมี้ มี านานกอ่ น ที่คุณตาจะเข้ามาอยู่ งานง้ิวเป็นงานที่จัดขึ้นทุก ๆ ปี เพราะมีคนจีน คนจีน แตจ้ ว๋ิ จากไหหล�ำ บา้ งทอี่ น่ื บา้ ง แตจ่ ะมอี ยสู่ องปที เี่ วน้ วา่ งไป คอื ปี พ.ศ. 2520 และปพี .ศ. 2560 ซงึ่ ตรงกบั ชว่ งถวายความอาลยั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ซ่ึงงานง้ิวจะเป็นงานท่ีชาวท่าพระรอคอย มีผู้ร่วมงาน จ�ำ นวนมากทุกปี ๏ ศรีนวล ภูมิโยชน์ ชาวท่าพระ หลายคนมองเหตุการณ์เพลิงไหมบ้ า้ นเรือนในปี พ.ศ.2520 เกดิ ขน้ึ จากการทชี่ าวทา่ พระไม่ได้จดั งานง้วิ ในปีน้นั จึงเกิดเหตุการณ์ไมด่ ีข้ึน 46 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’

ดา้ น คณุ ตาศรนี วล ภมู โิ ยชน์ ชาวทา่ พระโดยก�ำ เนดิ ซงึ่ เปน็ “เถา่ นง้ั ” หรือคณะกรรมการของงานง้ิว ได้เล่าเสริมอีกว่า ชาวท่าพระหลายคนมอง เหตุการณ์เพลิงไหม้บ้านเรือนในปี พ.ศ.2520 เกิดขึ้นจากการท่ีชาวท่าพระ ไม่ได้จัดงานง้ิวในปีน้ัน จึงเกิดเหตุการณ์ไม่ดีขึ้น ...งานงิ้วจึงเป็นประเพณี ที่สะท้อนวถิ ีชีวิต ความคดิ ของชาวท่าพระ และต้องจัดต่อเนอ่ื งกนั ทกุ ปี อีกหนึ่งประเพณีท่ีมีการจัดข้ึนในตำ�บลท่าพระคือประเพณี “เทกระจาด” เป็นประเพณีท่ีเริ่มต้นข้ึนจากสมาคมชาวไทยเชื้อสายจีนใน จ�ำ บลทา่ พระเช่นกัน ประเพณนี ีเ้ ร่มิ ต้นเมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2556 จะจัดใน เดือน 8 ชว่ งเดือนกรกฎาคมหรือสงิ หาคม เปน็ งานที่จะมกี ารไหว้เจา้ ของจนี ทำ�บุญอทุ ิศให้วญิ ญาณไร้ญาติ และมีการรวบรวมเงินเพือ่ บริจาคหรือซือ้ ขา้ ว ของให้กับผ้ยู ากไร้ แม้งานนี้จะไม่มีมหรสพสมโภช แตท่ ุกคนก็จะพรอ้ มใจกนั จัดงานอย่างต่อเนื่องทุกปี นอกจากเทศกาลหรือประเพณีท่ีเกี่ยวข้องกับชาว ไทยเช้ือสายจีนแล้ว ประเพณีไทยๆ เช่น สงกรานต์ ลอยกระทง ก็ยังคงจัด ข้ึนป็นประจ�ำ ทกุ ปี มกี ารประกวดขบวนแหร่ ถบปุ ผชาติ การประกวดนางงาม และธิดาสงกรานต์ งานส่งท้ายปเี กา่ ต้อนรบั ปีใหม่ รวมทั้งการจัดการแข่งขนั กฬี าเทศบาลตำ�บลทา่ พระอกี ด้วย จะเห็นว่า ตำ�บลท่าพระ เป็นตำ�บลที่มีความพร้อมและศักยภาพ ด้วยจำ�นวนผู้คนท่ีมากหลาย การค้าที่คึกคัก มาตั้งแต่อดีต และยังคงรักษา ประเพณเี กา่ เอาไวไ้ ดเ้ ป็นอย่างดี ไฟฟา้ น�้ำ ประปา และถนนหนทางทส่ี ะดวกสบาย ไดเ้ ขา้ มาถงึ ทา่ พระ ประมาณปี พ.ศ. 2514 คุณตาพรเทพ ประดิษฐ์ขำ� และคุณตาศรีนวล ภูมิโยชน์ ซ่ึงเป็นผู้อาวุโสในชุมชนได้เล่าเรื่องราว การใช้ชีวิตในอดีของชาว ทา่ พระใหฟ้ งั วา่ คนทา่ พระเมอื่ กอ่ นจะนอนเรว็ เพราะไมม่ ไี ฟฟา้ ไมม่ โี ทรทศั น์ ยกเวน้ ชว่ งเทศกาลทมี่ มี หรสพ เชน่ งว้ิ หนงั กลางแปลง ทา่ พระจงึ จะคกึ คกั กวา่ ปกติ ยามค่ำ�คืนชาวบ้านก็จะอาศัยไฟจากตะเกียงเจ้าพายุ ตะเกียงกระป๋อง บา้ ง น�ำ้ ท่ใี ช้ก็จะมาจากน�ำ้ บ่อ น�้ำ บาดาล เชา้ ตรขู่ องแต่ละวนั จะมีสภากาแฟ โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 47

ในร้านกาแฟโกพัด ซึ่งอยู่ใกล้ๆ สถานีรถไฟและตลาดท่ีมีผู้คนสัญจรไปมา เป็นประจำ� กาแฟร้านโกพัดเป็นกาแฟที่คั่วบดเอง ภาชนะที่ใส่เครื่องดื่มให้ ลกู คา้ จะเปน็ กระป๋องนมขน้ สภากาแฟแห่งนี้เป็นแหล่งแลกเปลยี่ นพดู คยุ กนั ของชาวชุมชน ซ่งึ นา่ เสียดายทปี่ ัจจุบนั โกพัดยกเลกิ กจิ การไปแล้ว กอ่ นทถี่ นนหนทางในท่าพระจะสะดวกสบายอย่างเชน่ ทุกวนั น้ี ชาว บา้ นมกั จะเดนิ ทางดว้ ยเทา้ บา้ ง หากเดนิ ทางจากโกสมุ พสิ ยั ตะใชเ้ วลาถงึ สองคนื บ้างกป็ ่นั จกั รยาน ซ่งึ ร้านซ่อมจกั รยานในทา่ พระของคุณตาเรืองชัย เป็นร้าน เดียวในท่าพระและโกสมุ พสิ ยั ในขณะน้นั (ราว พ.ศ. 2505) บ้างก็จะเดนิ ทาง ดว้ ยเกวียน ซึ่งเคลอื่ นบนถนนลูกรงั ถนนดนิ ทราย จะมคี วามล�ำ บากมากใน หน้าฝน นอกจากท่าพระจะมีสถานีรถไฟแล้ว ยังเป็นท่ารถเพ่ือรับผู้โดยสาร เขา้ ไปในตัวเมอื งอกี ดว้ ย แม้ขณะนั้นไฟฟ้า น้ำ�ประปา และถนนจะยงั ไม่เจรญิ ก้าวหน้า ทำ�ให้ กลางคนื เงียบเหงาไปบา้ ง แต่ตอนเช้าไปและตลอดทงั้ วันนน้ั ท่าพระแหง่ น้มี ี กลบั เปน็ เมอื งทม่ี ผี สู้ ญั จรไปมาตลอด คณุ อรพนิ ท์ พทิ กั ษม์ นสั กลุ เจา้ ของรา้ น เจริญศิลปซ์ ึ่งอยู่คู่ท่าพระมาเกอื บ 60 ปี ยนื ยนั วา่ ตำ�บลท่าพระแหง่ นี้มีคนไม่ นอ้ ยทเ่ี ขา้ ใจว่าเป็นอ�ำ เภอ เพราะเศรษฐกจิ ที่คึกคกั และความเจริญ 48 I Spark U ‘ปลุกใจคณุ ปลุกใจเมืองอีสาน’

๏ ล�ำ ดับเหตุการณ์เกดิ เศรษฐกจิ เมอื งทา่ พระ โดย เครือขา่ ยส่ือศิลปวัฒนธรรมชุมชนอีสาน I 49

ทา่ พระ : การเปลีย่ นผ่านของบ้านเกา่ จากยุคซบเซาถงึ ปัจจุบนั ไม่เคยมีสิ่งใดท่ีจะสามารถเอาชนะกาลเวลาและความไม่แน่นอน ได้ เช่นเดียวกับเศรษฐกิจการคา้ ขายในชมุ ชนทา่ พระ แม้วา่ จะคึกคักเพียงใด แตไ่ มส่ ามารถตา้ นทานแรงลมของการเปลย่ี นแปลงไดส้ �ำ เรจ็ จากปี พ.ศ. 2474 จนถงึ ปี 2530 เปน็ ระยะเวลาเกอื บ 6 ทศวรรษ จากการเรม่ิ ตน้ สคู่ วามรงุ่ เรอื ง ของชมุ ชนทไี่ ดช้ อ่ื วา่ “ทา่ พระ” จากพน้ื ทปี่ า่ สสู่ ถานรี ถไฟ ทา่ รถ และศนู ยก์ ลาง การคา้ ของภาคอสี าน แตแ่ น่นอนว่าทุกสรรพสง่ิ ยอ่ มไม่แน่นอน เม่ือยา่ งเขา้ ปี พ.ศ.2540 เปน็ ปที น่ี ายทนุ ไดเ้ ขา้ มาสรา้ งหา้ งสรรพสนิ คา้ ในตวั เมอื งขอนแกน่ มโี ชวร์ มู และบรษิ ทั จ�ำ หน่ายรถยนต์ การขยายถนนต่อไป เป็นเพียงเส้นทางท่ี รถไฟ เป็น 4 ช่องการจราจร ทกุ คนมกี ำ�ลังซ้อื รถยนตเ์ ปน็ ของตวั เอง การเดิน ทางจากพนื้ ทไ่ี กลๆ เพอื่ เขา้ ไปในเมืองท�ำ ไดง้ ่ายขึ้น ปเี ดยี วกนั นเี้ อง เปน็ ปที เี่ กดิ วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกจิ คอื วกิ ฤตการณ์ ต้มยำ�กุ้ง ซึ่งประเทศมีปัญหาด้านเศรษฐกิจ จากการกู้เงินจากต่างประเทศ จนเกิดหนี้มหาศาล ต้องนำ�ทุนสำ�รองในประเทศออกมาใช้ ผู้ประกอบการ เจา้ ของบรษิ ัทอสังหาริมทรัพยแ์ ละภาครัฐเองก็พบกบั ปัญหา ซง่ึ วิกฤตการณ์ นส้ี ่งผลให้ 1. เกดิ ปญั หาคนวา่ งงานเพ่ิม สงู ขนึ้ - รายได้ตอ่ หวั ลดลง 2. การ พฒั นาประเทศไม่เติบโตตามคาด 3.สวสั ดิการทางสังคมลดนอ้ ยลง เม่อื เปน็ เช่นน้ีจะเกดิ อะไรขึน้ ในต�ำ บลท่าพระ... หลังจากการเข้ามาของห้างสรรพสินค้ายักษ์ใหญ่ ซ่ึงขายสินค้าครบ ครนั ในราคาทถ่ี ูกกวา่ ทอ้ งตลาด มเี ครอ่ื งปรับอากาศเย็นสบาย มีศนู ยอ์ าหาร บริการ รวมท้ังปัญหาจากวิกฤตการณ์ต้มยำ�กุ้ง ทำ�ให้ร้านโชว์ห่วยในถนน เจริญพาณิชย์เริ่มได้รับผลกระทบ เม่ือกลุ่มลูกค้าเดิมซึ่งเป็นคนจากอำ�เภอ โกสุมพสิ ยั หรือคนในต�ำ บลท่าพระเอง เขา้ ไปซอื้ ของจากห้างสรรพสนิ คา้ มาก ข้ึนเรื่อยๆ ความคึกคักที่เกิดขึ้นในถนนสายน้ีและในตลาดของชุมชน ค่อยๆ เงยี บเหงา โรงสขี นาดใหญป่ ดิ ตวั ลง เชน่ เดยี วกบั โรงภาพยนตร์ สนิ คา้ ขายไดน้ อ้ ย 50 I Spark U ‘ปลุกใจคุณ ปลุกใจเมืองอีสาน’