กตกิ าการตัดสิน Wood Ball สำ� นักการกฬี า กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา
2 กตกิ าการตัดสิน Wood Ball กติกาการตัดสนิ Wood Ball สหพันธ์วดู้ บอลนานาชาติ พิมพ์ครัง้ ท่ี 2 พ.ศ. 2557 จำ� นวนพิมพ์ 7,000 เล่ม จัดทำ� โดย กลมุ่ วิจัยและพฒั นา ส�ำนกั การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา 154 ถนนพระราม 1 แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร 10330 www.dpe.go.th พิมพ์ท ่ี สำ� นกั งานกจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ฯ 2/9 ซอยกรงุ เทพ-นนทบรุ ี 31 เขตบางซ่อื กรงุ เทพฯ โทร. 0 2587 3137 ตอ่ 117 โทรสาร 0 2587 3137 ต่อ 103
คำ� น�ำ กีฬาวู้ดบอล เป็นกีฬาทางเลือกส�ำหรับผู้ที่สนใจท่ีจะน�ำมาเล่น ออกกำ� ลงั กายหรอื แขง่ ขนั ซงึ่ เปน็ ชนดิ กฬี าทเ่ี ลน่ งา่ ยแตไ่ ดร้ บั ความสนกุ สนาน ท�ำใหร้ า่ งกายแข็งแรง มสี มาธิ และอุปกรณม์ ีราคาไมแ่ พงมาก สามารถเล่น ได้ต้ังแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ กติกาการตัดสินวู้ดบอลเล่มนี้ได้จัดพิมพ์ข้ึนเป็น ครั้งท่ี 2 โดยครั้งแรกท่ีทางกรมพลศึกษาจัดพิมพ์ข้ึนนั้นหมดอย่างรวดเร็ว และยงั คงมผี สู้ นใจมาขอรบั อกี เปน็ จำ� นวนมาก ทำ� ใหก้ รมพลศกึ ษาตอ้ งจดั พมิ พ์ ข้ึนเป็นครง้ั ท่ี 2 และได้รวบรวมเนือ้ หาบางส่วนใหม้ ีความสมบูรณเ์ พ่ิมขึน้ จงึ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ กตกิ าการตดั สนิ กฬี าวดู้ บอล จะเปน็ ประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจท้ังเด็ก เยาวชน ประชาชน นักกีฬา ตลอดจนผู้ฝึกสอนและ ผู้ตัดสินทุกท่าน ดังวิสัยทัศน์ท่ีว่ากรมพลศึกษาเป็นองค์กรน�ำด้านการ พลศึกษา สร้างความสุขเพ่อื มวลชน สำ� นกั การกฬี า กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า
4 กติกาการตัดสนิ Wood Ball สารบัญ หนา้ ค�ำนำ� ภาค 1 กีฬาวู้ดบอล (Wood Ball) 7 กำ� เนิดกฬี าวู้ดบอล 7 ก�ำเนดิ กีฬาวดู้ บอลในประเทศไทย 9 ขอ้ เสนอแนะส�ำหรับผ้หู ดั เลน่ กฬี าวูด้ บอล 13 เทคนคิ ส�ำคัญในการเลน่ กฬี าว้ดู บอล 13 ทกั ษะพืน้ ฐานการเลน่ กีฬาวดู้ บอล 14 ภาค 2 กฎ กติกา วู้ดบอล 26 ภาค 3 การใหส้ ัญญาณมอื ของผ้ตู ัดสินกฬี าวู้ดบอล 49 ใบบนั ทกึ คะแนนวู้ดบอล 55 คณะผ้จู ดั ท�ำ 57
ภาค 1
กตกิ าการตดั สิน 7 Wood Ball กฬี าวู้ดบอล (Wood Ball) ก�ำเนดิ กีฬาวู้ดบอล วดู้ บอลเปน็ กฬี าใหม่ ซงึ่ นายเวงิ หมงิ ฮยุ (Mr.Ming-Hui Weng) ชาวไตห้ วนั เปน็ ผคู้ ดิ ประดษิ ฐข์ นึ้ ในตน้ ปี พ.ศ. 2533 นายเวงิ หมงิ ฮยุ อยาก ใหค้ ณุ พอ่ ของเขามสี ถานทอี่ อกกำ� ลงั กายทป่ี ระกอบไปดว้ ยสวนดอกไม้ เขา ได้ซ้ือท่ีกว้างริมภูเขาแห่งหน่งึ ทีอ่ ยู่ในเมอื งไทเป (Taipei) และได้วางแผน ปรบั ปรงุ ทด่ี นิ สำ� หรบั ปลกู ตน้ ไมด้ อกไม้ ตอ่ มาสถานทแี่ หง่ นเ้ี องไดก้ ลายเปน็ สนามวดู้ บอลแห่งแรก โดยมชี ่ือว่า ไห้ ฮวั หยวน (แปลว่า สวนหลังบ้าน) ก่อนหน้าน้ี นายเวิง หมิง ฮุย ชอบเล่นกอล์ฟ แต่มีความรู้สึก วา่ การเลน่ กฬี ากอล์ฟมคี า่ ใชจ้ า่ ยค่อนข้างสงู ดังนน้ั นายเวงิ จงึ เรม่ิ คดิ ทจ่ี ะ ประดิษฐอ์ ปุ กรณง์ ่าย ๆ ข้ึนมา เพ่อื ใหต้ นเองสามารถตลี ูกบอลในบรเิ วณ เนินเขาที่สวยงามของตนเองได้อย่างมีความสุข ส่ิงท่ีจะประดิษฐ์น้ีต้องมี ความกลมกลืนกับธรรมชาติ น่าจะท�ำมาจากไม้ เพื่อจะได้เหมาะสมกับ สถานที่ท่ีสวยงาม แวดล้อมด้วยต้นไม้และดอกไม้แห่งนี้ เขาได้พยายาม ออกแบบคร้ังแล้วครั้งเล่า อุปกรณ์ที่ได้ก็ยังมีรูปร่างและการใช้งานไม่เป็น ท่ีถกู ใจอย่ดู ี วนั หนึง่ นายเวงิ หมิง ฮยุ สงั เกตเห็นวา่ ทจี่ บั ราวบันไดทางขึน้ หวั เสามลี กั ษณะกลมและทำ� ดว้ ยไม้ มเี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 10 เซนตเิ มตร ขนาดของหัวเสาสามารถหยิบจับขึ้นด้วยมือเดียวได้อย่างสบายพอเหมาะ กบั มอื จงึ ตดั สนิ ใจวา่ ลกู บอลทค่ี ดิ ทำ� ขนึ้ มาควรมเี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ
8 กตกิ าการตดั สนิ Wood Ball 10 เซนติเมตร (ปัจจุบันใช้ลูกบอลท่ีมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 เซนติเมตร) ซ่ึงเป็นที่มาของค�ำว่าวู้ดบอล วู้ด (Wood) แปลว่าไม้ ส่วนบอล (Ball) แปลว่า ลูกกลม ๆ Wood Ball จึงแปลว่า ลูกกลม ๆ ท่ีท�ำด้วยไม้ หรือลูกบอลไม้ หรือเรียกทับศัพท์ว่า ลูกวู้ดบอลนั่นเอง ส่วนรูปร่างของไม้ ท่ีใช้ในการตี นายเวิง หมิง ฮุย ไดค้ วามคิดมาจากขวดเบียร์ ถา้ นำ� ขวดเบยี ร์ มาท�ำเป็นหัวไม้ไว้ส�ำหรับตีลูกวู้ดบอลคงเหมาะ แต่เป้าหมายในการตีลูก ยงั ไมส่ ามารถออกแบบได้ ถา้ หากขดุ หลมุ เหมอื นหลมุ กอลฟ์ ตอ้ งมนี ำ�้ ขงั อยใู่ น หลมุ อยา่ งแนน่ อนเพราะหลมุ ตอ้ งใหญแ่ ละดนิ ในสวนจะเปน็ ดนิ ไมซ่ มึ นำ�้ ยอ่ ม ไม่เหมาะในการเลน่ สว่ นเปา้ หมายน้ันควรตดิ ต้ังและสามารถย้ายท่ีไปตามท่ี ตา่ ง ๆ ของสนามไดง้ า่ ยและสะดวก หากนำ� ประตฟู ตุ บอลมาประยกุ ต์ สองเสา ของประตูฟุตบอลใช้ขวดไมม้ าแทนสองขา้ ง ส่วนด้านล่างของขวดไม้นี้มตี ะปู ยาว 20 เซนติเมตร จะทำ� ใหส้ ามารถติดตง้ั เคล่ือนย้ายประตไู ปตามทต่ี า่ ง ๆ ของทงุ่ หญา้ ไดส้ ะดวก โดยปกั ประตลู งไดบ้ นดนิ ทนั ที ตาขา่ ยของประตใู ชถ้ ว้ ย ไมแ้ ทน เมอ่ื ลกู วดู้ บอลผา่ นประตมู ถี ว้ ยไมท้ ค่ี วำ�่ อยตู่ รงกลางจะถกู ตขี น้ึ ไปขา้ ง บน มลี ักษณะคล้ายการชนแก้วฉลองการเข้าประตู หมายถึง ความส�ำเรจ็ ในการออกแบบและทดลองปรบั ปรงุ ลกู วดู้ บอล ไมต้ ี และประตนู ี้ ได้ใช้เวลาประมาณ 2 ปี หลงั จากน้ัน นายเวิง หมิง ฮุย ไดเ้ ชิญเพือ่ น ๆ มา เลน่ วดู้ บอลท่ี “โห้ ฮวั หยวน” มกั จะมคี �ำถามเสมอ ๆ วา่ การเลน่ กฬี าชนดิ น้ี ไดม้ าจากประเทศใด สนกุ มาก เปน็ สง่ิ ทน่ี ายเวงิ หมงิ ฮยุ ดใี จและภมู ใิ จมาก กบั ชนดิ กฬี าใหมท่ ไี่ ดป้ ระดษิ ฐข์ น้ึ มาแตก่ ก็ งั วลใจ เพราะกฬี าประเภททเ่ี ลน่ ดว้ ยลกู บอลมกั จะประดษิ ฐค์ ดิ คน้ มาจากชาวตา่ งชาตเิ ปน็ สว่ นใหญ่ นายเวงิ หมงิ ฮยุ จงึ ตดั สนิ ใจวา่ จะนำ� กฬี าวดู้ บอลทตี่ นคน้ พบออกเผยแพรไ่ ปทว่ั โลก เขาจงึ ไดจ้ ดั ตง้ั สมาคมวดู้ บอลไทเปขน้ึ (The Chinese Taipei Woodball Association หรือ CTWA) เม่ือวนั ท่ี 11 กนั ยายน พ.ศ. 2536 โดยหวังว่า จะน�ำกีฬาวู้ดบอลออกเผยแพร่ไปท่ัวโลกและเป็นท่ีนิยมของคนทั่วไป และเพอื่ ใหท้ ว่ั โลกไดร้ บั รวู้ า่ กฬี าประเภทบอลชนดิ นปี้ ระดษิ ฐข์ นึ้ โดยชาวจนี
กตกิ าการตัดสิน 9 Wood Ball ก�ำเนิดกีฬาวู้ดบอลในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2538 เปน็ ชว่ งเวลาที่ ดร.พฒั นาชาติ กฤดบิ วร ปฏบิ ตั ิ หนา้ ทใี่ นตำ� แหนง่ อาจารยใ์ หญโ่ รงเรยี นกฬี าจงั หวดั ของแกน่ ไดต้ อ้ นรบั คณะ ผู้มาเย่ียมจากประเทศไต้หวัน น�ำโดย ดร.ฟิลิปส์ เซ็ง (Phillip Chung) ซ่ึงมีสัมพันธ์เป็นเพ่ือนร่วมชั้นเรียนในระดับปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัย นวิ เมก็ ซโิ ก (University of New Mexico) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ดร.ฟลิ ปิ ส์ เปน็ ผนู้ ำ� Mr.Weng Ming Hui และคณะบรหิ ารมาสาธติ วธิ กี ารเลน่ กฬี าชนดิ ใหมข่ องไตห้ วนั ซงึ่ เรยี กวา่ Woodball ดร.พฒั นาชาติ มคี วามสนใจในกฬี า ชนดิ นเี้ ปน็ อยา่ งมาก เนอ่ื งจากเหน็ วา่ เลน่ ไดง้ า่ ย กฎ กตกิ าไมม่ คี วามยงุ่ ยาก และสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย ต่อมาทางประเทศไต้หวันได้มีหนังสือ เชญิ มายงั กรมพลศกึ ษา (หนว่ ยงานในขณะนนั้ ตอ่ มาเปลย่ี นเปน็ ส�ำนกั งานพฒั นาการ กีฬาและนันทนาการ และปัจจุบันได้เปลี่ยนกลับไปเป็นกรมพลศึกษาดังเดิม) ให้ไปดงู าน ณ ประเทศไตห้ วนั โดยมี รศ. ดร.ทองคูณ หงสพ์ นั ธ์ุ (ต�ำแหนง่ รองอธิบดีในขณะนั้น) เป็นหัวหน้าคณะการไปดูงานด้านพลศึกษาดังเดิม ในครั้งน้ัน ท�ำให้ ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร เห็นการเล่นวู้ดบอลอย่าง แพร่หลายในประเทศไต้หวัน โดยเฉพาะภายในสวนสาธารณะต่าง ๆ ท�ำให้เล็งเห็นว่า กีฬาชนิดน้ีสามารถช่วยส่งเสริมสุขภาพได้ ทุกระดับ ทุกเพศ ทุกวัย ดังนั้น เมื่อกลับมาท่านจึงได้จัดการอบรมให้ ความรูเ้ กี่ยวกบั กฬี าวดู้ บอลเปน็ ครั้งแรก ณ โรงเรียนกฬี าจงั หวัดขอนแกน่ ในปี พ.ศ. 2538 ซึ่งมีบุคลากรจากโรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น และจังหวัดใกล้เคียงเข้าอบรม จึงนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกีฬาวู้ดบอล ในประเทศไทย และได้มีการเผยแพร่มาเป็นล�ำดับต่อมาจนกระทั่งได้ ก่อต้ังเป็นสมาคมวู้ดบอลแห่งประเทศไทย เม่ือวันท่ี 18 เมษายน 2551 โดยมี ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร เปน็ นายกสมาคมคนแรก ดงั ได้กลา่ วมาแล้ววา่ ดร.พฒั นาชาติ กฤดบิ วร ทา่ นมคี วามสนใจ ในกีฬาวู้ดบอล ท่านได้น�ำนักกีฬาวู้ดบอลจากประเทศไทยเข้าร่วมการ แข่งขันในประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียหลายคร้ัง โดยเร่ิมครั้งแรกที่เมือง
10 กตกิ าการตดั สนิ Wood Ball กวั ลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซยี ระหวา่ งวนั ท่ี 9 - 12 สงิ หาคม 2541 มนี กั กฬี า ทีมชาติไทยเขา้ ร่วมการแข่งขัน 8 คน เปน็ ทมี ชาย 1 ทมี หญงิ 1 ทีม และ ระหวา่ งวนั ท่ี 1 - 5 กนั ยายน 2541 ในปเี ดยี วกนั ไดจ้ ดั สง่ ทมี ชาย 1 ทมี เขา้ รว่ ม การแข่งขนั ท่เี มืองเซ่งิ หยาง ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี หลงั จากนัน้ ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันไทยแลนด์ วู้ดบอลอินวิเตชนั่ (Thailand Woodball Invitation Championship) ที่ สนามโรงเรยี นกฬี า จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มนี กั กฬี าจากตา่ งชาตเิ ขา้ รว่ ม ไดแ้ ก่ ไตห้ วนั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ฮอ่ งกง สงิ คโปร์ และมาเลเซยี ในระหวา่ ง วันท่ี 24 - 29 พฤศจิกายน 2541 นัน้ ดว้ ย ไดส้ รา้ งความประทับใจให้กบั ชาวต่างชาติ และท�ำให้ประเทศไทยเป็นท่ีรู้จักย่ิงข้ึน นับเป็นการเผยแพร่ ศลิ ปวฒั นธรรมและการท่องเท่ยี วทด่ี อี กี ทางหนึง่ ในปี พ.ศ. 2542 ได้น�ำนกั กีฬา 21 คน จากภาครฐั และเอกชน ทีส่ นใจเข้ารว่ มการแขง่ ขนั 1999 International Woodball Invitation Championship ท่เี มอื งไทเป ประเทศไต้หวนั ในระหวา่ งวันท่ี 24 - 29 พฤษภาคม ในครงั้ นน้ั ทมี ชายนำ� โดยรองอธบิ ดกี รมพลศกึ ษา นายทรงสวสั ด์ิ ไวชมภู (ด�ำรงต�ำแหน่งในขณะน้ัน) เป็นผู้น�ำทีมและได้รางวัลรอง ชนะเลิศอนั ดบั 3 ซึ่งน�ำช่อื เสียงกลบั มาสู่ประเทศไทย ทำ� ให้นานาชาติร้จู ัก และอยากมาประเทศไทยเพ่ิมมากขึ้น ในปีน้ีได้มีการจัดการแข่งขัน 1st Asian Woodball Championship ระหวา่ งวันที่ 27 - 29 สิงหาคม 2542 ณ รฐั ปาหงั ประเทศมาเลเซยี โดยประเทศไทยไดส้ ง่ นกั กฬี าเขา้ รว่ ม 19 คน ในปี พ.ศ. 2543 เข้าร่วมแข่งขันในรายการ First Woodball Association Cup Invitation Championship 2000 ณ ประเทศสงิ คโปร์ ระหว่างวันท่ี 5 - 8 สิงหาคม มีนักกีฬาทีมชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน จำ� นวน 17 คน และไดม้ กี ารจดั ประชมุ สมาชกิ สหพนั ธว์ ดู้ บอลแหง่ เอเชยี ดว้ ย ที่ประชุมมิมติให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน 2nd Asian Woodball Championship
กติกาการตัดสนิ 11 Wood Ball ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2544 ประเทศไทยจึงรับเกียรติเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขัน 2nd Asian Woodball Championship ระหว่างวันที่ 19 - 22 กมุ ภาพนั ธ์ โดยจดั ทส่ี นามวดู้ บอลเชยี งดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ มสี มาชกิ จากประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียเข้าร่วมแข่งขัน 8 ประเทศ มีนักกีฬา เขา้ รว่ มกวา่ 300 คน ไดแ้ ก่ ไตห้ วนั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ฮอ่ งกง สงิ คโปร์ มาเลเซยี เกาหลีใต้ ญ่ปี นุ่ และไทย ในปี พ.ศ. 2549 ประเทศไทยได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการ แข่งขันวดู้ บอลมหาวทิ ยาลยั โลก จดั ณ กรุงเทพมหานคร มมี หาวทิ ยาลัย ศรปี ทมุ ร่วมกบั สมาคมวู้ดบอลเป็นเจ้าภาพ มีประเทศเขา้ รว่ มทงั้ หมด 12 ประเทศ คือ ญ่ีปุน่ เกาหลี ฮ่องกง จนี ไต้หวนั มาเก๊า มาเลเซีย สงิ คโปร์ สหรัฐอเมริกา โครเอเชีย อิตาลี และไทย ในการแขง่ ขันครัง้ นีไ้ ทยสามารถ ครองชนะเลศิ ประเภทชายเดยี่ วและทีมชาย ส่วนทีมหญงิ ไดร้ องชนะเลศิ ในปี พ.ศ. 2551 กฬี าวดู้ บอลไดร้ บั การบรรจใุ หเ้ ขา้ รว่ มแขง่ ขนั ใน กีฬานกั เรยี น นกั ศึกษาแห่งประเทศไทย (ชมุ พรเกมส)์ เป็นครง้ั แรกและมี รายการแขง่ ขนั ทสี่ มาคมวดู้ บอลแหง่ ประเทศไทย มสี ว่ นรว่ มการแขง่ ขนั ทงั้ ในและนอกประเทศ ดังน้ี - รายการแขง่ ขนั วู้ดบอล the 3rd World Cup Woodball Championship 2008 ณ ประเทศสงิ คโปร์ - มหกรรมกีฬาผู้สูงอายุ ครั้งท่ี 2 ในเดือนสิงหาคม 2551 ณ จงั หวดั มหาสารคาม - รายการแข่งขันวู้ดบอล the 7th Japan Open Woodball International Championship 2008 ณ ประเทศญป่ี ่นุ - รายการแขง่ ขนั the 1st Asian Beach Games, Bali 2008. ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การด�ำเนินการของสหพันธ์ โอลิมปิกแห่งเอเชีย (OCA) และในคร้ังน้ีประเทศไทยสามารถชนะคว้า เหรียญเงนิ ในการแข่งขนั ทัง้ ประเภททมี ชายและทมี หญงิ
12 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball ในปี 2555 กีฬาวูด้ บอล ได้รบั การบรรจุให้เขา้ รว่ มการแขง่ เปน็ ครัง้ แรกในกีฬาแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 40 ณ จังหวัดขอนแกน่ “ขอนแก่นเกมส์” ในปี 2556 กีฬาวู้ดบอล ได้รับการบรรจุให้เข้าร่วมการแข่งขัน เป็นคร้ังแรกในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 29 ณ จังหวัดมหาสารคาม “มหาสารคามเกมส์” กฬี าวดู้ บอลนบั เปน็ กฬี าทเ่ี ปน็ ทางเลอื กหนง่ึ ในการออกกำ� ลงั กาย และสามารถใช้ในการแข่งขัน เหมาะกับทุกเพศและสามารถเล่นได้ทุกวัย ปัจจบุ ันกำ� ลงั เป็นทีน่ ิยมเลน่ อาจมีสาเหตุเพราะ 1. เป็นกีฬาที่เล่นง่ายและสามารถเรียนรู้ได้รวดเร็ว ไม่มีกฎ กติกาซบั ซอ้ น ไม่ต้องฝึกทกั ษะนานกส็ ามารถเลน่ ได้ 2. เป็นการฝึกสมาธิ แข่งขันกับตัวเอง และอีกท้ังเป็นการ ออกก�ำลงั กายทสี่ นุกสนานเพลดิ เพลนิ ด้วย 3. วิธีการเล่นมีลักษณะคล้ายกอล์ฟ แต่สามารถเล่นได้กับ ทุกสนาม เชน่ สนามหญา้ สนามดิน ชายหาด ในทร่ี ม่ หรอื กลางแจง้ 4. อปุ กรณ์มรี าคาไมแ่ พง เสยี ค่าใช้จ่ายนอ้ ย มเี พียงไม้ 1 อนั กบั ลูกและประตูกส็ ามารถเลน่ ได้ 5. สามารถเล่นได้ทกุ เพศ ทุกวยั
กติกาการตดั สิน 13 Wood Ball ข้อเสนอแนะสำ� หรับผูห้ ดั เล่นกฬี าวู้ดบอล1 กีฬาวู้ดบอลเป็นกีฬาที่นอกจากจะช่วยเสริมสร้างและรักษา สมรรถภาพทางกายทด่ี แี ลว้ ยงั เปน็ กฬี าทส่ี ง่ เสรมิ การฝกึ สมาธเิ พอื่ รวบรวมใจ ให้เป็นหนึ่งเดียวกบั ลูกวูด้ บอล ไมต้ ี และประตู เป็นกฬี าที่ชว่ ยสรา้ งสรรค์ แนวคิดในการวางแผน โดยผเู้ ลน่ จะต้องวางแผนในการคาดคะเนเกี่ยวกับ สภาพพน้ื ทขี่ องสนาม หากสนามนน้ั มลี กั ษณะไมร่ าบเรยี บจะเปน็ สง่ิ ทา้ ทาย การวางแผนของผเู้ ลน่ วา่ จะใชน้ ำ้� หนกั ในการตลี กู วดู้ บอลเทา่ ใด ลกู วดู้ บอล จงึ จะไม่ออกนอกเขตทท่ี �ำให้ผู้เล่นตอ้ งเสยี คะแนน สง่ิ ทพี่ งึ ควรระวงั ในการตลี กู วดู้ บอลใหเ้ ขา้ ประตู กลบั เปน็ ระยะทาง ซึ่งถ้าใกล้กับประตูมาก บ่อยคร้ังที่พบว่าจะไม่สามารถตีลูกให้เข้าได้ ลกู กระดอนออกไป ดงั นน้ั การลงนำ้� หนกั ของผเู้ ลน่ ใหเ้ หมาะจงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ยงิ่ การฝึกทักษะเพื่อตีลูกวู้ดบอลให้เข้าประตูน้ัน ควรฝึกอย่างสม่�ำเสมอ ต่อเน่ือง เพื่อให้เกิดความช�ำนาญและแม่นย�ำในการตีลูกให้เข้าประตู และพยายามหาวิธีทีจ่ ะไม่เสียคะแนนใหไ้ ด้ เทคนคิ สำ� คญั ในการเล่นกีฬาวู้ดบอล2 1. ผู้เล่นต้องประสานความคิด มือท่ีใช้ในการตีลูกวู้ดบอล ตลอดจนประตูให้เป็นหนึ่งเดียว และลงน้�ำหนักในการตีให้พอดีกับ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ลูกจงึ จะสามารถเข้าประตูได้อย่างแม่นย�ำ 2. ผเู้ ลน่ มอื ใหม่ พงึ จำ� ไวว้ า่ อยา่ ตแี บบเสย่ี ง ๆ จะเสยี คะแนนไป อย่างน่าเสียดายมากและให้ตดี ้วยความใจเย็น มสี มาธิ จะช่วยได้มาก 1 คู่มือการส่งเสริมกีฬาและการออกก�ำลังกายผู้สูงอายุ ส�ำนักพัฒนาการกีฬา ส�ำนักงาน พัฒนาการกีฬาและนนั ทนาการ กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา หนา้ 8 2 คู่มือการส่งเสริมกีฬาและการออกก�ำลังกายผู้สูงอายุ ส�ำนักพัฒนาการกีฬา ส�ำนักงาน พัฒนาการกฬี าและนนั ทนาการ กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า หนา้ 9
14 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball นกั กฬี ามอื ใหม่ พบวา่ วดู้ บอลสอนใหผ้ เู้ ลน่ เกดิ ปรชั ญาแนวคดิ ใน การด�ำรงชีวิตให้อยู่ได้อย่างเป็นสุขในสภาพเศรษฐกิจพอเพียง สอนให้ใช้ ชวี ติ อย่างระมัดระวังเมือ่ พบปญั หาชีวติ เชน่ เดยี วกับพบสนามขรขุ ระและ เปน็ เนนิ สงู ลาดลง ทำ� ใหม้ สี ตใิ นการวางชวี ติ อยา่ งระมดั ระวงั มากขน้ึ และถา้ สถานการณแ์ หง่ ชวี ติ ราบเรยี บ เชน่ สนามทร่ี าบเรยี บจะทำ� ใหผ้ เู้ ลน่ ประมาท ตีแบบสบาย ๆ และท�ำให้เสียคะแนนไปโดยไมต่ ั้งใจ ดงั นนั้ จึงสรปุ วา่ หาก ชวี ติ ราบเรยี บคนเรากต็ อ้ งไมป่ ระมาทเชน่ กนั ความมสี ตจิ ะชว่ ยนำ� พาชวี ติ ไปสู่เปา้ หมายได้อยา่ งมคี วามสุขและภาคภูมิใจในตนเองตลอดไป ทักษะพนื้ ฐานการเล่นกฬี าวู้ดบอล การเล่นกีฬาทุกชนิดควรเร่ิมจากการฝึกทักษะพื้นฐานท่ีถูกต้อง เพราะทักษะพ้ืนฐานจะท�ำให้ผู้เล่นมีการพัฒนาการเล่นได้รวดเร็ว และมี ประสิทธภิ าพ การเลน่ กีฬาวดู้ บอลกเ็ ชน่ กัน มที กั ษะพืน้ ฐานท่สี ำ� คัญ ดงั นี้ 1. การจับไม้ (Grip) การจบั ไม้วู้ดบอลนนั้ ขน้ึ อยู่กบั ความถนัด ของผเู้ ล่นแตล่ ะคน ท่ีนิยมกนั มี 3 แบบ (ดูภาพประกอบ) แบบท่ี 1 อินเตอร์ล็อกกิ้ง ให้จับไม้ด้วยมือซ้ายที่ปลาย ของด้าม จากนั้นจับไม้ด้วยมือขวาต่อจากมือซ้ายโดยนิ้วก้อยของมือขวา เกี่ยวกบั นวิ้ ชขี้ องมือซา้ ย แบบที่ 2 โอเวอร์แลปปง้ิ จับไม้คล้ายแบบท่ี 1 แต่ให้วาง นิ้วกอ้ ยของมอื ขวาทบั ระหวา่ งนว้ิ ชี้และน้วิ กลางของมอื ซา้ ย แบบท่ี 3 เบสบอล จบั ไมโ้ ดยใชม้ อื ทง้ั สบิ นว้ิ วางเรยี งตอ่ กนั บนดา้ มไม้ 2. การยนื (Address) ยนื แยกเทา้ ใหก้ วา้ งกวา่ ชว่ งไหลเ่ ลก็ นอ้ ย เพอื่ การทรงตวั ทดี่ ี ถา่ ยนำ้� หนกั ไดง้ า่ ย ยอ่ เขา่ เลก็ นอ้ ยเพอื่ ความคลอ่ งตวั ใน การเหว่ียงไม้ขนึ้ ตี ต�ำแหน่งของลกู อยู่ไปทางเทา้ ซ้าย (ดูภาพประกอบ)
กติกาการตัดสิน 15 Wood Ball 3. การขนึ้ ไมแ้ ละการลงไม้ (Take Back and Down Swing) 3.1 การขึน้ ไม้ (Take Back) ประกอบไปดว้ ย 3 จังหวะ (ดภู าพประกอบ) จังหวะที่ 1 ยนื ใหผ้ ่อนคลาย สบาย ๆ แต่มน่ั คง จังหวะที่ 2 หมุนไหล่และแขนให้ขึ้นเป็นช้ินเดียว ให้ปลายด้ามไมช้ ้ีบริเวณหวั เข็มขดั จงั หวะที่ 3 หมนุ ไหล่ ใหม้ อื ทจี่ บั ไมอ้ ยใู่ นระดบั หวั ไหล่ 3.2 การลงไม้ (Down Swing) ประกอบไปดว้ ย 3 จงั หวะ (ดภู าพประกอบ) จงั หวะที่ 1 หมุนไหล่ลงให้ข้อศอกอยู่ชิดล�ำตัว แนวของไม้ขนานกบั พ้นื จังหวะที่ 2 ปล่อยไม้ให้กระทบลูก แขนซ้ายจะอยู่ ในแนวเดยี วกบั ดา้ มของไม้ จังหวะที่ 3 ปลอ่ ยแขนท้งั สองข้างให้เหยยี ดออกไป ไม่ดึงข้อศอกซ้ายเร็ว เพื่อไม่ให้สูญเสียการควบคุมหน้าไม้ จะท�ำให้การตี มนี �ำ้ หนกั และแมน่ ย�ำข้นึ พลงั การตลี ูกจะมาจากแขนซ้ายนัน่ เอง 4. การเล็งเป้าหมาย (Alignment) ให้ลากเส้นแนวสมมุติจากลูกไปยังเป้าหมาย จากนั้นยืนให้ ปลายเทา้ ทง้ั สองขา้ งขนานกบั เสน้ แนวสมมตุ เิ สน้ แรก พรอ้ มทง้ั จดั แนวของ หัวเข่าท้ังสอง สะโพก และหัวไหล่ ให้ขนานกับปลายเท้าทั้งสองข้างด้วย (ดภู าพประกอบ) 5. การยงิ ประตู (Shooting) การยงิ ประตู จะมี 2 แบบด้วยกนั แบบท่ี 1 การยิงประตูด้านข้างล�ำตัว (ดูภาพประกอบ) จะประกอบไปดว้ ย 4 จงั หวะดว้ ยกนั
16 กติกาการตดั สนิ Wood Ball จงั หวะที่ 1 นัง่ ในลกั ษณะเทา้ น�ำเทา้ ตาม จังหวะท่ี 2 ลำ� ตัวต้ังตรง มอื ซ้ายจับดา้ มไม้ไว้ บริเวณร่องของหัวไหล่ เพื่อใช้เป็นจุดหมุน จงั หวะท่ี 3 มอื ขวาอยดู่ า้ นลา่ ง ไมอ้ ยใู่ นรอ่ งนวิ้ ระหว่างนว้ิ ช้กี บั น้ิวหวั แม่มอื จงั หวะที่ 4 น�้ำหนักตัวอยู่ท่ีเท้าหน้า 60 เปอร์เซ็นต์ อยู่เทา้ หลัง 40 เปอร์เซ็นต์ ตำ� แหนง่ ของลกู อยูท่ ่ปี ลายเทา้ หน้า จากนนั้ เหวยี่ งไมโ้ ดยใชม้ อื ซา้ ย สว่ นมอื ขวาเปน็ ตวั สง่ แรงไป ขา้ งหน้าให้ตรงกบั ไลน์ (ก�ำหนดจดุ และทิศทางการตีของลกู ) ทต่ี ้องการ แบบท่ี 2 การยิงประตูด้านหน้าล�ำตัว (ดูภาพประกอบ) จะประกอบไปด้วย 4 จังหวะเช่นกนั จงั หวะที่ 1 ใช้หลกั เดยี วกบั การจบั ไมพ้ นื้ ฐาน จงั หวะท่ี 2 ใชห้ ลกั เดียวกบั การยืนพนื้ ฐาน จังหวะที่ 3 ใช้หลักเดยี วกบั การเล็งเปา้ หมาย จังหวะที่ 4 ใชห้ ลกั เดยี วกบั การขนึ้ ไมแ้ ละลงไม้ ซ่ึงในการยิงประตูด้านหน้าล�ำตัวน้ัน เท้าท้ังสองต้องยืนให้ แนน่ และม่นั คง ใชเ้ พยี งช่วงบนของล�ำตัว หวั ไหล่ และแขนหมนุ ใหเ้ ป็นช้ิน เดียวกัน ข้ึนและลงไม้ไม่สูง ที่ส�ำคัญที่สุดต้องรักษาแนวแกนของล�ำตัวให้ นง่ิ ท่สี ุด ตีตามไลน์ใหแ้ มน่ ยำ� วางหนา้ ไม้ใหต้ รง
กติกาการตัดสนิ 17 Wood Ball 1. การจบั ไม้ (Grip) แบบที่ 1 อินเตอรล์ ็อกก้ิง แบบท่ี 2 โอเวอรแ์ ลปปิง้ แบบท่ี 3 เบสบอล
18 กตกิ าการตดั สนิ Wood Ball 2. การยนื (Address)
กติกาการตัดสนิ 19 Wood Ball 3. การขึ้นไม้และการลงไม้ (Take Back and Down Swing) 3.1 การขนึ้ ไม้ (Take Back) จังหวะท่ี 1 จงั หวะท่ี 2 จงั หวะท่ี 3
20 กติกาการตัดสิน Wood Ball 3.2 การลงไม้ (Down Swing) จังหวะที่ 1 จงั หวะที่ 2 จงั หวะท่ี 3
กตกิ าการตัดสนิ 21 Wood Ball 4. การเล็งเป้ าหมาย (Alignment)
22 กติกาการตดั สนิ Wood Ball 5. การยิงประตู (Shooting) แบบท่ี 1 การยงิ ประตูดา้ นขา้ งลำ� ตัว จงั หวะที่ 1 จังหวะท่ี 2 จังหวะท่ี 3 จังหวะที่ 4
กติกาการตัดสนิ 23 Wood Ball แบบท่ี 2 การยิงประตูดา้ นหน้าล�ำตวั จงั หวะท่ี 1 จังหวะที่ 2 จงั หวะท่ี 3 จังหวะท่ี 4
ภาค 2
26 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball กฎ กติกา วู้ดบอล สนามวูด้ บอล ก. หลกั การท่ัวไป 1. สนามวดู้ บอลควรใชเ้ ปน็ สนามหญา้ ทราย หรอื ดนิ ทเ่ี หมาะสม สำ� หรบั การเลน่ และการแขง่ ขนั 2. สนามวดู้ บอลสามารถทจ่ี ะน�ำสง่ิ กดี ขวางตามธรรมชาติ เชน่ ต้นไม้ พุม่ ไม้ กำ� แพงเตย้ี ๆ หรอื เนินดนิ เล็ก ๆ มาท�ำเป็นส่ิงกดี ขวางหรอื เส้นเขตสนามได้ 3. บรเิ วณสนามการแขง่ ขนั ควรจดั ใหม้ ที สี่ �ำหรบั ชมการแขง่ ขนั ขึ้นมาตามลกั ษณะภมู ปิ ระเทศอยา่ งเหมาะสม 4. ในสนามการแข่งขันควรมีแผนผังแสดงลักษณะและ รายละเอียดของสนามพอสังเขป ข. การออกแบบสนามวู้ดบอล 1. ใน 1 สนามวู้ดบอล ควรมี 12 หรอื 24 สนามการแข่งขนั และแต่ละสนามการแขง่ ขันจะมีประตูอยู่ 1 ประตู 2. ในจ�ำนวน 12 สนามการแข่งขัน รวมแล้วควรมีระยะทาง มากกว่า 700 เมตร 3. พนื้ ผวิ สนามควรเรยี บและเสมอกัน 4. สนามการแขง่ ขนั ควรจะเปน็ ทางตรงหรอื ทางโคง้ ตามลกั ษณะ ธรรมชาตขิ องพืน้ ที่
กติกาการตดั สนิ 27 Wood Ball 5. บนสนามควรมกี ารจดั ส่งิ กดี ขวาง 6. ตามขนาดของสนามวู้ดบอล แต่ละการแข่งขันจะมีระยะ แตกต่างกัน ต้งั แต่ 30 - 130 เมตร 7. สนามวดู้ บอลสามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ แตต่ อ้ งไมข่ ดั กบั กฎ กติกาเบ้อื งตน้ 8. เส้นเขตสนามการแข่งขันควรใช้เชือกสีขาวหรือสีเหลืองท่ีมี เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 1 เซนตเิ มตร ค. มาตรฐานสนามวู้ดบอล 1. สนามการแข่งขันต้องได้รับการดูแลให้เหมาะสมส�ำหรับ การเลน่ อยเู่ สมอ 2. ความกว้างของแต่ละสนามการแข่งขันจัดตามลักษณะ ภมู ปิ ระเทศ แต่ควรใหม้ คี วามกว้างอย่รู ะหวา่ ง 3 - 10 เมตร 3. ระยะทางส้ันกวา่ 50 เมตร เรยี ก สนามขนาดสัน้ ระยะทาง 51 - 80 เมตร เรียก สนามขนาดกลาง ระยะทาง 81 - 130 เมตร เรียก สนามขนาดยาว 4. ใน 12 สนามการแข่งขันต้องมีอย่างน้อย 4 สนาม ที่เป็น สนามแบบโค้ง (โคง้ ดา้ นซ้าย 2 สนาม และโค้งดา้ นขวา 2 สนาม) 5. ใน 12 สนามการแขง่ ขนั อยา่ งน้อย 2 สนาม ตอ้ งเปน็ สนาม ขนาดยาว และอยา่ งน้อย 2 สนาม ตอ้ งเปน็ สนามขนาดสน้ั 6. ความยาวของแต่ละสนามการแข่งขนั จะวดั จากจดุ กง่ึ กลาง ของเสน้ เรมิ่ ตน้ ไปตามกง่ึ กลางของชอ่ งสนามจนไปถงึ จดุ กง่ึ กลางของประตู 7. การเร่มิ เลน่ ต้องมกี ารกำ� หนดเสน้ เรมิ่ ทเี่ รยี กว่า เส้นเรม่ิ ต้น โดยเสน้ เรม่ิ ตน้ จะยาว 2 เมตร และหลงั เสน้ เริม่ ตน้ จะลากกลบั ไป 3 เมตร จะกลายเป็นพนื้ ทส่ี เ่ี หลี่ยมท่ีเรียกวา่ เขตเร่ิมต้น
28 กตกิ าการตดั สนิ Wood Ball 2 เมตร เส้นเขตสนาม สนาม เสน้ เริม่ ต้น เขต 3 เมตร เร่มิ ตน้ เสน้ เรม่ิ ตน้ และเขตเริม่ ตน้ 8. ปลายสุดของสนามควรมีเขตประตูท่ีเป็นวงกลม เส้นผ่า ศูนย์กลาง 5 เมตร โดยมีประตูอยู่ตรงกลางและเขตนี้ควรอยู่ห่างจาก เสน้ หลงั 2 เมตร ห่างจากเสน้ หลงั 2 เมตร เขตประตู เสน้ เขตสนาม เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 5 เมตร จดุ กง่ึ กลางเขตประตู สนาม 9. ประตตู ง้ั ตรงกงึ่ กลางเขตประตู และวางหนั หนา้ ไวท้ ศิ ใดของ ช่องตีก็ได้ 10. เขตเริ่มตน้ และเขตประตู ควรจะเรียบและไมม่ ีสง่ิ กีดขวาง ง. การใช้สนาม 1. แตล่ ะสนามการแข่งขัน ก่อนการแข่งขันเสรจ็ สิ้นไมอ่ นุญาต ให้กลุ่มตอ่ ไปเขา้ มาและเล่นในสนาม 2. ในแต่ละสนามการแข่งขัน อนุญาตให้เล่นได้เพียง กลมุ่ ละ 4 - 5 คน
กติกาการตดั สนิ 29 Wood Ball 3. ในขณะที่มีการแข่งขัน ไม่อนุญาตให้บุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่ผู้เล่น และผ้ตู ัดสนิ เข้าไปในบริเวณสนาม 4. เมอ่ื ผเู้ ลน่ ตลี กู ผเู้ ลน่ คนอน่ื ๆ ควรจะอยหู่ า่ งในระยะ 3 เมตร 5. เมอ่ื พนื้ หญา้ ในสนามชำ� รดุ หลดุ จากการตี ตอ้ งรบี ซอ่ มโดยทนั ที 6. ก่อนการตีลูก ไม่อนญุ าตใหผ้ เู้ ล่นปรับเปล่ยี นพน้ื ท่บี รเิ วณที่ ตั้งลกู บอล 7. สง่ิ กดี ขวางทจี่ ดั ไวใ้ นสนาม ไมอ่ นญุ าตใหเ้ ลอ่ื นหรอื เคลอ่ื นที่ ตามความพอใจของผเู้ ลน่ 8. กรณีลมพัดแรงหรือฝนตกหนัก ผู้เล่นสามารถขออนุญาต เก็บใบไม้ กงิ่ ไม้ หรอื ขยะบนสนามได้
30 กติกาการตดั สิน Wood Ball อุปกรณ์วู้ดบอล ก. หลกั การท่ัวไป 1. อปุ กรณว์ ดู้ บอล ประกอบดว้ ย ลูกบอล ไมต้ ี และประตู 2. อุปกรณก์ ารเลน่ ต้องไดม้ าตรฐาน ภายใต้การรับรองจาก สมาคมว้ดู บอลนานาชาติ ข. มาตรฐานอุปกรณ์การเล่น 1. ลูกบอล (1) ลูกบอลมีลักษณะกลมท�ำจากไม้ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 +- 0.2 เซนติเมตร และน้ำ� หนกั 350 +- 60 กรมั (2) บนลูกบอลสามารถเขียนหมายเลขตรงกบั หมายเลขผู้เลน่ (3) รปู รา่ งและลกั ษณะของลกู บอลตอ้ งมลี กั ษณะดงั ในภาพ ประกอบ เครอ่ื งหมายวู้ดบอล +- +- หมายเลขผเู้ ล่น
กตกิ าการตดั สนิ 31 Wood Ball 2. ไมต้ ี (1) ไมต้ ที ำ� จากไมเ้ ปน็ รปู ตวั ที (T) นำ้� หนกั ประมาณ 800 กรมั (2) ไม้ตีมคี วามยาว 90 +- 10 เซนติเมตร รวมดา้ มจับและ หวั ไม้ตรี ูปขวด (3) หวั ไมต้ ยี าว 21.5 +- 0.5 เซนตเิ มตร ดา้ มทา้ ยของหวั ไมต้ ี 3+-.80.+-2 เซนตเิ มตร ความหนา หุ้มยางโดยรอบท่ีมเี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 6.6 0.1 เซนติเมตร ความ สว่ นล่าง 1.3 +- 0.1 เซนติเมตร ความสงู หนาขอบนอก 0.5 เซนตเิ มตร (4) รูปร่างและลกั ษณะของไม้ตี มลี ักษณะดงั ในรูปภาพ ก. ไมต้ ี หวั ไม้ตี ดา้ มจบั น�้ำหนกั ประมาณ 800 กรัม 90 +- 10 เซนติเมตร ข. หัวไมต้ รี ปู ขวด เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 3.5 +- 0.1 เซนตเิ มตร 21.5 +- 0.5 เซนตเิ มตร เส้นผ่าศนู ย์กลาง 6.6 +- 0.2 เซนติเมตร
32 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball ค. ยางหมุ้ หวั ไม้ ความหนาขอบนอก 0.5 เซนติเมตร 3.8 +- 0.1 เซนติเมตร ความหนาส่วนลา่ ง 1.3+- 0.1 เซนติเมตร เส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 6.6 +- 0.2 เซนตเิ มตร 3. ประตู (1) ประตตู อ้ งทำ� จากไมโ้ ดยมแี กนกลางทปี่ ระกอบดว้ ยวสั ดุ 3 ส่วน คือ แกนเหล็ก หลอดยาง และหัวปดิ ข้าง (2) ประตูประกอบด้วย ไม้รูปร่างคล้ายถ้วยอยู่ตรงกลาง ระหวา่ งขวดท้งั สองท่ีปกั บนพ้ืนดิน มีระยะกว้าง 15 +- 0.5 เซนตเิ มตร โดย วดั จากด้านในของขวดท้ังสองข้าง (3) รปู ร่างและลกั ษณะของประตู หลอดยาง หัวปิดขา้ ง หา่ งจากพื้น 5 +- 0.5 เซนติเมตร ตะปู 15 +- 0.5 เซนตเิ มตร
กติกาการตัดสิน 33 Wood Ball (4) สว่ นประกอบของประตู ก. ขวดไม้ 20.5 +- 0.5 เซนตเิ มตร 15 เซนตเิ มตร เส้นผา่ ศูนย์กลาง 6.7+- 0.2 เซนตเิ มตร ข. ถ้วยไม้ เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 6 เซนติเมตร 15 +- 0.5 เซนตเิ มตร เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 6 เซนติเมตร หวั ปดิ ขา้ ง ค. แกนเหล็ก 29 เซนตเิ มตร
34 กติกาการตดั สนิ Wood Ball ประเภทการแขง่ ขนั 1. ประเภทบุคคล คดิ คะแนนแตล่ ะบุคคล 2. ประเภทคู่ โดยมีท้ังประเภทชายคู่ หญิงคู่ และคู่ผสมโดย คดิ คะแนนรวมกนั 3. ประเภททีม คิดคะแนนจากผู้เล่น 4 คน ท่ีท�ำคะแนนได้ดี ทสี่ ุดในทีมเดียวกัน ในการเลน่ ประเภททีม 1. ทีมและสมาชิกในทีม ประกอบด้วย หัวหน้าทีม โค้ช ผูค้ วบคุมทีม และสมาชกิ ของทมี 2. แต่ละทีมสามารถร่วมและลงทะเบียน 4 - 8 คน (รวมท้ัง กปั ตนั ) แตเ่ ลน่ ไดเ้ กมหนง่ึ ๆ เพยี ง 4 - 6 คนเทา่ นน้ั และผลคะแนนประเภททมี จะคิดจาก 4 คน ทมี่ คี ะแนนดีทส่ี ุด ดา้ นผูเ้ ล่น 1. ผู้เล่นท่ีไม่ได้สมัครและลงทะเบยี น ไม่อนุญาตให้ลงเลน่ 2. ในการแขง่ ขนั ประเภททมี ผเู้ ลน่ ตอ้ งสวมชดุ กฬี าใหเ้ หมอื นกนั ในการแข่งขัน ส่วนประเภทบุคคล ผู้เล่นต้องสวมชุดกีฬาท่ีเหมาะสม ไมอ่ นุญาตใหใ้ ส่รองเทา้ สน้ สูง และเส้ือผ้าไมเ่ หมาะสมกับการเล่นกฬี า 3. ผู้เล่นควรพกบัตรประจ�ำตัวติดตัว เพื่อการตรวจสอบและ ยนื ยนั สถานภาพ
กติกาการตดั สิน 35 Wood Ball กฎและกติกาสำ� หรับผู้ตดั สิน ก. ประธานผู้ตัดสิน (Tournament Director) หรือใช้ อักษรยอ่ T.D (ที.ด)ี มอี �ำนาจหน้าท่ี ดงั น้ี 1. เป็นผู้ชี้ขาดในทุกกรณีท่ีมีการร้องอุทธรณ์จากผู้แข่งขันและ ต้องอยภู่ ายในบริเวณสนาม ขณะทกี่ ารแข่งขันก�ำลงั ด�ำเนนิ อยู่ 2. เป็นผชู้ ้ขี าดทุกปญั หาที่ผ้ตู ัดสินไมส่ ามารถตดั สนิ ได้ 3. เป็นผู้มอี �ำนาจในการยตุ ิการแขง่ ขัน เมอ่ื มเี หตกุ ารณจ์ �ำเปน็ เชน่ ฝนฟา้ คะนอง แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ หรอื เปลยี่ นแปลงเวลาการแขง่ ขนั 4. เป็นผู้มีหน้าท่ีแต่งต้ังหรือถอดถอนกรรมการและเจ้าหน้าที่ ทีป่ ฏิบตั ิหน้าที่ไม่เปน็ ธรรม 5. เปน็ ผคู้ วบคมุ การแขง่ ขนั ใหเ้ สรจ็ สน้ิ และดำ� เนนิ ไปดว้ ยความ เรียบรอ้ ยตามวตั ถุประสงค์ของคณะกรรมการจดั การแขง่ ขัน ข. หัวหนา้ ผูต้ ัดสิน (Chief of Referee) 1. ต้องเข้าใจกติกาวิธกี ารแขง่ ขันและควบคมุ เกมได้ 2. ทำ� หน้าท่ผี ตู้ ัดสนิ เกมและพจิ ารณาแก้ปัญหากรณีเกมมปี ญั หา 3. การตัดสินของหัวหนา้ ผตู้ ัดสนิ ถือเป็นสิน้ สุด 4. จะตอ้ งตัดสินปัญหาเพ่ือช่วยให้เกมสิน้ สดุ 5. ตอ้ งตรวจสอบคะแนนและรบั รองผลคะแนนเปน็ คนสดุ ทา้ ย 6. เรยี กประชมุ ผตู้ ดั สนิ อน่ื ๆ กรณที มี่ กี ารประทว้ งและรายงาน กรณดี ังกล่าวใหค้ ณะกรรมการทราบ 7. แจ้งกฎและกติกาการเล่นให้ผู้เล่นทราบก่อนการแข่งขัน ในกรณีที่จำ� เป็น
36 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball ค. ผู้ตดั สิน (Referee) 1. ตรวจสอบรายช่ือผูเ้ ลน่ และอปุ กรณ์การเล่น 2. เรียกให้ผู้เล่นเริ่มเล่นในแต่ละประตู และจัดการจัดล�ำดับ ก่อนและหลังในการเล่น 3. ขานคะแนนและจำ� นวนการตขี องผเู้ ลน่ ทกุ คนเมอื่ เสรจ็ สน้ิ ใน ทุกประตู 4. ควบคุมให้ผู้เล่น เล่นเกมให้ครบทุกประตูตามล�ำดับของ สนามแข่งขนั 5. หากมกี ารผดิ กตกิ า ใหป้ ระกาศขอเวลานอกและเรมิ่ เลน่ ใหม่ 6. จดแต้มการตขี องผ้เู ลน่ และจำ� นวนครง้ั ทผ่ี ิดกตกิ า 7. ตรวจสอบผลการเลน่ และใหผ้ เู้ ลน่ ลงชอ่ื เพอื่ รบั รองผลการเลน่ 8. ผตู้ ดั สนิ ตอ้ งเคลอื่ นทไ่ี ปขา้ งหนา้ ในเสน้ ทางทไี่ มก่ ระทบการตี ของผูเ้ ลน่ 9. ควรจะยืนในต�ำแหน่งท่ีสามารถมองเห็นท่าทางการตีและ ทิศทางของลูกบอลไดช้ ัดเจน ง. ผู้ก�ำกับเส้น (Linesman) ชว่ ยเหลอื ผตู้ ดั สนิ ในการตดั สนิ การออกของลกู บอลนอกเสน้ เขตสนามและบ่งชจี้ ุดท่ีลกู บอลออกนอกเส้นเขตสนาม
กติกาการตัดสนิ 37 Wood Ball เกมการเล่น ก. หลกั การท่วั ไป 1. เกมการเล่นต้องอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และระเบียบของ ผ้จู ดั การแข่งขันและกติกาเลน่ ว้ดู บอล 2. ผู้เล่นทุกคนควรจะเล่นให้ครบทั้ง 12 หรือ 24 สนามการ แข่งขันและผลการตัดสินสุดท้ายจะไดจ้ ากการนบั จ�ำนวนครัง้ การตี 3. ในกรณีผเู้ ล่นไมไ่ ด้เล่นจนจบเกม จะไม่นับแตม้ ข. ระบบการแขง่ ขัน 1. ประเภทของการแข่งขนั แบ่งออกเปน็ (1) การแข่งขันประเภทบุคคล (2) การแข่งขันประเภทคู่ โดยมีทั้งประเภทคู่ชาย คู่หญิง และคูผ่ สม (3) การแขง่ ขนั ประเภททมี 2. วธิ ีการเลน่ แบ่งออกเปน็ (1) การแขง่ ขนั นบั จำ� นวนการตี ผเู้ ลน่ ทเี่ ลน่ ครบทง้ั 12 หรอื 24 สนามการแข่งขัน และตไี ด้น้อยครงั้ ทีส่ ุดเป็นผ้ชู นะ (2) การแขง่ ขนั นบั จำ� นวนสนามการแขง่ ขนั ทดี่ ี ผเู้ ลน่ ทช่ี นะ ในแตล่ ะสนามของทง้ั 12 หรือ 24 สนามการแขง่ ขนั มีจำ� นวนสนามท่ชี นะ มากที่สุดจะเปน็ ผู้ชนะ ค. ขนั้ ตอนการแข่งขัน 1. การเร่ิมเล่น (1) เมอื่ ผตู้ ดั สนิ ประกาศใหเ้ รม่ิ การแขง่ ขนั ผเู้ ลน่ ควรเรม่ิ เลน่ ตามลำ� ดบั ทก่ี ำ� หนดหรอื ตามการจบั สลาก
38 กติกาการตดั สนิ Wood Ball (2) หากผเู้ ลน่ มาสาย 5 นาที หรอื ปฏเิ สธการเลน่ หลงั จากที่ ผู้ตัดสนิ ประกาศใหเ้ รม่ิ เลน่ ผู้เลน่ คนนั้นจะถูกตัดสิทธ์จิ ากการแขง่ ขนั (3) ขณะทผี่ ้เู ลน่ เข้าไปเลน่ บริเวณเขตเร่ิมต้น ผู้เล่นท่านอื่น ตอ้ งถอยไปอย่บู ริเวณด้านหลังของเขตเรมิ่ ตน้ เพอื่ ความปลอดภยั (4) การตีครั้งแรกลูกบอลต้องวางในบริเวณเขตเร่ิมต้น และตีไปในทศิ ทางของประตู 2. ขัน้ ตอนในการเลน่ (1) ในการเลน่ ลกู บอลทเ่ี ลน่ ตอ้ งถกู ตใี หผ้ า่ นแกนกลางของ ประตูและอย่ดู ้านหลังของถ้วยไม้ จงึ จะสิ้นสุดการแขง่ ขันในแต่ละประตู * ถา้ ลกู บอลผา่ นประตแู ลว้ ไหลกลบั มาสมั ผสั กบั ถว้ ยไม้ ก็ให้ถือว่าสิ้นสุดการตี ณ ประตูนั้น ด้วยการรู้เห็นของพยาน โดยผู้ตัดสิน ผกู้ ำ� กบั เสน้ หรอื ผเู้ ลน่ สว่ นใหญเ่ หน็ ชอบในกรณที ผี่ ตู้ ดั สนิ และผกู้ ำ� กบั เสน้ ไมเ่ หน็ ถ้ามีการโต้เถียงระหว่างผู้เล่นให้ตัดสินด้วยต�ำแหน่งที่ลูกบอลอยู่ในเวลานั้น (2) ระหว่างการเลน่ หากลูกบอลกลง้ิ ออกพ้นื ดา้ นนอกเขต สนามทงั้ ลูก ใหถ้ ือว่าเป็นการออกนอกสนาม * ถ้าลูกบอลกล้ิงออกนอกเส้นเขตสนาม หลังจากน้ัน กลงิ้ กลบั มาสมั ผสั กบั เสน้ เขตสนามกใ็ หถ้ อื วา่ ออกนอกสนาม ดว้ ยการรเู้ หน็ ของพยาน โดยผู้ตัดสนิ ผู้ก�ำกบั เสน้ หรอื ผเู้ ลน่ ส่วนใหญเ่ ห็นชอบ ในกรณีท่ี ผตู้ ัดสินและผูก้ �ำกับเส้นไม่เห็น ถา้ เกดิ การโตเ้ ถยี งระหวา่ งผเู้ ลน่ ใหต้ ดั สิน ด้วยตำ� แหนง่ ทล่ี กู บอลอยูใ่ นเวลาน้ัน (3) เมื่อลูกบอลออกนอกสนาม ให้น�ำลูกบอลมาวางยัง ตำ� แหนง่ จดุ ทอี่ อกและใชจ้ ดุ นน้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางในการวางเขตรศั มี 2 หวั ไมต้ ี (4) ถ้าลูกบอลตกลงในอุปสรรคต่าง ๆ เช่น หลุม ต้นไม้ ปา่ ละเมาะ แอง่ นำ�้ เปน็ ตน้ และไมส่ ามารถตลี กู บอลได้ ใหเ้ กบ็ ลกู บอลมาวาง ที่ต�ำแหน่งของจุดอุปสรรคเข้าไปในเขตสนาม และให้ถือว่าเป็นการออก นอกสนามจะถูกนบั เพิม่ อีก 1 แต้ม
กติกาการตัดสิน 39 Wood Ball (5) ระหว่างการเล่น เม่ือผู้เล่นเริ่มยกไม้ขึ้นตี ผู้เล่นอ่ืน ๆ ต้องถอยไปอยู่บริเวณด้านข้างของเขตสนาม หรือบริเวณด้านหลังของผู้ตี โดยถอยให้หา่ งมากกว่า 3 เมตร (6) สามารถจะตลี กู บอลใหเ้ ขา้ ประตทู ง้ั ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั ของประตู เม่ือลูกบอลว่งิ ผา่ นเข้าประตูใหถ้ ือว่าได้ส้ินสดุ การตี ณ ประตนู ั้น (7) ระหวา่ งการเลน่ หากมเี หตกุ ารณต์ ามธรรมชาตบิ งั เอญิ เกดิ ขน้ึ การแข่งขนั จะเลน่ ต่อหรือหยดุ ให้ข้ึนอยูก่ บั ดุลยพนิ ิจของหัวหนา้ ผู้ตดั สนิ (8) การเล่นสนามการแข่งขันถัดไป ต้องมีการจัดล�ำดับใน การเล่นและจะมีการหมุนเวยี นผเู้ ลน่ ลำ� ดบั ตอ่ ไปเปน็ ผเู้ ร่ิมเลน่ (9) เม่ือการแข่งขันส้ินสุดลงใน 1 สนาม สามารถเร่ิมการ แข่งขันในสนามการแข่งขันถดั ไปไดด้ ้วยผ้เู ล่นคนเดิม (10) ระหว่างการเล่น ถ้าผู้เล่นต้องการเปล่ียนอุปกรณ์ จะอนุญาตให้เปล่ียนเมื่อส้ินสุดการแข่งขันแต่ละสนาม (ยกเว้นอุปกรณ์ เสียหาย) อนญุ าตให้ใช้เม่ือได้รบั การตรวจจากผูต้ ดั สินแล้ว (11 ) ในการตี ผ้เู ลน่ ตลี กู บอลและไม้ตีหกั กรณีนี้จะถกู นบั เพม่ิ 1 แต้ม และผูเ้ ล่นไมส่ ามารถเลน่ ต่ออกี จนกว่าจะถงึ ลำ� ดบั คร้ังถดั ไป (12) กรณลี กู บอลถกู ชนโดยลกู บอลจากสนามการแขง่ ขนั อนื่ แล้วลูกบอลกล้ิงไปตกในที่ต�ำแหน่งใหม่ถือให้ใช้ต�ำแหน่งนั้นเล่นต่อไป ถ้าลูกบอลถูกชนออกนอกสนามให้ถือว่าเป็นการออกนอกเขตสนาม แต่ไมน่ บั แต้มเพม่ิ (13) ผเู้ ลน่ ไมใ่ ชส้ ว่ นใดสว่ นหนงึ่ ของรา่ งกายหรอื อปุ กรณใ์ ด ๆ มาสมั ผสั กบั ลกู บอลทกี่ ำ� ลงั เลน่ ในสนามไมว่ า่ จะเปน็ ของตนเองหรอื ของผอู้ นื่ (14) ในการยิงประตู ผูเ้ ลน่ หา้ มใชไ้ มต้ ีไปถูกหรือสมั ผสั กบั ประตู หากไม้ตถี ูกหรือสัมผัสใหถ้ อื ว่าฟาวล์จะถกู นบั เพิม่ 1 แต้ม (15) การตีลูกบอล ผู้เล่นต้องไม่ถือไม้ตีอยู่ระหว่างขาทั้ง สองข้าง มฉิ ะนั้นจะถือว่าฟาวล์ ถูกนับเพม่ิ 1 แต้ม
40 กติกาการตดั สิน Wood Ball (16) กรณลี กู บอลอยนู่ อกเขต 5 เมตร หา่ งจากประตผู เู้ ลน่ ท่ีท�ำประตไู ดส้ ำ� เร็จใหล้ ดคร้ังท่ีตี 1 แตม้ จากทท่ี �ำได้ (17) ในกรณีสนามขนาดกลางและสนามขนาดยาว จะถกู ก�ำหนดเสน้ 30 เมตร ผู้เล่นทีต่ ีลูกบอลครั้งแรกและลูกบอลไม่ถึงเส้น 30 เมตร จะถกู นบั เพม่ิ 1 แตม้ ถา้ บอลออกนอกสนามและไมถ่ งึ ระยะ 30 เมตร ให้ใช้ข้อก�ำหนดเดยี วกบั การออกนอกสนาม ถ้าลกู บอลผ่านเส้น 30 เมตร และออกนอกสนามใหใ้ ชข้ อ้ กำ� หนดเดยี วกบั การออกนอกสนาม 3. การส้นิ สดุ การเลน่ (1) ผู้เล่นแต่ละคนควรมีการจดบันทึกจ�ำนวนครั้งท่ีตี ในแตล่ ะสนามแขง่ ขนั เพอื่ ยนื ยนั คะแนนของตนเองและถา้ จำ� นวนครงั้ ทต่ี ที งั้ 12 หรือ 24 สนามการแข่งขัน มีการบันทึกไม่ครบจากกรรมการ ถือว่า ผูเ้ ลน่ นัน้ ไม่สนิ้ สดุ การแข่งขัน จะไมม่ ีการนบั ผลรวมการแข่งขัน (2) การตดั สิน ก. การแขง่ ขนั นบั จ�ำนวนการตี ก.1 การแข่งขันแบบนับจ�ำนวนการตีผู้เล่นทุกคน จะถูกตัดสินจากจ�ำนวนครั้งที่ตี โดยผู้เล่นท่ีตีน้อยคร้ังท่ีสุดจะเป็นผู้ชนะ ในกรณที มี่ จี ำ� นวนครงั้ ทตี่ เี ทา่ กนั ใหน้ บั วา่ ผใู้ ดทต่ี ไี ดจ้ ำ� นวนครง้ั ทต่ี นี อ้ ยทส่ี ดุ ในประตูสุดท้ายเป็นผู้ชนะ หากยังเสมอก็นับจ�ำนวนครั้งของประตูถัดขึ้น ไปอีก (ประตูท่ี 11 ยังเทา่ กนั ก็นบั จำ� นวนครง้ั ทีป่ ระตู 10) ก.2 ในการตัดสินประเภททีมจะนับคะแนนรวมจาก ผู้เลน่ ท่ีดีทสี่ ุด 4 คนในทีม ทีมทีค่ ะแนนรวมนอ้ ยทสี่ ุดจะเปน็ ทีมที่ชนะ กรณี คะแนนรวมเทา่ กนั ในทมี ทม่ี ผี เู้ ลน่ คนใดคนหนงึ่ ทต่ี นี อ้ ยครงั้ ทส่ี ดุ จะเปน็ ทมี ชนะ ข. การแข่งขันนับตามจ�ำนวนสนามแข่งขันท่ีตีส�ำหรับ ทุกการแขง่ ขนั ผ้เู ลน่ ที่มจี �ำนวนสนามทช่ี นะมากทส่ี ดุ จะเปน็ ผ้ชู นะ กรณีท่ี ได้จ�ำนวนสนามท่ีชนะเท่ากันจะจัดให้มีการแข่งขันพิเศษเพ่ือตัดสิน ทั้งนี้ ให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของหัวหน้าผตู้ ดั สนิ เพอ่ื ใหไ้ ด้ซึ่งผลการตดั สินสดุ ท้าย
กติกาการตัดสิน 41 Wood Ball การละเมิดกฎในการเลน่ ครัง้ แรกและการลงโทษ 1. หลงั จากผเู้ ลน่ อยใู่ นตำ� แหนง่ การเลน่ เมอ่ื ผตู้ ดั สนิ ใหส้ ญั ญาณมอื เรมิ่ เลน่ (ตลี กู ) ผเู้ ลน่ ตอ้ งตลี กู ภายใน 10 วนิ าที ผฝู้ า่ ฝนื จะถกู เตอื นครงั้ แรก หากฝ่าฝืนอกี ครง้ั จะถกู ลงโทษโดยจะถกู นับเพิ่ม 1 แตม้ 2. เมอื่ ตคี รง้ั แรก ผเู้ ลน่ ตอ้ งวางลกู บอลบนเสน้ เรม่ิ ตน้ หรอื ในเขต เรมิ่ ตน้ และตอ้ งตีในขณะท่ีผ้เู ล่นอยู่กบั ท่ี 3. เมื่อผู้เล่นตีครั้งแรกพลาดลูกบอลไม่เคลื่อนจากเขตเร่ิมต้น ใหน้ บั เปน็ การตี 1 ครง้ั จากนน้ั ใหผ้ เู้ ลน่ ตอ้ งตคี รงั้ แรกอกี ครงั้ และจะนบั เปน็ การตี คร้ังท่ี 2
42 กติกาการตดั สนิ Wood Ball การละเมดิ กฎในการตแี ละการลงโทษ 1. ทุกครง้ั ท่ผี ู้เล่นตีบอล ควรยนื ดว้ ยเทา้ ทั้ง 2 ข้าง จบั ไมต้ ดี ว้ ย มือทงั้ สองขา้ ง และตีทดี่ ้านหลงั ลกู บอล ระหวา่ งการตจี ะไม่มีการเคลอ่ื นท่ี ไมต่ ีขณะก�ำลงั เดิน ผฝู้ า่ ฝนื จะถูกลงโทษโดยจะถกู นับเพมิ่ 1 แต้ม และจะตี ครั้งต่อไปจากต�ำแหน่งใหม่ของลกู บอล 2. ในการตี ผเู้ ลน่ อาจลองตซี อ้ มโดยตไี มส่ มั ผสั ลกู บอล ทง้ั หมดนี้ จะไมน่ บั แตม้ แต่ไม่ควรซอ้ มอย่างซำ้� ๆ หลายครงั้ เพราะจะสง่ ผลใหก้ าร แข่งขันล่าช้า ผู้ฝ่าฝืนจะถูกตักเตือนในครั้งแรก หากฝ่าฝืนอีกครั้งจะถูก ลงโทษโดยจะถกู นบั เพ่ิม 1 แตม้ 3. เม่อื ผเู้ ล่นตอี กี ครง้ั ควรตลี กู ภายใน 10 วนิ าที หากฝา่ ฝืนจะ ถูกเตือนครั้งแรก หากฝา่ ฝนื อีกคร้ังจะถูกลงโทษโดยจะถูกนบั เพม่ิ 1 แตม้ 4. ขณะทมี่ ผี เู้ ลน่ กำ� ลงั ตลี กู บอล ไมอ่ นญุ าตใหผ้ เู้ ลน่ คนอน่ื เดนิ เขา้ หรือเดนิ ตดั หน้าสนาม ผ้ใู ดฝ่าฝนื จะถูกลงโทษโดยจะถกู นบั เพ่ิม 1 แต้ม 5. ขณะทผี่ เู้ ลน่ กำ� ลงั ตลี กู บอล ผเู้ ลน่ คนอนื่ ไมค่ วรสง่ เสยี งตะโกน หรือพูดไม่สุภาพท่ีส่งผลต่อการตีของผู้เล่น ผู้ฝ่าฝืนจะถูกลงโทษโดยจะถูก นับเพมิ่ 1 แตม้ 6. การตีลูกบอล ผู้เล่นท่ีเหวี่ยงไม้ตีสัมผัสลูกบอลหรือลูกบอล เคลอ่ื นไหวถือว่าเป็นการตี และนับ 1 แตม้ 7. การตลี ูกบอล ผเู้ ลน่ ต้องตีลูกบอลด้วยหัวไมต้ ี หรอื ด้านทา้ ย ของไมต้ เี ทา่ นนั้ ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ชด้ า้ นขา้ ง หรอื ดา้ มจบั ของไมต้ ี ผฝู้ า่ ฝนื จะถกู ลงโทษโดยจะถกู นบั เพ่มิ 1 แตม้ และจะตคี รง้ั ตอ่ ไปจากต�ำแหน่งใหมข่ อง ลกู บอล
กติกาการตัดสนิ 43 Wood Ball 8. ไม่อนุญาตให้ใช้ไม้ตีผลักหรือดันลูก ผู้ฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ โดยจะถูกนับเพิม่ 1 แตม้ และจะตีครงั้ ต่อไปจากตำ� แหนง่ ใหมข่ องลูกบอล 9. ไม่อนุญาตให้ตีบอลซ้�ำ (ขณะท่ีลูกบอลก�ำลังวิ่งอยู่) ผู้ฝ่าฝืน จะถูกลงโทษโดยจะถกู นับเพ่มิ 1 แตม้ และจะตีคร้ังตอ่ ไปจากต�ำแหนง่ ใหม่ ของลกู บอล
44 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball การละเมดิ กฎในการเลน่ และการลงโทษ 1. ผเู้ ลน่ ทถี่ กู บอลหา่ งจากประตมู ากกวา่ จะไดเ้ ปน็ ผตู้ กี อ่ นหรอื ขนึ้ กบั ดลุ ยพนิ จิ ของผตู้ ดั สนิ ผเู้ ลน่ ไมส่ ามารถเลน่ ไดต้ ามใจตนเอง ผฝู้ า่ ฝนื จะถกู โทษโดยจะถกู นบั เพม่ิ 1 แตม้ และจะตคี รงั้ ตอ่ ไปจากตำ� แหนง่ ใหมข่ องลกู บอล 2. ผเู้ ลน่ ทต่ี ลี กู บอลออกนอกเสน้ เขตสนาม โดยไมส่ มั ผสั กบั เสน้ เขตสนามถอื ว่าเป็นการออกนอกสนามจะถกู นับเพิ่ม 1 แต้ม 3. ในระหว่างการแข่งขัน หากลูกบอลไปขวางทางผู้เล่นคน ถัดไป ผเู้ ล่นสามารถขออนญุ าตตลี ูกบอลก่อน หรอื หยบิ ลกู บอลข้นึ และทำ� เครื่องหมายไว้ได้ ท้ังนี้ ต้องอยู่ภายใต้ความยินยอมของผู้ตัดสิน หากผู้ใด ฝา่ ฝนื ค�ำสั่งผ้ตู ัดสิน จะถูกลงโทษโดยจะถกู นับเพม่ิ 1 แตม้ 4. หากลูกบอลชนสิ่งกีดขวางที่น�ำมาท�ำเป็นเส้นเขตสนามแล้ว กระดอนอยบู่ นสนามไมถ่ อื วา่ เปน็ การออกนอกเสน้ สนาม แตห่ ากลกู บอลชน สงิ่ กดี ขวางแลว้ ออกนอกเสน้ เขตสนามถือว่าเป็นการออกนอกสนาม 5. เมอื่ ผู้เลน่ เลน่ ในเขตสนามทม่ี คี วามโคง้ ต้องเลน่ ไปตามทาง บนสนาม ไม่อนุญาตให้ตีลูกบอลลอยออกนอกสนามเพื่อเป็นการตัดมุม หากลูกลักษณะเช่นนี้ จะนับวา่ เป็นลูกออกนอกสนามทนั ที 6. เม่อื ลกู บอลในสนามมกี ารชนกัน (1) ลูกบอลที่ถูกชนกลิ้งไป และไม่ออกนอกสนาม ให้ใช้ ตำ� แหนง่ ใหมข่ องลกู บอลในการตีคร้งั ต่อไป - ลกู บอลทถี่ กู ชนกลง้ิ ไปและผา่ นประตใู หถ้ อื วา่ เปน็ การ สนิ้ สดุ การแขง่ ขนั ประตนู น้ั ของเจา้ ของลกู ในสนามนน้ั - ลูกบอลท่ีถูกชนกล้ิงไปและออกนอกเส้นเขตสนาม ให้ถือว่าเป็นการออกนอกสนาม แต่ไม่นับแต้มเพิ่ม และ ใชจ้ ดุ ออกนน้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางวดั เขา้ มารศั มี 2 หวั ไม้ ตเี พ่อื ตีคร้ังต่อไปของเจา้ ของลกู
กตกิ าการตดั สนิ 45 Wood Ball (2) ลกู บอลของผตู้ ชี นและออกเสน้ เขตสนามถอื วา่ เปน็ การออก นอกสนามจะถูกนบั เพมิ่ 1 แตม้ (3) ลูกบอลของผู้ตีชนและไม่ออกนอกสนามให้ใช้จุดท่ี ลกู บอลหยุดตำ� แหน่งใหม่ในการตีครง้ั ตอ่ ไป 7. ในขั้นตอนการเล่น ถ้าผู้เล่นไม่มีน้�ำใจนักกีฬา ผู้ตัดสินจะ ตกั เตอื นใหป้ รบั ปรงุ พรอ้ มกบั ถกู ลงโทษโดยถกู นบั เพม่ิ 1 แตม้ หากยงั กระทำ� การฝา่ ฝืนซำ้� จะถูกยกเลกิ และตัดสิทธจ์ิ ากการแข่งขนั 8. เมอื่ ผเู้ ลน่ ในสนามใชส้ ว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของรา่ งกายหรอื อปุ กรณ์ ใด ๆ มาสัมผัสลูกบอลของตนเองหรือของผู้อื่นจะถูกลงโทษโดยจะถูกนับ เพม่ิ 1 แต้ม และให้ใชจ้ ุดท่ลี ูกบอลหยุดเป็นต�ำแหนง่ ใหม่ในการตีครั้งต่อไป 9. เมอื่ ผเู้ ลน่ ในสนามตลี กู บอลดว้ ยทา่ ทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามกฎ หรอื ตี ลกู บอลดว้ ยทา่ ทไ่ี มต้ อี ยรู่ ะหวา่ งขาทงั้ สองขา้ งจะถกู ลงโทษโดยจะถกู นบั เพมิ่ 1 แตม้ และใหใ้ ชต้ ำ� แหนง่ ใหมข่ องลกู บอลในการตคี รง้ั ตอ่ ไป (ถา้ ลกู บอลผา่ น ประตู กรณนี ้ีจะไม่ยอมรบั เป็นการเขา้ ประต)ู
46 กตกิ าการตัดสนิ Wood Ball การละเมดิ กฎในเขตประตูและการลงโทษ 1. ผตู้ ดั สนิ สามารถตดั สนิ ใจในการเรยี งลำ� ดบั การตตี ามเงอ่ื นไข ของการตีลูกบอลภายในเขตประตู โดยหลักปฏิบัติแล้ว ลูกบอลที่อยู่ใกล้ ประตูมากท่ีสุดจะเป็นผู้ได้ตีก่อน หากผู้เล่นฝ่าฝืนกฎจะถูกลงโทษโดยจะ ถูกนับเพิ่ม 1 แต้ม และให้ใช้ต�ำแหน่งใหม่ของลูกบอลในการตีครั้งต่อไป (ถา้ ลกู บอลผ่านเข้าประตู กรณีนจ้ี ะไม่ยอมรับเป็นการเขา้ ประตู) 2. ผู้เล่นท่ีมีเจตนาท�ำให้ประตูเสียหาย จะถูกตักเตือนและถูก ลงโทษโดยจะถกู นับเพิม่ 1 แต้ม หากยงั กระทำ� การฝา่ ฝนื ซ้�ำจะถกู ยกเลิก และตดั สิทธ์ิจากการแขง่ ขนั
ภาค 3
กตกิ าการตดั สิน 49 Wood Ball ภาค 3 การให้สญั ญาณมือ ของผู้ตัดสินกีฬาวูด้ บอล 1. สัญญาณการเร่มิ เลน่ (Start to Play) ผตู้ ัดสินยืน่ แขนออกไป และแบฝา่ มือเอียงทำ� มุม 45 องศา ชไี้ ปยงั ลกู บอลทต่ี อ้ งการใหเ้ รมิ่ เลน่ พรอ้ มขานหมายเลขผเู้ ลน่ ใหอ้ อกมาเลน่
Search