บทท่ี 5 จรยิ ธรรมและวินยั ของประธานกรรมการและสมาชกิ 18: ประธานกรรมการและสมาชิกจะต้องปฏิบัติตามกฎจริยธรรม และวนิ ยั ต่อไปน้:ี (ก) จะต้องไม่เป็นหนี้ และไม่จงรักภักดีต่อรัฐอื่นๆ นอกเหนือ จากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (ข) จะต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติท่ีมีอยู่ในรัฐธรรมนูญและ กฎหมายท่ีมอี ยู่ (ค) ต้องปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี ยา่ งตรงไปตรงมาโดยไมท่ ุจริต (ง) จะตอ้ งท�ำงานใหส้ อดคลอ้ งกบั หน้าทแี่ ละศักด์ศิ รี บทท่ี 6 การประชุมคณะกรรมการ 19: การประชมุ ทว่ั ไปของคณะกรรมการจะจดั ขนึ้ อยา่ งนอ้ ยสองครงั้ ตอ่ เดอื น นอกจากจะมีสิง่ จ�ำเป็นพิเศษอาจมกี ารเรยี กประชมุ เพม่ิ เติมได้ 20: ประธานคณะกรรมการท�ำหนา้ ทเ่ี ป็นประธานในการประชุม 21: (ก) สํานักงานคณะกรรมการจะท�ำหน้าทบ่ี ันทกึ การประชุม (ข) การประชุมแต่ละคร้ังจะถูกส่งไปยังการประชุมคร้ังต่อๆ ไปจนเรือ่ งได้รบั การอนุมัติ (ค) การตัดสินใจของคณะกรรมการท่ียังไม่ได้มติชัดเจน ถือเป็นการประชมุ ทเี่ ป็นความลบั บทที่ 7 ท่ัวไป 22: การท�ำงานเตรียมความพร้อมในการด�ำเนินการโดย คณะกรรมการสนั ตภิ าพและการพฒั นาแหง่ รฐั กอ่ นทกี่ ฎหมายฉบบั นจ้ี ะ มผี ลบงั คบั ใชส้ �ำหรบั การด�ำเนนิ การตามกฎหมายนจ้ี ะถอื วา่ ไดด้ �ำเนนิ การ 150
ตามรฐั ธรรมนญู 23: การคัดเลอื กและฝึกอบรมคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือนท่ี เกิดข้ึนภายใต้กฎหมายการคัดเลือกและการฝึกอบรมคณะกรรมการ ขา้ ราชการพลเรือน (สภาผ้แู ทนราษฎร กฎหมายฉบับท่ี 4/1977) จะยงั คงปฏิบัติหน้าท่ีและอ�ำนาจของตนจนกว่าจะถึงวันก่อต้ังคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรอื น ภายใต้กฎหมายนี้ 24: ระเบียบ ค�ำสั่ง และวิธีการท่ีออกโดยคณะกรรมการคัดเลือก และการฝึกอบรมข้าราชการพลเรือนก่อนที่กฎหมายน้ีบังคับใช้ อาจ น�ำไปใช้เท่าทจี่ ะไม่ขัดตอ่ บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญและกฎหมายนี้ 25: ให้คณะกรรมการเป็นเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานคณะกรรมการท่ีจะ ด�ำเนนิ การท�ำงานของส�ำนกั งานต่างๆ ของคณะกรรมการโดยความเห็น ชอบของรฐั บาล 26: กฎหมายน้ีอาจมีการแก้ไข แทรก หรือยกเลิกโดยรัฐสภา ซ่ึง ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา โดยการแก้ไขท่ีเกิดขึ้นจะ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั รฐั ธรรมนญู ของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ โดย กฎหมายน้จี ะยังคงมีผลบังคับใชใ้ นส่วนที่ไม่ไดร้ บั การยกเลิกโดยรฐั สภา 27: ในการด�ำเนินการตามบทบัญญัติที่มีอยู่ในกฎหมายน้ี คณะกรรมการอาจ (ก) ออกระเบียบท่จี �ำเปน็ ดว้ ยความเหน็ ชอบของรฐั บาล (ข) ออกระเบยี บ ประกาศ ค�ำสง่ั ที่จ�ำเปน็ ตามข้ันตอน 28: กฎหมายการคดั เลอื กและการฝกึ อบรมคณะกรรมการขา้ ราชการ พลเรือน (สภาผู้แทนราษฎรกฎหมายฉบับที่ 4/1977) จะถูกยกเลกิ ตาม (ก) การก�ำหนด (ข) ตาย ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 151
(ค) การก�ำหนดเป็นผู้วิกลจริต ซึ่งสอดคล้องกับบทบัญญัติของ กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง (ง) การไมย่ อมรบั การตดั สนิ ใจในความบรสิ ทุ ธทิ์ างศลี ธรรมจาก กลมุ่ สงฆ์ ผ้เู ชยี่ วชาญที่เกยี่ วข้องในนิกาย หรือค�ำส่งั คณะสงฆ์ เน่อื งจาก การฟอ้ งรอ้ งการกระท�ำผดิ กฎหมายของกฎวนิ ัยของพระสงฆ์ (Parajika Vinaya) (จ) การตัดสนิ จากการกระท�ำผดิ กฎหมายใดๆ (ฉ) ผดิ จากกฎหมายของสหภาพเมยี นมาร์ บทที่ 8 เบ็ดเตลด็ 30: เงนิ และทรพั ยส์ นิ อน่ื ๆ จากการท�ำงานและสงิ่ ทก่ี �ำลงั ด�ำเนนิ การ ตามสิทธิและความรับผิดชอบในการคัดเลือกผู้รักษาพระไตรปิฎก (Tipitakadhara) โดยคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อคัดเลือกผู้รักษา พระไตรปิฎก (Tipitakadhara) ตามพระราชบญั ญตั ปิ ี พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ซง่ึ ถกู ยกเลกิ โดยมาตรา 35 จะตกเปน็ ของคณะกรรมการคดั เลอื ก 31: พระสงฆข์ องศาสนาทคี่ งเหลอื จากการตรวจสอบคดั เลอื กผรู้ กั ษา พระไตรปิกฎท่ีจัดขึ้นโดยสมาคมเพ่ือสนับสนุนพระพุทธศาสนา หรือกระทรวงศาสนาในนามของสมาคมรัฐศาสนาก่อนที่กฎหมายน้ีมี ผลบังคับใชจ้ ะมสี ทิ ธิทจ่ี ะด�ำเนนิ การตอ่ ไป และได้รับสิทธสิ มควรภายใต้ กฎหมายนอี้ ยา่ งต่อเนือ่ ง 32: เรื่องท่ีด�ำเนินการโดยกลุ่มศาสนา (Ovadacariya) หรือ คณะกรรมการคดั เลอื กจะไมถ่ กู ตอ้ ง เนอ่ื งจากต�ำแหนง่ ทว่ี า่ งของสมาชกิ ที่เกยี่ วข้องใดๆ 152
33: กฎระเบียบที่มีอยู่ในข้อก�ำหนดแรกของบทบัญญัติและ กฎระเบียบที่มีอยู่ในข้อก�ำหนดที่สองและสามของตารางผู้รักษา พระไตรปิฎก (Tipitakadhara) ตามพระราชบัญญัติปี พ.ศ. 2503 ซึง่ ถูกยกเลิกโดยมาตรา 35 อาจจะยงั คงมผี ลบังคบั ใชจ้ นกวา่ บทบัญญัติ นนั้ จะไม่สอดคลอ้ งกับกฎหมายนี้ 34: การด�ำเนนิ การตามบทบญั ญัติของกฎหมายน:้ี (ก) กระทรวงศาสนาอาจเหน็ ชอบตามรัฐบาลท่ีจะออกระเบียบ ท่จี �ำเป็น (ข) กระทรวงศาสนาอาจค่อยๆ ออกระเบียบตามค�ำประกาศ และค�ำสั่งตามความจ�ำเป็น และคณะกรรมการคัดเลือกอาจออกค�ำส่ัง ดังกล่าวตามความจ�ำเป็น 35: ผรู้ กั ษาพระไตรปฎิ กทถ่ี กู เลอื กจากพระราชบญั ญตั ปิ ี พ.ศ. 2503 จะถกู ยกเลกิ ไป 7.3 กฎหมายแรงงาน ความสัมพันธทางกฎหมายระหวางนายจางและลูกจางในเมียนมาร์ นั้น จะปรากฏในสัญญาจางแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เร่ืองขอ้ ก�ำหนด เวลาท�ำงาน การหยดุ งานประจําป และสวสั ดกิ ารเรอื่ งการรกั ษาพยาบาล ของพนักงาน ท้ังนี้กฎหมายแรงงานของเมียนมาร์กําหนดวา แม้ว่า การจ้างแรงงานระหว่างนายจ้างและลูกจ้างใดจะไม่ไดท�ำเป็นสัญญา แตส ทิ ธดิ งั ทีจ่ ะกลาวตอไปนี้ จะตองไมน อยกวาท่กี ฎหมายกําหนดไว ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ 153
ขอกําหนดวาดวยเรอ่ื งแรงงาน • ชั่วโมงทํางานของลกู จางตามที่กฎหมายกําหนดน้ัน ถกู แบงออก เป็นประเภทกิจการ 3 ประเภท และลกู จางจะมีชัว่ โมงทํางานสูงสดุ ต่อ สปั ดาหด ังนี้ และหากนายจางใหท ํางานเกินกวาทกี่ ฎหมายกําหนด กจ็ ะ ตอ้ งจา่ ยคา่ จา้ งล่วงเวลาเป็นเงนิ สองเทา่ ของคา่ จ้างในเวลาทํางานปกติ 1) กิจการประเภทบริษัท รานคา หางสรรพสินคา และโรงงาน ลูกจางจะทํางานได 48 ช่วั โมงตอ สัปดาห 2) กจิ การประเภทขดุ เจาะนำ�้ มนั และเหมอื งแร ลกู จา้ งจะท�ำงาน ได 44 ชั่วโมงตอสัปดาห 3) กิจการเหมืองแรใตดิน ลูกจางจะทํางานได 40 ชั่วโมงตอ สปั ดาห • การลาและวันหยุดประจําปภายใตกฎหมายวันลาและวันหยุด พ.ศ. 2494 (Leave and Holidays Act 1951) ลูกจา้ งทกุ คนมสี ทิ ธทิ ี่ จะลางาน ดังนี้ 1) ลากิจได 6 วันตอ ปี 2) ลาประจําปได 10 วนั ตอปี 3) ลาป่วยไดไ มเกนิ 30 วนั ตอปี 4) วันหยุดราชการ 21 วัน 5) ลาคลอด ไมมีกฎหมายใดกําหนดระยะเวลาในการลาคลอด บุตรไว แตในทางปฏิบัตินายจางจะใหลูกจางหญิงลาคลอดบุตรไดเป็น เวลา 12 สัปดาห ตามที่ราชการอนุญาตใหขาราชการหญงิ ลาคลอดและ เลีย้ งดบู ตุ รได 154
• การประกันสังคมและคาชดเชยสําหรบั ลกู จาง กฎหมายประกัน สังคม พ.ศ. 2497 (Social Security Act 1954) กําหนดใหนายจางท่ีมี ลูกจ้างในสถานประกอบการตงั้ แต 5 คนข้ึนไป จะตองจดั ใหมีการสง เงิน เขากองทนุ ประกนั สงั คม ซงึ่ การจายเงนิ สมทบของนายจางจะเปน รอ ยละ 2.5 ของคาจ้างท่จี ายใหลูกจางแตละคน และลกู จางตอ งจายรอยละ 1.5 ของเงินเดือน สิทธิของลูกจางตามกฎหมายประกันสังคม คือ จะไดรับ การรักษาพยาบาลฟรี ไดรับเงินชดเชยขณะพักรักษาตัว คลอดบุตร และทุพพลภาพ เงินชวยคาทําศพ และเงินบํานาญ ในกรณีที่ลูกจ้าง ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม นายจ้างก็มีหน้าที่การจายคาชดเชย ในกรณีที่ลูกจ้างไดรับบาดเจ็บท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทํางานตามกฎหมาย ค่าตอบแทนของคนงาน พ.ศ. 2466 (Workmen’s Compensation Act 1923) ไดก ําหนดไว • การรักษาความปลอดภัยในการทํางาน นายจ้างมีหน้าที่จะต้อง จัดสภาพการท�ำงานให้มีความปลอดภัยแกลูกจาง และจะตองมี การอบรมใหพนักงานสามารถใชอุปกรณรักษาความปลอดภัยได นอกจากน้ีจะตอ งจัดใหม ชี ุดปฐมพยาบาลไวในสถานประกอบการดว ย • คาตอบแทนในการทํางาน ในประเทศเมียนมาร์ไมไดมี การกําหนดคาแรงข้ันตํ่าไว ยกเวนอุตสาหกรรมโรงสีขาว และใบยาสูบ ดังน้ันค่าแรงจึงข้ึนอยู่กับการตกลงกันระหว่างนายจ้างและลูกจาง ซงึ่ มกั จะใชป้ ระสบการณ และความรู้ รวมทงั้ ฝม อื และความตอ งการของ ตลาดแรงงานของลกู จางมาเปน็ ตัวกําหนดคาจาง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 155
• การระงับขอพิพาทแรงงาน หากมีขอพิพาทที่เกิดข้ึนจาก การจ้างแรงงาน ไมวาจะเปนขอพิพาทระหวางนายจางและลูกจ้าง เรอ่ื งการจาง งาน การระงบั การจางงาน ขอ กําหนดการจางงาน ขอ พพิ าท ระหวางนายจาง หรือขอพิพาทระหวางลูกจาง ก็จะตองหาทางระงับ ขอพิพาทระหวางกันเองเสียกอน และหากการระงับขอพิพาท ระหวางกันไมไดผล จึงจะย่ืนขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการภายใต้ กฎหมายขอ้ พพิ าททางการคา้ พ.ศ. 2472 (Trade Disputes Act 1929) เปนผตู้ ัดสนิ 156
7.3.1 กฎหมายแรงงานและอัตราค่าแรง กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการจ้างงานชาวเมียนมาร์ ได้แก่ พระราช- บัญญตั ิการจ้างงานปี พ.ศ. 2502 (The Employment Registration Act 1959) และพระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สงั คมปี พ.ศ. 2497 (The Social Security Act 1954) สรุปไดด้ ังตาราง ตารางแสดงกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั การจ้างงานชาวเมยี นมาร์ พระราชบัญญตั ิ ระเบยี บการ พระราชบัญญตั กิ ารจา้ งงานปี พ.ศ. 2502 (The Employment Registration Act 1959) • ช่ัวโมงการท�ำงาน 1. โดยทวั่ ไป 8 ชั่วโมง/วนั 2. บรษิ ทั ศนู ยก์ ารคา้ โรงงาน 48 ช่วั โมง/สัปดาห์ 3. อตุ สาหกรรมเหมืองแร่ และ ขุดเจาะนำ้� มนั 44 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 4. การท�ำเหมอื งแรใ่ นอโุ มงคใ์ ตด้ นิ 40 ชัว่ โมง/สัปดาห์ 5. เวลาท�ำงานราชการ 09.30- 16.30 น. วนั จนั ทร-์ วนั ศกุ ร์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 157
• วันลาพักร้อน/ต่อปี 1. วันลาพักร้อน 6 วนั /ปี (ส�ำหรบั (ไดร้ ับคา่ จ้าง) พนักงาน) • วัดหยุดราชการ (ไดร้ ับค่าจ้าง) 2. 30 วัน/ปี (ส�ำหรับผู้บริหาร ระดบั สูง) 3. 20 วัน/ปี (ส�ำหรับผู้บริหาร ระดบั กลาง) 4. 10 วัน/ปี (ส�ำหรับผู้บริหาร ระดบั ต้น) 21 วัน/ปี • วนั หยุดลาคลอด (ได้รบั คา่ จา้ ง) 1. ก่อนคลอด ลาพักได้ 45 วนั 2. หลงั คลอด ลาพกั ได้ 45 วนั พระราชบญั ญตั ปิ ระกันสังคมปี พ.ศ. 2497 (The Social Security Act 1954) • คา่ จ้าง พนักงานโรงงานข้ันต�่ำ 2,000- 3,000 จั๊ด/เดอื น (ขึ้นอยกู่ ับ ความช�ำนาญ) • บริษัทเอกชนท่ีมีพนักงานตั้งแต่ ร่วมจ่ายค่าประกันสังคมจากเงิน 5 คนขน้ึ ไป เดือนประจ�ำร้อยละ 2 ให้แก่ กองทุนประกันสงั คม 158
พระราชบญั ญัติ ระเบียบการ • สิทธิประโยชน์ 1. ได้รับการตรวจสุขภาพและยา รักษาโรคฟรี 2. เงนิ สงเคราะหค์ า่ รกั ษาพยาบาล 3. เงนิ สงเคราะห์การคลอดบุตร 4. เงนิ ช่วยเหลอื งานฌาปนกจิ 5. เงินสงเคราะห์ผู้พิการช่ัวคราว และตลอดชพี 6. เงนิ บ�ำนาญ ทม่ี า: http://www.boi.go.th นอกจากนี้รัฐบาลเมียนมาร์ได้ประกาศใช้กฎหมายการจ้างงาน และการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2556[8] ที่มีผลบังคับใช้ต้ังแต่ 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2556 ซ่ึงมี 42 มาตรา โดยแยกเปน็ หมวดดงั นี ้ 1. ชอ่ื และบทนยิ าม 2. การจัดหางานและจัดจ้าง 3. สญั ญาจา้ งแรงงาน 4. คณะท�ำงานการจ้างงานและการพฒั นาฝีมอื แรงงาน 5. การพฒั นาฝีมือแรงงานและโครงการฝกึ อบรม 6. การจดทะเบียนและการจัดต้ังโรงเรียนฝึกอบรมและกรม การประเมินฝมี อื แรงงาน ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์ 159
7. การแขง่ ขนั ฝมี ือ 8. การตั้งและการใช้กองทุนพฒั นาฝมี ือแรงงาน 9. ความผดิ และบทลงโทษ 10. ข้อก�ำหนดอนื่ ๆ หลังจากกฎหมายฉบับน้ีมีผลบังคับใช้ นายจ้างท่ีมีลูกจ้างจะต้องท�ำ สัญญาจ้างงานเป็นหนังสือภายใน 30 วัน นอกเสยี จากกรณกี ารจา้ งงาน ถาวรของหน่วยงานหรือองค์กรของรัฐบาล หรือกรณีฝึกงานก่อนรับ เข้างาน หรือกรณีการทดลองงาน หรือกรณีของการจ้างงานก่อนหน้า กฎหมายฉบับนบี้ งั คบั ใช้ กฎหมายก�ำหนดให้หนังสือสัญญาจ้างงานดังกล่าว จะต้องมีเน้ือหา ดังต่อไปน้ี ได้แก่ ประเภทการจ้างงาน ระยะเวลาทดลองงาน ค่าจ้าง สถานทท่ี �ำงาน เงือ่ นไข จ�ำนวนชัว่ โมงท�ำงาน วันหยดุ วันลา การท�ำงาน ลว่ งเวลา การจัดหามื้ออาหารใหร้ ะหว่างเวลางาน ทพ่ี ักอาศัย การรักษา พยาบาล การเดินทางไปท�ำงานและท่ีอ่ืน ข้อบังคับการท�ำงาน เพดาน ช่ัวโมงการท�ำงานต่อเน่ือง หลังจากการฝึกงานที่ลูกจ้างยินยอม การลาออกและเลิกจ้าง การเลิกสัญญาฝ่ายเดียว การเลิกสัญญา สองฝ่าย หน้าท่ีตามสัญญา การแก้ไขเพ่ิมสัญญา และข้อสัญญาอื่นๆ ทั้งนส้ี ทิ ธิประโยชนต์ ่างๆ ต้องไม่ด้อยกว่าทก่ี ฎหมายก�ำหนดไว้ นายจ้างยังมีหน้าท่ีในการส่งส�ำเนาสัญญาจ้างงานนั้นให้แก่ ศนู ย์การจา้ งงานและแลกเปลยี่ นแรงงาน (Employment and Labor Exchange Office) เพื่อขออนุมัติการจ้างงานนั้นภายในระยะเวลา ท่กี �ำหนด (ยงั ไมม่ ีการก�ำหนดระยะเวลาดงั กล่าว) 160
ในกรณีลูกจ้างได้ท�ำงานส�ำเร็จก่อนก�ำหนดในสัญญา หรือในกรณีท่ี การจ้างงานนั้นถูกยกเลิกด้วยเหตุที่มิได้คาดไว้ล่วงหน้า (ไม่ว่าบางส่วน หรือทั้งหมด) หรือในกรณีเลิกจ้างด้วยเหตุอื่น นายจ้างมีหน้าท่ีต้อง จ่ายเงินชดเชย ตามกฎท่ีออกโดยกระทรวงแรงงานและประกันสังคม (Ministry of Labor, Employment and Social Security) ซง่ึ ปจั จบุ นั ยังไม่มกี ารออกกฎดังกล่าว นอกจากน้ี นายจ้างมีหน้าที่จัดการฝึกหัดพัฒนาแรงงานอย่างเป็น ระบบตามทค่ี ณะท�ำงานตามกฎหมายไดก้ �ำหนดไว้ และมหี นา้ ทน่ี �ำสง่ เงนิ เข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานตามกฎหมายฉบับนี้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของค่าแรงในแต่ละเดือน โดยไม่หักจากค่าแรงหรือเงินเดือน ของลูกจ้าง ทงั้ นี้ หากนายจา้ งขาดส่งเงินเขา้ กองทุนดงั กลา่ ว นายจ้างจะ ถกู เรยี กเกบ็ เงินค้างสง่ นน้ั ในลักษณะเดียวกบั ภาษีคา้ งช�ำระ 7.4 กฎหมายเขา้ เมือง ข้อก�ำหนดเรื่องใบอนุญาตเข้าเมือง และการอนุญาตท�ำงานส�ำหรับ แรงงานตางชาติ ตามกฎหมายเมียนมาร์วาดวยคนเขาเมือง (Myanmar Immigration Act of 1947) กําหนดใหชาวตางชาติท่ีจะเดินทางเขา ประเทศเมยี นมาร์ตองมีการขอใบอนญุ าตเขาเมือง (Visa) กอ น แมว าใน ขณะนปี้ ระเทศสมาชกิ ในกลมุ ประเทศอาเซยี นไดม คี วามตกลงรว มกนั ท่ี จะยกเวน การขอวีซาประเภทชั่วคราวใหกับคนในชาติของประเทศ สมาชกิ แตป ระเทศเมียนมารย์ งั ไมไ่ ด้มกี ารงดเวน้ การขอวซี า่ ใหชาติใดๆ ดังนั้นชาวไทยที่ต้องการเดินทางไปเมียนมาร์ก็จะตองย่ืนขออนุญาต ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 161
เขาเมอื งกอ นเดนิ ทาง การจางแรงงานชาวตางชาตกิ อ็ ยภู ายใตบ งั คบั ของ กฎหมายแรงงานเมยี นมาร์ (Myanmar Labor Law) ทงั้ นเี้ มยี นมารไ์ มม ี ระบบการขอใบอนญุ าตทํางาน (Work Permit) ทอี่ นญุ าตใหช้ าวตางชาติ พ�ำนักและทํางานในเมียนมาร์ได้ แต่ในหนังสือตรวจตราคนเขาเมือง ประเภททํางาน (Work Visa) จะใชใ บอนญุ าตใหอ้ ยพู่ �ำนกั (Stay Permit) แทน ดังนั้นการทํางานท่ีเมียนมาร์จะตองไดรับใบอนุญาตให้อยู่พ�ำนัก (Stay Permit) ถึงจะสามารถอยูในประเทศเมียนมาร์เปนชวงเวลา นานกวาใบอนุญาตเขาเมืองชั่วคราว โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติเร่ือง การ ทํางานของชาวตางชาติในเมยี นมารน์ ั้น บริษทั ต้องได้รบั ใบอนุญาต จากคณะกรรมการลงทนุ เมยี นมาร์ (MIC Permit) กอ่ น ภายใตก้ ฎหมาย เมียนมาร์ว่าด้วยการลงทุนของตางชาติ (MFIL) จึงจะสามารถจางงาน ชาวตางชาติได้ และการลงทุนของตางชาติประสงคจะจางผูเช่ียวชาญ 162
หรือชางเทคนิค หรือผูบริหารท่ีเปนชาวตางชาติ ตองแจงจํานวน ชาวตางชาตทิ ตี่ อ งการจางแกค่ ณะกรรมการลงทนุ เมยี นมาร์ (MIC) ทราบ ในขณะย่ืนขออนุมัติการลงทุน ซ่ึงตําแหนงที่ขอจางชาวตางชาติน้ัน ตองเปนกรณีที่ชาวเมียนมาร์ทําไม่ได้ หลังจากได้รับใบอนุญาตจาก คณะกรรมการลงทุนเมียนมาร์ (MIC Permit) แล้ว บริษัทจะต้องย่ืน ขอใบอนุญาตให้อยู่พ�ำนัก (Stay Permit) ผานกระทรวงท่ีกํากับดูแล กิจการท่ีบริษัทดําเนินกิจการอยู เพ่ือย่ืนเรื่องขออนุญาตตอไปยังแผนก ตรวจคนเข้าเมือง (Department of Immigration) ทีจ่ ะมอี ายุ 3 เดือน หรอื 12 เดอื น และสามารถเขา้ ออกประเทศหลายครง้ั ไดใ นระหวางเวลา ทีไ่ ดร บั ใบอนญุ าตให้อยูพ่ �ำนัก (Stay Permit) 7.5 กฎหมายอ่ืนๆ ทค่ี วรรู้ 7.5.1 กฎหมายลงทนุ ตา่ งชาติฉบับใหม่ ประธานาธิบดีเต็ง เส่ง ได้ลงนามรับรองกฎหมายลงทุนต่างชาติ ที่ส�ำคัญในการปฏิรูปประเทศของเมียนมาร์ ซึ่งด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่อง และเปน็ ปจั จยั เสรมิ ทที่ �ำใหเ้ ศรษฐกจิ ของเมยี นมารอ์ ยใู่ นระดบั แขง็ แกรง่ ด้วยค่าจ้างแรงงานที่อยู่ในระดับต�่ำ ทั้งมีวัตถุดิบท่ีหาได้จากความ อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติท่ีนักลงทุนจากท่ัวทุกมุมโลกให้ ความสนใจเปน็ พน้ื ฐาน และการออกกฎหมายลงทนุ ท่ยี ดื หยุ่นนี้ คาดว่า จะมีส่วนกระตุ้นมูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) มากขนึ้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 163
จากรายงานการลงทนุ โลกประจ�ำปี พ.ศ. 2555 (World Investment Report 2012 ) ประมาณการมลูค่า FDI ของเมยี นมาร์ปี พ.ศ. 2555 นี้ เพมิ่ ขน้ึ กวา่ เทา่ ตวั นบั จากปี พ.ศ. 2549 ทง้ั รฐั บาลเมยี นมารไ์ ดม้ อบอ�ำนาจ หน้าที่อย่างชัดเจนแก่คณะกรรมการการลงทุนเมียนมาร์ (Myanmar Investment Commission-MIC) ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงานของรฐั บาลเมยี นมาร์ ท�ำหน้าท่ีส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ พร้อมท้ังขยายขอบเขต อ�ำนาจในการยอมรับหรือปฏิเสธธนาคารพาณิชย์ท่ีนักลงทุนเสนอ รวมถึงการให้อ�ำนาจในการลงโทษนักลงทุนต่างชาติที่กระท�ำการฝ่าฝืน กฎหมายหรือกฎระเบียบต่างๆ ต้ังแต่การตักเตือน การระงับสิทธิ ประโยชนก์ ารลงทนุ ชว่ั คราวไปจนถงึ การขนึ้ บญั ชี กฎหมายลงทนุ ตา่ งชาติ ฉบับใหม่ยังก�ำหนดกรอบเวลาข้อเสนอโครงการลงทุนเพ่ือขอรับสิทธิ ประโยชน์ภายใต้กฎหมายลงทุน โดยนับจากวันที่นักลงทุนต่างชาติยื่น ข้อเสนอโครงการลงทุนต่อคณะกรรมการการลงทุน ซ่ึงจะได้รับ การพิจารณาเพ่ือรับรองหรือปฏิเสธโครงการลงทุนภายใน 105 วัน การก�ำหนดกรอบเวลาในการพจิ ารณาโครงการลงทนุ ของคณะกรรมการ ลงทนุ เมยี นมาร์ (MIC) น้ี ท�ำใหข้ นั้ ตอนในการดําเนนิ งานมคี วามชัดเจน ส่งผลดีต่อนักลงทุนต่างชาติที่ย่ืนข้อเสนอขอรับการส่งเสริมโครงการ ลงทนุ ตา่ งๆ ทงั้ รปู แบบการลงทนุ ทมี่ คี วามยดื หยนุ่ มากขน้ึ และกฎหมาย ลงทนุ ตา่ งชาตฉิ บบั ใหม่ เปดิ โอกาสนกั ลงทนุ ตา่ งชาตสิ ามารถเปน็ เจา้ ของ กจิ การไดท้ ง้ั หมด ยกเลกิ การก�ำหนดสดั สว่ นการลงทนุ ขนั้ ตำ�่ ของนกั ลงทนุ แมว้ า่ กฎหมายลงทนุ ตา่ งชาตฉิ บบั ใหมข่ องเมยี นมารจ์ ะเปดิ โอกาสให้ นกั ลงทนุ ตา่ งชาตเิ ข้ามาลงทุนในเมยี นมาร์ไดม้ ากข้นึ แตก่ ฎหมายลงทนุ ดังกล่าว ยังมีประเด็นท่ีต้องพิจารณาเพ่ิมเติม โดยเฉพาะการกําหนด 164
เงื่อนไขการจ้างแรงงานซึ่งมีความเข้มงวดมากขึ้น ทั้งนี้ กฎหมายลงทุน ตา่ งชาตฉิ บับใหม่ก�ำหนดให้การจ้างแรงงานไรฝ้ มี อื (Unskilled Labor) ต้องเป็นชาวเมียนมาร์เท่าน้ัน รวมทั้งต้องมีการฝึกอบรมให้แรงงาน ชาวเมยี นมารม์ ีทกั ษะท่จี �ำเปน็ ต่อการท�ำงานเพิม่ ขนึ้ ดว้ ย 7.5.2 กฎหมายเครือ่ งหมายการค้า หลังจากการเปิดประเทศ รัฐบาลเมียนมาร์ได้ปรับระบบต่างๆ ให้ สอดคลอ้ งกบั สากลมากขนึ้ มกี ารปรบั กฎหมายใหท้ นั สมยั อยา่ งกฎหมาย ให้ความคุ้มครองในเรื่องเคร่ืองหมายการค้า ซึ่งแม้ว่าจะไม่ครอบคลุม ทกุ ดา้ นอยา่ งประเทศพฒั นาอุตสาหกรรมแลว้ แตก่ ็มีกฎหมายใกล้เคยี ง และมีกระบวนทีท่ �ำให้เขา้ ใจถงึ ระบบของประเทศเมยี นมารด์ งั น้ี 1. ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญาประเทศเมียนมาร์ มาตรา 478 ระบวุ า่ “เครือ่ งหมายการคา้ ” หมายถงึ “เครอ่ื งหมายท่ีใช้แสดงให้เหน็ ว่าสินค้าภายใต้เครื่องหมายดังกล่าวเป็นสินค้าท่ีผลิตโดยบุคคลใดโดย เฉพาะ” และ มาตรา 479 “เครอ่ื งหมายทใี่ ชแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ สงั หารมิ ทรพั ย์ ใดเปน็ ของบคุ คลใดโดยเฉพาะเรยี กเครอื่ งหมายนน้ั วา่ เครอื่ งหมายทรพั ย์ (Property Mark)” คุณสมบัติของเคร่ืองหมายท่ีจะสามารถได้รับการจดทะเบียน เครื่อง หมายนั้นจะต้องมีลักษณะบ่งเฉพาะ (Distinctive) ในอันที่จะ สามารถแยกแยะให้เห็นความแตกต่างว่าสินค้าที่ใช้เคร่ืองหมายการค้า นั้นแตกต่างไปจากสินค้าของผู้อื่น เคร่ืองหมายที่มีลักษณะเป็น การบรรยายถึงคุณลักษณะของสินค้า บ่งบอกแหล่งก�ำเนิดของสินค้า ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 165
หรือเป็นเครอื่ งหมายทีใ่ ชใ้ นทางการคา้ ทวั่ ไป ไม่ถือว่าเป็นเคร่ืองหมายท่ี มลี กั ษณะบง่ เฉพาะ ส่วนข้อยกเว้นและไม่ได้รับความคุ้มครอง คือ เคร่ืองหมายท่ี เล็งถึงคุณลักษณะของสินค้าไม่สามารถรับจดทะเบียนได้ เช่น ผิด พระราชบัญญตั กิ ารจดทะเบียนมาตรา 13 ท่ีบัญญตั ิว่า เคร่อื งหมายใด มีความหมายคาบเก่ียวในเร่ืองศีลธรรม กฎหมาย หรือเป็นปัญหา อันเก่ียวเนื่องด้วยเหตุผลท่ีเป็นการกระท�ำผิดกฎหมาย หรือท่ีควรถูก ปฏิเสธเน่ืองจากเป็นการใช้อ�ำนาจในทางที่ผิดเพ่ือการจดทะเบียน เครอ่ื งหมายการค้า ดังกล่าวไม่สามารถจดทะเบยี นได้ เช่น • เครอื่ งหมายทเี่ ปน็ ค�ำหรือมีภาพลามกอนาจาร • เคร่อื งหมายทีม่ ถี ้อยค�ำจารึก หรอื ตราโลห่ ์ หรอื ส่งิ อ่นื ใดท่ีแสดง นัยถงึ อ�ำนาจของผูข้ อจดทะเบียน ซ่ึงไม่ได้เปน็ เจา้ ของทแ่ี ท้จริง • เคร่ืองหมายท่แี สดงถงึ ชนิดของสนิ ค้า • เครื่องหมายท่ีเป็นค�ำแนะน�ำสนิ คา้ หรอื สโลแกนของสินค้า • เครื่องหมายท่ีมีสีเลียนแบบสีของธนบัตร หรือมีพระบรมฉาย ลกั ษณข์ องพระมหากษัตริย์ หรือพระราชวงศ์ หรอื กองทพั หลวง • เคร่ืองหมายท่ีมีภาพของอดีตผู้น�ำเมียนมาร์นายพลออง ซาน (General Aung San) 2. สิทธิเจา้ ของเครอ่ื งหมายการคา้ จดทะเบียน เจ้าของเครอ่ื งหมาย การค้าท่ีได้รับการจดทะเบียนย่อมมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวท่ีจะใช้ เคร่ืองหมายการค้ากับสินค้าท่ีได้รับการจดทะเบียนนั้น ในเมียนมาร์ เจ้าของเคร่ืองหมายการค้าสามารถฟ้องผู้กระท�ำละเมิดสิทธิน้ัน ท้ังทางแพ่งและทางอาญา ใช้สิทธิทางแพ่งในการขอให้ศาลมีค�ำสั่ง 166
ห้ามมิให้ผู้กระท�ำการละเมิดในการใช้เครื่องหมาย และสามารถฟ้อง เรียกค่าเสียหายที่เกิดจากการใช้เครื่องหมายการค้าที่ละเมิดน้ัน และ สามารถใชส้ ทิ ธฟิ อ้ งคดที างอาญาโดยขออ�ำนาจกรมศลุ กากรใหท้ �ำการยดึ สนิ ค้าปลอมแปลงท่ลี ะเมดิ น้นั ได้ 3. ข้อยกเว้นสิทธิเจ้าของเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนไม่มี หลกั เกณฑ์ก�ำหนดไว้ 4. อายคุ วามคมุ้ ครองไมม่ กี ฎหมายก�ำหนดไวช้ ดั เจน แตใ่ นทางปฏบิ ตั ิ ตัวแทนเมียนมาร์มักจะแนะน�ำให้ผู้ขอจดทะเบียนยื่นค�ำแถลงแสดง ความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าพร้อมลงประกาศโฆษณาใน หนังสือพมิ พ์ท้องถิน่ ทกุ ๆ 2 ปี วธิ ดี �ำเนนิ การและการจัดเตรยี มเอกสาร กระท�ำเชน่ เดยี วกบั ในขน้ั ตอนการยืน่ ค�ำขอใหม่ 5. การตอ่ อายคุ วามคมุ้ ครองไมม่ กี ฎหมายก�ำหนดไวช้ ดั เจน แตใ่ ชว้ ธิ ี การย่นื ค�ำแถลงแสดงความเป็นเจา้ ของ (Declaration of Ownership) และลงประกาศในหนงั สอื พิมพเ์ ชน่ เดยี วกับในข้ันตอนการยืน่ ค�ำขอใหม่ 6. การรักษาสิทธิ ถึงแม้เมียนมาร์ยังไม่มีกฎหมายเฉพาะที่ให้ ความคุ้มครองเกี่ยวกับเคร่ืองหมายการค้า แต่การให้ความคุ้มครองใน เรอ่ื งเครอ่ื งหมายการคา้ มบี ทบญั ญตั อิ ยใู่ นมาตรา 13 ของพระราชบญั ญตั ิ การจดทะเบียน (Registration Act) สรุปได้ว่า การจดทะเบียน เคร่ืองหมายการค้าน้ัน สามารถด�ำเนินการโดยย่ืนเอกสารค�ำแถลง แสดงความเป็นเจ้าของเคร่ืองหมายการค้า (Declaration of Ownership) เมื่อได้รับการจดทะเบียนแล้ว ก็จะมีการลงประกาศใน หนังสือพิมพ์ท้องถ่ินซ่ึงเรียกกันว่า “Cautionary Notice” ท้ังนี้เพ่ือ เปน็ การแสดงสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมาย การคา้ ของเจา้ ของเครอื่ งหมายการคา้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 167
ใหเ้ ปน็ ทร่ี ับทราบโดยท่ัวถงึ กัน 7. การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าไม่มีบทบัญญัติ และกระบวนการอนั เปน็ กรอบก�ำหนดการยน่ื เพกิ ถอนเครอ่ื งหมายการคา้ ที่จดทะเบียนแล้ว ทางเดยี วท่ีจะกระท�ำได้ คือ การใชก้ ระบวนการทาง กฎหมายโดยขอค�ำส่ังศาลให้เพิกถอนเคร่ืองหมายการค้าท่ีจดทะเบียน อย่างไรกต็ าม ยังไม่มกี รณีตัวอยา่ งในเรอื่ งดังกลา่ ว 8. การโอนสิทธิในเครื่องหมายการค้าสามารถท�ำได้โดยต้องบันทึก การโอนสิทธิดังกล่าวต่อส�ำนักเคร่ืองหมายการค้า และต้องเป็นการ โอนสิทธิพร้อมกิจการที่เกี่ยวข้องกับเคร่ืองหมายการค้านั้น เอกสารท่ี ต้องใชป้ ระกอบด้วย • หนังสือมอบอ�ำนาจและเอกสารค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของ ในนามของผู้รับโอน ซึ่งรับรองลายมือชื่อโดยกรมการกงสุล กระทรวง การตา่ งประเทศ และผ่านการรบั รองโดยสถานทตู เมียนมาร์อกี ครงั้ • สญั ญาโอนสิทธใิ นเครอื่ งหมายการค้า 9. การอนุญาตให้ใช้สิทธิ ไม่มีข้อห้ามเร่ืองการอนุญาตให้ใช้ สิทธิตราบเท่าที่การอนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวไม่เป็นการขัดต่อ พระราชบญั ญตั กิ ารท�ำสญั ญาของเมยี นมาร์ (Myanmar Contract Act) และเน่ืองจากไม่มีกฎหมายเคร่ืองหมายการค้าจึงไม่มีบทบัญญัติเป็น การเฉพาะในเรื่องวิธีการจดทะเบียนการอนุญาตให้ใช้สิทธิ หรือผลของ การจดทะเบียน หรือไม่จดทะเบียนการอนุญาตให้ใช้สิทธิ แต่ในทาง ปฏิบัติแนะน�ำให้มีการติดต่อนายทะเบียนเพ่ือการขออนุมัติอย่างไม่เป็น ทางการก่อน 168
ข้ันตอนการขอรับความคุ้มครอง 1. การเตรียมค�ำขอ • ในกรณที ผ่ี ยู้ นื่ ค�ำขอจดทะเบยี นเครอื่ งหมายการคา้ ไมไ่ ดม้ ถี นิ่ ทอี่ ยู่ หรือสถานประกอบธุรกิจในประเทศเมียนมาร์ ผู้ยื่นค�ำขอจดทะเบียน ดังกล่าวจะต้องแต่งต้ังหรือมอบอ�ำนาจให้ตัวแทนเคร่ืองหมายการค้าใน ประเทศเมียนมารเ์ ป็นผดู้ �ำเนินการยนื่ ค�ำขอจดทะเบียนแทน • ผู้ย่ืนค�ำขอสามารถย่ืนค�ำขอจดทะเบียนส�ำหรับสินค้า/บริการ หลายจ�ำพวกในค�ำขอเดยี วกนั ได้ เพยี งแตจ่ ะตอ้ งระบคุ วามจ�ำนงดงั กลา่ ว ไวใ้ นค�ำแถลงแสดงความเปน็ เจา้ ของ รวมทง้ั ผยู้ นื่ ค�ำขอสามารถคมุ้ ครอง “รายการสินค้าท้ังจ�ำพวก” เพื่อครอบคลุมถึงสินค้าท้ังหมดในจ�ำพวก นน้ั ๆ ได้ โดยระบไุ ว้ในค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของ • การยนื่ ค�ำขอจดทะเบยี นทางอนิ เทอรเ์ นต็ ยงั ไมส่ ามารถกระท�ำได้ • ไม่จ�ำเป็นต้องมีการใช้เครื่องหมายการค้าก่อนการยื่นค�ำขอ จดทะเบยี น 2. เอกสารทใ่ี ชใ้ นการขอรับการจดทะเบยี นเครือ่ งหมายการคา้ • ค�ำขอจดทะเบียนเครอ่ื งหมายการค้า • หนังสือมอบอ�ำนาจต้องรับรองลายมือช่ือโดยกรมการกงสุล กระทรวงการตา่ งประเทศ และตอ้ งผา่ นการรบั รองเอกสารโดยสถานทตู เมียนมาร์ • ค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของซ่ึงต้องรับรองลายมือช่ือโดย กรมการกงสลุ กระทรวงการตา่ งประเทศ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 169
• รปู เครอ่ื งหมายการคา้ • ขอ้ มูลของผู้ยื่นค�ำขอจดทะเบยี น เชน่ ชือ่ ที่อยู่ และสญั ชาติ • รายการสินคา้ หรอื บรกิ ารทีป่ ระสงค์จะขอรบั การจดทะเบียน เอกสารดงั กลา่ วขา้ งตน้ ทง้ั หมดจะตอ้ งยนื่ พรอ้ มกบั ค�ำขอจดทะเบยี น เครือ่ งหมายการคา้ 3. การตรวจค้นเคร่ืองหมายการคา้ ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้ต้องท�ำการตรวจค้นเคร่ืองหมายการค้า เครอ่ื งหมายการคา้ ทไี่ ดร้ บั การจดทะเบยี นตอ่ นายทะเบยี นแตม่ ไิ ดป้ ระกาศ โฆษณาในหนงั สือพมิ พท์ ้องถิ่น เครอ่ื งหมายเหลา่ นี้ไม่สามารถท่ีจะตรวจ สอบได้ ในทางปฏบิ ตั กิ ารตรวจคน้ เครอื่ งหมายการคา้ สามารถด�ำเนนิ การ ผา่ นส�ำนกั งานกฎหมายตา่ งชาตทิ อี่ ยใู่ นเมยี นมารห์ รอื ส�ำนกั งานกฎหมาย ท้องถิ่น โดยใช้ข้อมูลการประกาศโฆษณาเคร่ืองหมาย การค้าใน หนังสือพมิ พซ์ ่งึ ส�ำนกั งานต่างๆ ดังกลา่ วเปน็ ผเู้ กบ็ รวบรวมไว้เอง 170
4. การตรวจสอบค�ำขอในเมียนมาร์ ไมม่ บี ทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั การตรวจสอบค�ำขอ รวมทงั้ ในพระราชบญั ญตั ิ การจดทะเบียนมาตรา 13 ก็ไม่มีบทบัญญัติในเรื่องการตรวจสอบ ค�ำขอจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า อย่างไรก็ตาม นายทะเบียน ผู้ท�ำการรับรองเอกสารการจดทะเบียนเป็นผู้มีอ�ำนาจในการปฏิเสธ การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ถ้าการจดทะเบียนน้ันไม่สอดคล้อง กบั บทบญั ญตั มิ าตรา 13 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารจดทะเบยี น ส�ำหรบั ใน กรณีท่ีพิจารณาแล้วเห็นควรรับจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้าดังกล่าว นายทะเบียนเคร่ืองหมายการค้าจะรับจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้า ดงั กลา่ ว 5. การประกาศโฆษณา เน่ืองจากประเทศเมียนมาร์ไม่มีกฎหมายเฉพาะในเรื่องเคร่ืองหมาย การค้า ในทางปฏิบัติท่ีนิยมกระท�ำกันคือเมื่อได้รับการจดทะเบียน เครื่องหมายการค้าแล้วก็จะท�ำการประกาศโฆษณาความเป็นเจ้าของ เครอื่ งหมายการคา้ นน้ั ผา่ นหนงั สอื พมิ พท์ อ้ งถน่ิ ทง้ั นไ้ี มม่ ขี อ้ ก�ำหนดเรอื่ ง ระยะเวลาในการประกาศโฆษณา และการประกาศโฆษณาไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ ง ใชเ้ อกสารใดๆ ประกอบ นอกจากรา่ งค�ำประกาศโฆษณาทต่ี อ้ งการจะลง ในหนงั สือพิมพ์ท้องถน่ิ 6. การรบั จดทะเบียน ค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของท่ีได้รับการรับรองจากนายทะเบียน และไดม้ กี ารประกาศโฆษณาความเปน็ เจา้ ของในเครอื่ งหมายการคา้ นนั้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 171
ในหนังสือพิมพ์แล้ว ถือได้ว่าเคร่ืองหมายการค้าดังกล่าวได้รับ การจดทะเบยี นเป็นท่เี รยี บร้อยแล้ว 7. การขอถือสิทธยิ อ้ นหลังในเมยี นมาร์ ไมม่ บี ทบญั ญตั ิเรือ่ งการขอถอื สทิ ธิวันย่ืนค�ำขอจดทะเบยี นย้อนหลัง 8. การคดั ค้านหรือโตแ้ ย้งในเมยี นมาร์ ไม่มีบทบญั ญัติเร่ืองการยนื่ ค�ำคัดคา้ นหรือค�ำโต้แย้งเป็นการเฉพาะ 9. การอทุ ธรณ์ มีบทบัญญัติที่เก่ียวข้องกับเร่ืองการอุทธรณ์บัญญัติไว้ในมาตรา 71 ถึง มาตรา 77 ในพระราชบญั ญัติการจดทะเบยี น เช่น การอทุ ธรณค์ �ำสัง่ ปฏิเสธการรับเอกสารและค�ำขอในการยื่นค�ำขอจดทะเบียนของผู้ช่วย นายทะเบียน (Sub-Registrar) ซึ่งผู้ขอสามารถยื่นอุทธรณ์ต่อ นายทะเบียนได้ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับค�ำส่ัง แม้ว่าผู้ขอ มีสิทธิที่จะน�ำคดีข้ึนสู่การพิจารณาของศาลได้ตามมาตรา 77 แห่ง พระราชบัญญัติการจดทะเบียน กรณีท่ีไม่เห็นด้วยกับค�ำสั่งปฏิเสธ การรบั จดทะเบยี นของนายทะเบยี น แตใ่ นทางปฏบิ ตั ยิ งั ไมม่ คี ดขี นึ้ สศู่ าล ภายใตม้ าตรา 77 ดงั กลา่ ว 10. ค่าธรรมเนยี มราชการ รวมท้ังคา่ บริการของส�ำนักงานตัวแทน ควรดูตารางคา่ ใช้จา่ ยในการ จดทะเบียนเคร่อื งหมายการค้า 172
11. ข้ันตอนและระยะเวลา โดยปกติการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในประเทศเมียนมาร์จะ ใชเ้ วลาประมาณ 3 สปั ดาห์ นบั ตง้ั แตว่ นั ยน่ื ค�ำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย การคา้ จนกระทงั่ ถึงวนั ทีไ่ ด้รบั จดทะเบียนเครื่องหมายการคา้ การบังคบั ใช้สิทธิ 1. การกระท�ำทถี่ อื วา่ เปน็ การละเมดิ สทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา้ โดย ทั่วไปไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัวในการพิจารณาว่าการกระท�ำใดถือเป็นการ ละเมิดสิทธใิ นเครอ่ื งหมายการคา้ โดยตรง อย่างไรกต็ ามหลกั เกณฑท์ ีจ่ ะ พิจารณาว่าการกระท�ำใดถือเป็นการก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิใน เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นให้ดูว่าการกระท�ำน้ันๆ ท�ำให้สาธารณชน สบั สนหลงผิดในเรอื่ งความเป็นเจา้ ของเครอ่ื งหมายการค้านัน้ หรอื ไม่ 2. มาตรการในการเยียวยา เม่ือปรากฏว่ามีการละเมิดสิทธิใน เคร่ืองหมายการค้า เจ้าของเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนสามารถใช้ มาตรการเยยี วยาทางแพง่ และทางอาญา ดังต่อไปน้ี (ก) มาตรการเยียวยาทางแพง่ เจ้าของเครื่องหมายการค้าสามารถใช้มาตรการเยียวยา การคุ้มครองช่ัวคราว (Injunctive Relief) หลังจากยื่นค�ำร้องต่อศาล หลังจากน้ันศาลส่ังให้ผู้ละเมิดระงับการกระท�ำท่ีเป็นการละเมิดสิทธิ ดังกล่าว ส�ำหรับการเรียกร้องค่าเสียหาย เจ้าของเคร่ืองหมายการค้า สามารถยนื่ ค�ำฟอ้ งตอ่ ศาลทมี่ เี ขตอ�ำนาจ ค�ำฟอ้ งตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ เหตุ แหง่ การฟอ้ งร้อง การรอ้ งสทิ ธิเพอื่ บรรเทาความเสียหาย ค่าธรรมเนยี ม ในการขึ้นศาล ข้อจ�ำกัดและเขตอ�ำนาจศาล เมื่อค�ำฟ้องเป็นที่พึงพอใจ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 173
ต่อศาล ศาลก็จะรับค�ำฟ้องและมีเลขคดีให้ค�ำฟ้องนั้น หลังจากน้ันศาล ออกหมายเรียกจ�ำเลย จ�ำเลยต้องเสนอค�ำให้การ หลังจากนั้นศาลก็จะ สรุปประเด็นโดยพิจารณาอยู่บนพื้นฐานของข้อเสนอทั้งสองฝ่าย ทั้งแง่ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ้ กฎหมาย ถา้ คดไี มถ่ กู จ�ำหนา่ ยเพราะสรปุ ประเดน็ เบอ้ื ง ต้นได้ ศาลจะก�ำหนดวันนัดฟังค�ำพิจารณาคดีในวันนัดฟังพิจารณาคดี ส�ำหรบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการด�ำเนนิ การทางแพง่ ในประมวลกฎหมายแพง่ และ พาณิชย์ของเมียนมาร์ บัญญัติว่าค่าธรรมเนียมของคดีต่างๆ ขึ้นอยู่กับ ดุลยพินิจของศาล โดยศาลมีอ�ำนาจเต็มที่ในการตัดสินว่าผู้ใดจะเป็น ผ้จู า่ ยหรือจ่ายโดยคดิ มลู ค่าจากทรัพยส์ ินใด และในขอบเขตใดทีค่ วรจะ คิดค่าธรรมเนียมน้ัน สรุปได้ว่าการคิดค่าธรรมเนียมต่างๆ ขึ้นอยู่กับ ดลุ ยพนิ จิ ของศาลและขึ้นอยู่กับคดแี ตล่ ะคดีไป (ข) มาตรการเยียวยาทางอาญา การด�ำเนนิ การตอ่ ผ้กู ระท�ำการละเมิดในทางอาญา 2 วธิ ี กล่าว คือ แจ้งข้อมูลเป็นลายลักษณ์อักษรไปยังสถานีต�ำรวจหรือยื่นค�ำร้อง โดยตรงต่อศาล โทษทางอาญาถ้าผู้กระท�ำละเมิดมีความผิดอาจถูก พิพากษาให้จ�ำคุก หรอื ปรับ หรือทั้งจ�ำท้ังปรับ l ความผิดที่เกดิ จากการใช้เครอ่ื งหมายการค้านนั้ มีโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 ปี หรือปรบั หรือทั้งจ�ำทัง้ ปรบั l บทลงโทษส�ำหรบั การลอกเลยี นเครอ่ื งหมายการคา้ ของบคุ คล อ่ืนในลักษณะปลอมแปลงมีโทษจ�ำคุก 2 ปี หรอื ปรบั หรอื ท้งั จ�ำทั้งปรบั l บทลงโทษส�ำหรับการครอบครองเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ใดๆ เพ่ือส�ำหรับปลอมแปลงเคร่ืองหมายการค้ามีโทษจ�ำคุก 3 ปี หรือปรับ หรอื ท้งั จ�ำทง้ั ปรับ 174
l บทลงโทษส�ำหรับการจ�ำหน่ายสินค้าภายใต้เคร่ืองหมาย การคา้ ท่ปี ลอมแปลงน้นั มโี ทษจ�ำคกุ 1 ปี หรอื ปรับ หรือทั้งจ�ำท้ังปรบั ในแต่ละกรณีดังกล่าวข้างต้น ศาลสามารถมีค�ำส่ังริบทรัพย์ท่ีมี ความเกย่ี วขอ้ งกบั การปลอมแปลงเครอื่ งหมายการคา้ อยา่ งถาวร ในกรณี นเี้ ปน็ ดลุ ยพนิ ิจของศาล 7.5.3 กฎหมายป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต จากการเปิดประเทศของเมียนมาร์ในช่วงที่ผ่านมา ก่อให้เกิด การลงทุนของนักธุรกิจจากหลากหลายประเทศที่ให้ความสนใจต่อการ ลงทนุ ในประเทศเมยี นมาร์ เนอื่ งจากเปน็ ประเทศทม่ี ที รพั ยากรธรรมชาติ สมบรู ณ์ ทง้ั มคี า่ จา้ งแรงงานทคี่ อ่ นขา้ งตำ่� และแมว้ า่ การเปดิ ประเทศแลว้ ท�ำใหม้ เี ศรษฐกจิ ทด่ี ขี นึ้ แตใ่ นดา้ นการพฒั นาทงั้ เทคโนโลยี และวทิ ยาการ ความรู้ต่างๆ ยังค่อนข้างน้อย เป็นผลมาจากการจัดการภายในของ ภาครฐั ทย่ี งั ขาดการวางแผนการพฒั นาทดี่ ใี นการเปดิ ประเทศ โดยสาเหตุ ส�ำคัญสาเหตุหน่ึงเกิดจากปัญหาการคอรัปช่ันท่ีค่อนข้างสูงในระบบ ราชการเมียนมาร์จากการจัดอันดับขององค์กรความโปร่งใสระหว่าง ประเทศ (Transparency International-TI) ได้จัดอันดับปัญหาการ คอรัปช่ันใน 176 ประเทศทั่วโลกประจ�ำปี 2555 โดยให้คะแนนจาก 0-100 โดยหากได้คะแนนน้อย ยิ่งสะท้อนให้เห็นว่ามีการคอรัปชั่นสูง โดยเมียนมาร์ไดถ้ ูกจดั อนั ดบั ไวท้ ี่ 172 คอื ได้คะแนนความโปร่งใสอยูท่ ่ี 15 คะแนน จาก 100 คะแนนแต็ม ทง้ั นเ้ี มยี นมารย์ งั ติดอันดบั ประเทศ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 175
รงั้ ทา้ ย 5 ประเทศ ทง้ั นี้ TI ระบวุ า่ แม้ทางการเมียนมาร์จะมีการปฏิรปู มากขน้ึ แตใ่ นอกี ดา้ นหนงึ่ การคอรปั ชน่ั ยงั คงมใี หเ้ หน็ อยใู่ นเมยี นมารเ์ ชน่ กัน[10] จากกรณีดังกลา่ วท�ำให้รฐั บาลเมียนมาร์เล็งเห็นถึงความส�ำคัญใน การจัดการปัญหาการคอรัปชั่น จึงมีการออกกฎหมายเกี่ยวกับ การป้องกัน และปราบปรามการคอรปั ช่นั [16] มีการประกาศใชเ้ ม่อื วนั ที่ 7 สงิ หาคม พ.ศ.2556 ประกอบด้วย 11 หมวด 73 มาตรา ดงั นี้ หมวดท่ี 1 ชอ่ื การบงั คับใช้ และความหมาย หมวดท่ี 2 วัตถุประสงค์ของกฎหมายป้องกันและปราบปราม การทุจริต หมวดที่ 3 การคดั เลอื กคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามอ�ำนาจ หนา้ ทข่ี องคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ หมวดที่ 4 การก่อตั้งคณะท�ำงานและหน้าท่ีในการวิเคราะห์ เบอ้ื งตน้ ของทมี งานในการเช่อื มโยงเงินและทีด่ นิ ไดร้ บั จาก การทุจริต หมวดที่ 5 การกอ่ ตงั้ คณะกรรมการสอบถามและตรวจสอบ ในกรณ ี ทม่ี เี หตกุ ารณใ์ หต้ อ้ งสงสัย หรอื มผี รู้ อ้ งเรียนวา่ เกดิ การทุจริต หมวดท่ี 6 การก่อต้ังของส�ำนกั งาน หรอื สถานทตี่ ง้ั ของคณะ กรรมการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ โดยการจดั หาของรฐั บาล หมวดที่ 7 การให้ขอ้ มลู ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการใหส้ ินบน การด�ำเนนิ การ ดงั กลา่ วจะตอ้ งด�ำเนนิ การโดยประธานาธิบดี สภาผู้แทนราษฏร และผ้แู ทน 176
หมวดที่ 8 การประกาศความเป็นเจา้ ของในทรพั ยส์ ิน หนสี้ ินและ อสังหารมิ ทรัพยข์ องบุคคลผูม้ ีอ�ำนาจ หมวดที่ 9 การยดึ ทรพั ย์สิน และอสงั หารมิ ทรัพยท์ ผี่ า่ นการทจุ ริต เป็นของรฐั หมวดที่ 10 ความผิด และบทลงโทษ หมวดท่ี 11 เบด็ เตลด็ จะเห็นได้ว่ากฎหมายป้องกันและปราบปรามการคอรัปชั่นฉบับนี้ มจี ดุ ประสงคต์ ามหมวดที่ 2 ซง่ึ กลา่ วไวว้ า่ กฎหมายฉบบั นต้ี งั้ ขน้ึ เพอ่ื ก�ำจดั การให้สินบนซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติ เพื่อการก�ำกับดูแลที่ดี เพื่อ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความรบั ผดิ ชอบ เพอ่ื ปอ้ งกนั และรกั ษาทรพั ยส์ นิ ของรฐั เพ่ือเป็นการรกั ษาสทิ ธิของประชาชนในประเทศ และเพื่อสง่ เสริมความ โปรง่ ใสในการสง่ เสรมิ การพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ จากวตั ถปุ ระสงคท์ ไี่ ดก้ ลา่ วไปขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ กฎหมายฉบบั นใ้ี ห้ ความส�ำคัญกับการป้องกันการทุจริต โดยถือว่าการทุจริตเป็นปัญหาท่ี ส�ำคญั ระดบั ประเทศ ต้องได้รับการแกไ้ ขอยา่ งเร่งด่วน เพ่ือไม่ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อทรัพย์สินของประเทศ โดยหากมีการฝ่าฝืนกฎหมาย ฉบับนี้แล้ว ทั้งผู้กระท�ำและผู้มีส่วนเก่ียวข้องจะต้องถูกลงโทษ โดยได้ กล่าวถงึ บทลงโทษไว้ในบทที่ 10 ดังน้ี l ถ้านกั การเมอื ถกู ตดั สินลงโทษในขอ้ หากระท�ำการตดิ สินบน จะ ถกู ลงโทษดว้ ยการปรับ และจ�ำคกุ ไมเ่ กนิ 15 ปี l ผู้ต้องหาในกรณีติดสินบนเจ้าพนักงานมีโทษปรับ และจ�ำคุก ไม่เกิน 10 ปี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ 177
l ผทู้ ่ีตัดสนิ ใจกระท�ำการตดิ สินบน มีโทษปรับ และจ�ำคุกไมเ่ กนิ 7 ปี l บุคคลที่ถูกตัดสินลงโทษในข้อหาปกปิดหรือถ่ายโอนทรัพย์สิน ต่างๆทั้งตัวเงินและอสังหาริมทรัพย์ เพื่อหลีกเล่ียงการตรวจสอบ มีโทษปรบั และจ�ำคกุ 5 ปีข้นึ ไป l ถ้าบุคคลใดที่ถูกตัดสินลงโทษในข้อหากระท�ำความผิดใดๆ ภายใต้กฎหมายฉบับนี้ โดยเกิดจากวัตถุประสงค์เพ่ือลดคุณค่าหรือ หม่ินประมาทบุคคลหนึ่งบุคคลใดโดยไม่มีเหตุผล หรือเพ่ือร้องเรียน เก่ียวกับการทุจริตที่ผิดกฎหมายกับสถานที่ที่เป็นเท็จ หรือการให้ หรือ การสร้างหลักฐานเท็จอ่ืนใด คนท่ีท�ำเช่นนั้นต้องระวางโทษปรับ และ จ�ำคุกไม่เกนิ 5 ปี 178
l ถ้าบคุ คลใดๆ ที่ถูกตัดสนิ ลงโทษจากความล้มเหลวในการปฏิบัติ ตามค�ำส่ังที่ออกโดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต หรือองค์กรใดๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ ตอ้ งระวางโทษปรบั หรอื จ�ำคกุ ไมเ่ กนิ 6 เดอื น หรอื ท้ังสองอยา่ ง l ถ้าผู้มีอ�ำนาจใดๆ ท่ีถูกตัดสินว่ามีเจตนาในการส่งเอกสาร ทรัพย์สิน หนี้สิน ช้ากว่าเวลาท่ีก�ำหนดโดยคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตตามกฎหมายน้ี หรือย่ืนเอกสารเท็จ หรือปกปิด ขอ้ มลู ตอ้ งระวางโทษปรบั และจ�ำคุกไมเ่ กนิ 5 ปี l ถ้าบุคคลใดท่ีท�ำงานด้านการเงิน การธนาคาร ปฎิเสธที่จะช่วย ในการด�ำเนินงานของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในการปฎิบัติหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลอย่างเป็นทางการ มีการถ่าย โอนทรัพย์สินต่างๆ ของธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่มีการอายัติไว้ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากส�ำนักงานคณะกรรมการตรวจสอบ และ การปกปดิ เปลยี่ นแปลง หรอื ถา่ ยโอนทรพั ยส์ นิ ทม่ี กี ารก�ำกบั ตามเอกสาร ไว้ในระหว่างการสอบสวน ตอ้ งระวางโทษปรบั และจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี l บคุ คลใดทพี่ บวา่ มกี ารเกย่ี วขอ้ งกบั ความพยายามและสมคบ หรอื จดั การ หรอื สนบั สนนุ การกระท�ำผดิ กฎหมายใดๆ ภายใตก้ ฎหมายนตี้ อ้ ง ระวางโทษเชน่ เดยี วกับทีก่ �ำหนดไว้ส�ำหรับความผิดนั้น บทลงโทษของกฎหมายป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีทั้ง โทษปรบั และจ�ำคกุ ระหวา่ ง 5-15 ปี โดยลงโทษผกู้ ระท�ำความผิด ผูม้ ี ส่วนรู้เห็น หรือผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ีในการตรวจสอบการ ทุจริตที่เกิดข้ึน ซ่ึงถือว่าเป็นการลงโทษผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริต ทั้งหมด ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 179
จากจุดนี้จึงเห็นได้ว่ารัฐบาลเมียนมาร์มีแนวคิดที่จะปราบปราม การคอรัปชัน่ อย่างจริงจงั และชดั เจน นอกจากนน้ั ในปจั จุบนั ทางรัฐบาล ยงั ก�ำลงั ปรบั ปรงุ ระบบกฎหมายภายในประเทศหลายฉบบั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพ่อื ใหส้ ามารถพัฒนาประเทศไดต้ ่อไป 180
8 ลักษณะเด่นของระบบราชการทน่ี ่าเรยี นรู้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 181
8 .1 เแมลยี ะนทมหาารรอ์ นุมัตขิ น้ึ เงินเดือนข้าราชการพลเรอื น เมียนมาร์อนุมัติข้ึนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนและทหารเดือนละ 30,000 จัด๊ ตอ่ เดือน หรอื ประมาณ 1,140 บาท โดยมผี ลต้ังแตว่ ันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2555 เป็นตน้ ไป “ดว้ ยความตั้งใจท่จี ะชว่ ยใหก้ ารด�ำรง ชวี ติ ของพนกั งานภาครฐั และบคุ ลากรทางทหารดขี น้ึ ” ซงึ่ รายงานระบวุ า่ บุคลากรในหน่วยงานภาครัฐท่ีได้รับค่าจ้างน้อยที่สุดได้รับค่าจ้างวันละ 1,100 จด๊ั และจะไดร้ บั เงนิ พเิ ศษอกี วนั ละ 1,000 จด๊ั ขา้ ราชการพลเรอื น ในเมียนมาร์ ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 3.3 ของประชากรได้รับเงินเดือน น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับอาชีพอ่ืนๆ และหลายคนก็ต้องอาศัย คา่ น�้ำรอ้ นน�ำ้ ชาหรือสินบนเพ่อื ความอยูร่ อด การปรบั ขน้ึ เงนิ เดือนครง้ั นี้ มขี น้ึ หลงั ถกู กดดนั จากบรรดาสมาชกิ รฐั สภาใหข้ นึ้ เงนิ เดอื น ขณะทร่ี าคา สนิ คา้ ถบี ตวั สงู ขน้ึ กอ่ นหนา้ นปี้ ระธานาธบิ ดเี ตง็ เสง่ กลา่ วยอมรบั ปญั หา เร่อื งเงนิ เดือนในการปราศรัยตอ่ รัฐสภาเม่อื วันท่ี 1 มนี าคม พ.ศ. 2555 ท่ีผ่านมา และรับปากจะเร่งแก้ไขโดยเร็ว รัฐบาลวางแผนท่ีจะเพ่ิม เงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญ งบประมาณส�ำหรับการข้ึนเงิน เดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับการจัดสรรในปีการเงินพ.ศ. 2557-2558 แผนได้รวมถึงการเพ่ิมขึ้นของเงินบ�ำนาญและเงินโบนัสเป็นสัดส่วน โดยการค�ำนวณการจ่ายเงินจะขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของ GDP เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เป้าหมายการพัฒนา อัตราเงินเฟ้อ ใบเสร็จ รบั เงนิ และการช�ำระเงิน และผลกระทบท่ีเป็นไปไดใ้ นอนาคต 182
ทุกข์หลังเกษยี ณของขา้ ราชการเมียนมาร์ ชวี ิตหลงั เกษียนของ อู เพ มิน้ ท์ จากการรบั ราชการในเมียนมาร์ทม่ี ี เพียงวทิ ยหุ นึ่งเครอ่ื งและจกั รยานอีกหนง่ึ คนั โดยการรบั ราชการเมอื่ 30 ปีที่ผ่านมาน้ัน ข้าราชการจะได้รับสิทธิในการมีท่ีอยู่อาศัยและไฟฟ้าฟรี ซ่ึงท�ำให้ข้าราชการที่มีเงินเดือนน้อยและมีครอบครัวสามารถอยู่รอดได้ ซงึ่ สองสงิ่ เปรยี บเปน็ สมบตั ทิ ลี่ ำ้� คา่ ของขา้ ราชการเมยี นมาร์ และในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) มจี �ำนวนขา้ ราชการทเี่ กษยี ณอายกุ วา่ 9 แสนคน และ ตอ้ งออกจากบา้ นพักสวัสดกิ ารภายในเวลา 4 เดอื นนับตัง้ แตเ่ กษียณ สง่ ผลให้คนส่วนใหญ่ต้องพบกับปัญหาหลังเกษียณอายุข้าราชการมีการใช้ ชีวติ ท่ีล�ำบาก เนอื่ งจากท่ผี า่ นมาสว่ นใหญ่จะมรี ายได้จากรฐั เทา่ นน้ั และ ไมม่ เี งนิ เกบ็ ออมท�ำใหก้ ารอาศยั เงนิ บ�ำนาญจากรฐั เพยี งอยา่ งเดยี วจงึ เปน็ เร่อื งทน่ี า่ กลัว นอกจากเงนิ บ�ำนาญท่ไี ม่เพยี งพอแล้ว หลายคนก็โชครา้ ย เมอ่ื ตอ้ งยา้ ยออกจากบา้ นพกั ขา้ ราชการ กอปรกบั บางคนไมม่ ญี าตพิ น่ี อ้ ง ช่วยเหลอื ถงึ กบั ตอ้ งอาศยั อยขู่ ้างถนน กลมุ่ Social Team for the Aged เปน็ กลมุ่ ทร่ี วมตวั ขน้ึ เพอ่ื ใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื คนวยั เกษยี ณ โดยมกี ารสนบั สนนุ ใหเ้ งนิ ชว่ ยเหลอื คนวยั เกษยี ณ เดือนละ 2,000 จ๊ดั (ประมาณ 66 บาท) รวมทัง้ น�ำ้ มันถว่ั เหลอื ง ขา้ วสาร ยา และนมขน้ หวาน นอกจากนี้ยงั ไดส้ รา้ งกระท่อมมงุ จากในพืน้ ที่ทีเ่ ชา่ ส�ำหรบั คนชราทไี่ รบ้ า้ น เงนิ เดอื นของขา้ ราชการทต่ี ำ�่ มากเปน็ สาเหตหุ ลกั ที่ท�ำให้คนหลังเกษียณต้องประสบกับปัญหาการเงิน เพราะไม่สามารถ เตรยี มตวั หลงั จากทสี่ ทิ ธใิ นการไดร้ บั สวสั ดกิ ารบา้ นพกั หมดลง เนอ่ื งจาก “เงินเดือนที่ได้รับต�่ำมากในขณะท่ียังรับราชการ และเงินบ�ำนาญหลัง เกษียณกน็ อ้ ยมาก” ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 183
รฐั บาลจงึ มเี ปา้ หมายในการชว่ ยเหลอื ขา้ ราชการโดยปรบั ขนึ้ เงนิ บ�ำนาญ ทงั้ นนี้ อกจากจะมกี ารข้นึ เงนิ บ�ำนาญแลว้ รฐั บาลกไ็ ด้พยายามช่วยเหลือ ข้าราชการหลงั เกษียณด้วยเชน่ กัน ในชว่ งต้นปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) รัฐบาลได้จัดสรรท่ีดินส�ำหรับข้าราชการในพ้ืนที่ดะกงเมียวต๊ิดให้แก่ ข้าราชการเกษียณอายุจ�ำนวนมากอาศัยอยู่ แต่หลายคนก็ขายที่ ส่วนของตนเองเพราะตอ้ งการใชเ้ งิน รัฐบาลได้ช้ีให้เห็นว่า มีความต้องการท่ีจะบรรเทาปัญหาเร่ือง ที่อยู่อาศัยไม่เฉพาะแต่ข้าราชการเกษียนอายุเท่าน้ัน แต่รวมไปถึงคน วัยเกษียณทุกกลุ่มอีกด้วย เม่ือเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ท่ีผ่านมา รัฐมนตรีประจ�ำท�ำเนียบประธานาธิบดี อูโซเต่ง ได้บอกกับส�ำนักข่าว Myanmar Time ว่า หน่วยงานภาครัฐระดับภูมิภาคจะส�ำรวจข้อมูล ผู้รับเงินบ�ำนาญท่ียังไม่มีบ้านเป็นของตัวเอง หลังจากที่ได้ข้อมูลมาแล้ว จ�ำเป็นต้องหาทางออกท่ีดีท่ีสุดซ่ึงสอดคล้องกับแผนการพัฒนา ของแตล่ ะเขต 184
8.2 รัฐบาลเมียนมาร์ไดอ้ อกกฎหมายสื่อฉบบั แรก รฐั บาลเมยี นมารไ์ ดอ้ อกกฎหมายสอ่ื ฉบบั แรก ซง่ึ จะสรา้ งความมนั่ ใจ ในเรื่องสิทธิและเสรีภาพตามท่ีสื่อมวลชนเมียนมาร์ได้รับในปัจจุบัน หลังจากท่ีมีการส่ังเซ็นเซอร์และควบคุมสื่อมวลชนภายใต้การปกครอง ของรฐั บาลทหารมาเป็นเวลาเกือบ 5 ทศวรรษ แหลง่ ขา่ วจากกระทรวง สารสนเทศเมยี นมาร์เปิดเผยว่า ประธานาธบิ ดเี ตง็ เส่ง ไดล้ งนามบงั คับ ใช้กฎหมายดังกล่าว ซึ่งจะมีการประกาศในเร็วๆ นี้ผ่านทางส่ือรัฐบาล กฎหมายดงั กลา่ วอนญุ าตใหน้ กั ขา่ วสามารถเปดิ เผยขอ้ มลู จากรฐั บาลได้ ยกเว้นข้อมูลลับ และจัดตั้งสภาส่ือมวลชนอันประกอบไปด้วยสมาชิก จ�ำนวน 15-30 ราย เพอ่ื ตดั สนิ ชข้ี าดในสว่ นของสอ่ื หรอื นกั ขา่ วรายบคุ คล 8อแ.อล3นะรซไฐัลอบนฟา์ภตลาแ์เยมวใยีรนน์ ปสม�ีาำพหร.รก์ ศับ�.ำหก2นา5รด5บใ8หรหิท้พากุรรก้อจรมดัะททกงั้ ารเวรวง็บจพดั อทร�ท์ำรัละบบ รฐั บาลเมยี นมารก์ �ำลงั เรง่ รดั เพอื่ จะใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านของรฐั บาลกา้ ว กระโดดทันโลกดิจิตอล เปา้ หมายส�ำคญั คอื การให้ทุกกระทรวงจัดท�ำ ระบบออนไลนซ์ ง่ึ ความหมายวา่ ใหท้ กุ กระทรวงมเี วบ็ ไซตเ์ ปน็ ของตนเอง ที่ประชาชนสามารถเขา้ ไปหาข้อมลู และสอบถามได้ ใหไ้ ดภ้ ายในปี พ.ศ. 2558 ในปจั จบุ นั มปี ระชากรเมยี นมารท์ เ่ี ขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ไดร้ าวรอ้ ยละ 1 เท่าน้ัน แต่ส่วนใหญ่ของผู้ที่เข้าถึงน้ัน มีบัญชี Facebook ทุกคน พรรคการเมือง นักข่าว และโฆษกประธานาธิบดี สื่อสารติดต่อกับ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 185
ประชาชนผ่านทาง Facebook เป็นหลัก การจะปรับการท�ำงานของ รัฐบาลท้ังประเทศให้เข้าไปอยู่ในโลกดิจิตอลน้ีเป็นงานใหญ่มาก เพราะ แมแ้ ตใ่ นกรงุ เนปดิ อรน์ ครหลวงทสี่ รา้ งขน้ึ มาใหม่ อาคารทที่ �ำการรฐั บาล ยังมีปัญหาเรื่องไฟฟ้าดับเป็นประจ�ำ อธิบดี Myint Kyaw ของกรม ข่าวสาร กระทรวงขา่ วสารของเมยี นมาร์ เป็นผูร้ ับผิดชอบด�ำเนนิ การให้ ได้ตามเปา้ หมายทว่ี า่ นี้ เมียนมารม์ กี ระทรวง 36 กระทรวง และอธบิ ดี Myint Kyaw กล่าวว่า ข้าราชการเมียนมาร์ส่วนใหญ่ยงั ใชค้ อมพิวเตอร์ ไม่เป็น ท่ีพอจะรู้เรื่องก็นิยม Facebook มากกว่า และกล่าวต่อไปว่า เพราะวา่ ชาวเมยี นมารน์ ยิ มใช้ Facebook กนั มาก กเ็ ลยงา่ ยทจ่ี ะเผยแพร่ ข้อมูลผ่านทางสื่อสังคมน้ี ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลส่วนตัวหรือขององค์กร องค์การ Freedom House จัดบริการอินเทอร์เน็ตของเมียนมาร์ในปี 2556 ไวใ้ นประเภท “ไม่เสร”ี โดยมกี ารกดี กันการเขา้ ถงึ และโครงสร้าง เปน็ ปญั หาใหญ่ และแมว้ า่ โทษส�ำหรบั การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง 186
จะลดการลงโทษจ�ำคกุ ลงจาก 15 ปี มาเป็น 7 ปี นกั วเิ คราะหย์ งั เห็นวา่ ทางการของเมียนมาร์ยังจะต้องท�ำงานก้าวหน้าอีกไกล กว่าจะสร้าง สภาพแวดล้อมส�ำหรับอินเทอร์เน็ตเสรีข้ึนมาได้ Nay Phone Latt นักเขียนบล็อก (Blog) ซ่ึงเป็นอดีตนักโทษการเมือง บอกว่า รัฐบาล สมัยก่อนไม่ฟังเสียงประชาชน คิดว่ามีอ�ำนาจตัดสินทุกสิ่งทุกอย่างได้ ซึ่งขัดกับระบบประชาธิปไตย เพราะผู้ท่ีมีความส�ำคัญในระบบนั้นไม่ใช่ รัฐบาล อดีตนักโทษการเมืองชาวเมียนมาร์ผู้นี้ท�ำงานเป็นท่ีปรึกษาของ รัฐบาลด้านนโยบายการสื่อสารคมนาคม และบอกว่าเวลานี้ รัฐบาล ต้องการรับฟังเสียงประชาชน และเต็มใจรับการเปล่ียนแปลง ประเด็น ส�ำคัญของการท�ำงานออนไลน์ของหน่วยงานรัฐบาล คือ การรักษา ความม่ันคงปลอดภัย Thaung Su Nyein กรรมการผู้จัดการ บริษัท Information Matrix ซึ่งก�ำลงั จดั ท�ำซอฟต์แวร์ใหร้ ฐั บาล กลา่ วว่าเร่อื งนี้ เปน็ เร่ืองส�ำคัญมาก และในขณะน้ียงั ไมม่ ใี ครแน่ใจวา่ เทคโนโลยนี จ้ี ะน�ำ ผใู้ ชไ้ ปทางใดไดบ้ า้ ง แตใ่ นขณะเดยี วกนั กไ็ มต่ อ้ งการใหม้ เี หตกุ ารณท์ ท่ี �ำให้ เกดิ ความตนื่ ตระหนกเกนิ ความเปน็ จรงิ ซง่ึ จะท�ำใหท้ กุ คนไมก่ ลา้ ทจ่ี ะน�ำ เทคโนโลยนี ไี้ ปใช้ เมียนมารม์ บี รกิ ารอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และใช้เฉพาะในการทหารเท่านั้น การขยายตัวหลังจากนัน้ เป็นไป อยา่ งเชอ่ื งชา้ และราคาแพงมากส�ำหรบั คนทว่ั ไป เวลาน้ี รฐั บาลเกาหลใี ต้ ก�ำลงั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื รฐั บาลเมยี นมารใ์ นการปรบั ขา่ ยงานอนิ เทอรเ์ นต็ ของประเทศใหท้ นั สมยั ซง่ึ เปน็ โครงการระยะยาว คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ใน ปี พ.ศ. 2573 อย่างไรก็ตาม รัฐบาลเมียนมาร์คาดว่าจะมีผู้ใช้บริการ อนิ เทอรเ์ นต็ ประมาณ 30 ลา้ นคน หรอื ครงึ่ หนงึ่ ของประชากรทง้ั ประเทศ ภายในสองปีขา้ งหน้า ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 187
8 .4 ก(Mารilพleัฒnนnาiuเมmยี นDมeาvรe์แlหo่งpสmหสัeวnรtรGษoals: MDG) การพัฒนาเมียนมาร์แห่งสหัสวรรษมีเป้าหมายเพื่อยกระดับ การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยให้บรรลุผลของเป้าหมายแห่งการพัฒนา ใน พ.ศ. 2558 ประกอบดว้ ย 8 ประการดังน้ี 1. ขจัดความหวิ โหยและความยากจน ความยากจนและความม่ันคงด้านอาหารยังคงเป็นความท้าทายท่ี ส�ำคัญของเมียนมาร์ ซึ่งประชากร 1 ใน 4 มีชีวิตอยู่ต่�ำกว่าเส้นความ ยากจน และ 2 ใน 5 เปน็ เรอื่ งของเดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 5 ปี ทขี่ าดแคลนอาหาร ยุทธศาสตร์แห่งชาติของเมียนมาร์ในการพัฒนาชนบทและการบรรเทา ความยากจน มีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราความยากจนลงครึ่งหน่ึงจาก 188
รอ้ ยละ 32 ในปี พ.ศ. 2548 เปน็ ร้อยละ 16 ในปี พ.ศ. 2558 จากผลการ วิจัยแบบบูรณาการจากสภาพความเป็นอยู่ครัวเรือน การประเมินผล (IHLCAs) เปิดเผยในการลดอบุ ัตกิ ารณ์ของความยากจนจากร้อยละ 32 ในปี พ.ศ. 2548 เป็นร้อยละ 26 ในปี พ.ศ. 2553 อุบัติการณ์ของ ความยากจนลดลงได้เร็วขึ้นในเขตเมืองมากกว่าในชนบท ดังนั้น ความยากจนในชนบทยังคงสูงมากและสูงกวา่ ความยากจนในเมือง จากข้อมูลพบว่า ชนบทยากจนเป็นร้อยละ 84 ของท้ังหมด ข้อมูลความยากจนเผยให้เห็นว่าค่าสูงสุดของความยากจนพบในรัฐชิน ร้อยละ 73 ตามด้วยรัฐยะไข่ ร้อยละ 44 เขตตะนาวศรี ร้อยละ 33 รฐั ฉาน ร้อยละ 33 และเขตอริ ะวดี รอ้ ยละ 32 ในเมียนมาร์อตั ราส่วน การจ้างงาน/ประชากร (น่ันคือ “สัดส่วนของประชากรวัยท�ำงานของ ประเทศท่ีเป็นลูกจ้าง”) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 54.3 เป็นร้อยละ 57.1 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2553 ซ่ึงพบในเขตชนบทสูงกวา่ พนื้ ท่ี ในเมือง และขณะท่ีในเมืองเกิดการเปลี่ยนแปลงมากข้ึนอย่างรวดเร็ว ซงึ่ ในเขตชนบทพบในผหู้ ญิงมากกว่าผชู้ าย โดยเพม่ิ ข้ึนเปน็ สองเทา่ ในปี พ.ศ. 2553 รอ้ ยละ 43.7 ของเด็กท่อี ายนุ อ้ ยกวา่ 5 ปเี ปน็ เด็ก ท่ขี าดสารอาหารระดับปานกลาง 34.3 และระดับขาดสารอาหารอยา่ ง รุนแรง (มีน้�ำหนกั นอ้ ยกวา่ เกณฑ์) ร้อยละ 9.4 ระดับการขาดอาหารพบ มากในรัฐยะไข่ รอ้ ยละ 52.8 ในเขตมาเกวรอ้ ยละ 37 เขตอริ ะวดีรอ้ ยละ 34 และรฐั ชินรอ้ ยละ 33.4 ในปี พ.ศ. 2548 มีด็กขาดสารอาหารระดับปานกลางและระดับ ขาดสารอาหารอย่างรุนแรง ร้อยละ 41.1 ซึ่งพบว่าในช่วงปี พ.ศ. 2548-2553 มสี ถติ กิ ารขาดสารอาหารระดบั ปานลดลงจากรอ้ ยละ 34.3 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 189
เป็นร้อยละ 32 และระดับการขาดสารอาหารอย่างรุนแรงลดลงจาก ร้อยละ 9.4 เปน็ ร้อยละ 9.1 และการพบการขาดสารอาหารนใี้ นหมู่ คนจนท่ีอยู่ในชนบทมากกว่าในเขตเมอื ง 2. บรรลุการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษาสากล การศึกษาข้ันพื้นฐานและการจัดระบบการศึกษาในเมียนมาร์น้ัน ได้ก�ำหนดช่วงระดับชั้นเรียน โดยแบ่งเป็นระดับ ประถมศึกษา 5 ปี มธั ยมศึกษาตอนต้น 4 ปี มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2 ปี ซ่งึ เดก็ ในระดับ ประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 5 – 9 ปี และพบว่าอัตราการรู้หนังสือ ของเยาวชนท่ีมีอายุ 15 – 24 ปีอยู่ในระดับสูงถึงร้อยละ 96 แต่เมื่อ เปรยี บเทยี บในระดบั สากลในดา้ นการจดั การศกึ ษาและโอกาสเขา้ รบั การ 190
ศึกษาพบว่า เด็กเมียนมาร์ร้อยละ 88 ท่ีมีโอกาสเข้ารับการศึกษาและ มีเพียงร้อยละ 75 ที่เรียนจนจบช้ันประถมศึกษา (5 ปี) ส่วนเด็กอีก ร้อยละ 12 ไม่มีโอกาสเข้ารับการศึกษา เนื่องจากพ้ืนท่ีในส่วนภูมิภาค ที่กว้างมากและไม่เอื้ออ�ำนวยในการลงทะเบียน จึงท�ำให้อัตราการลง ทะเบียนหรือการเข้าเรียนของเด็กในส่วนนี้พัฒนาช้ามาก จึงเป็น เป้าหมายของประเทศท่ีต้องการให้เด็กเข้าเรียนในอัตราร้อยละร้อย อีกทั้งยังมีประเด็นท่ีต้องแก้ปัญหาของนักเรียนท่ีอายุเกินออกจาก โรงเรียน เนื่องจากการเพิม่ นกั เรียนให้เข้าสูร่ ะบบทีค่ ืบหน้าอย่างช้าๆ จงึ ท�ำให้ มีผลต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาเมียนมาร์แห่งสหัสวรรษ (MDG) ในปี พ.ศ. 2558 3. ส่งเสริมความเทา่ เทยี มทางเพศ ช่วยให้สตรีสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินท่ีมีการปรับปรุง มาตรฐานการครองชพี และมกี ารยกสถานะสตรเี มยี นมารใ์ หม้ กี ารพฒั นา ท่ีดีข้ึนกว่าในหลายประเทศท่ีก�ำลังพัฒนา เมียนมาร์ได้พบเป้าหมาย สหัสวรรษแห่งการพัฒนาเมียนมาร์ (MDG) ในปี พ.ศ. 2558 ในการขจดั ความเหลื่อมล้�ำทางเพศต้ังแต่ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อุดมศึกษา แต่ส่วนแบ่งของสตรีในการจ้างงานในภาคและนอกภาค เกษตรยงั ไมป่ ระสบความส�ำเรจ็ ในความเทา่ เทียมกัน ค่าจ้างยงั แตกตา่ ง กนั และแมว้ า่ สัดสว่ นน้ีได้มกี ารปรับให้ดขี น้ึ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2548 แตย่ ังคง ไม่บรรลุผลและยังคงความท้าทายรัฐบาลเมียนมาร์ในการรองรับ การบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาเมยี นมารแ์ หง่ สหสั วรรษของปี พ.ศ. 2558 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 191
ทตี่ อ้ งการจดั สดั สว่ นของทน่ี งั่ ในรฐั สภาใหส้ ตรมี ากขนึ้ โดยสดั สว่ นปจั จบุ นั ต่�ำกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค เมียนมาร์ได้บรรลุความเท่าเทียมกัน ทางการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา อัตราส่วนของเด็กชายและเด็กหญิงท่ีจะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา วัดจากอัตราส่วนการเข้าเรียนสุทธิได้เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 98 ในปี พ.ศ. 2543 ร้อยละ 104 ในปี พ.ศ. 2553 อตั ราสว่ นของเด็กชายและเดก็ หญงิ ทจ่ี ะเขา้ เรยี นในการศกึ ษาระดบั มธั ยมไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 99 ในปี พ.ศ. 2543 ร้อยละ 105 ในปี พ.ศ. 2553 อัตราการมีส่วนร่วมโดยรวมใน การศึกษาระดับมัธยมยังต�่ำและไม่เท่ากัน อัตราการลงทะเบียนขั้นต้น ของการศึกษาระดับมัธยมก็จะประมาณร้อยละ 53 ในปี พ.ศ. 2551 ช่องว่างที่ยังคงกว้างอยู่ระหว่างชายและหญิงในอันดับที่สูงขึ้นของ การจ้างงาน การจ่ายเงินให้แก่สตรีโดยรวมอยู่ในอันดับท่ีต�่ำกว่าและ การจ้างงานทตี่ ำ่� กว่าฝมี อื ในขณะทีห่ ญิงประมาณคร่งึ หนึ่งของพนกั งาน ทั้งมวลยังไม่ได้รับความเท่าเทียมกันในทางปฏิบัติส�ำหรับงานประเภท เดียวกัน และอาจจะไม่ได้รับการพิจารณาในการยกระดับการท�ำงาน ส�ำหรบั งานที่สูงกวา่ 4. ลดการตายของเด็ก อัตราการรอดชีวิตของเด็กในเมียนมาร์ดีข้ึนกว่าทศวรรษที่ผ่านมา ประมาณการท่ีเชื่อถือได้ส�ำหรับในปี พ.ศ. 2554 พบอัตราการตายท่ี 62:1,000 การเกดิ และอตั ราการตายของทารกท่ี 48:1,000 ของการเกดิ มชี พี อยา่ งไรกต็ ามแมจ้ ะมคี วามพยายามอยา่ งหนกั จากรฐั บาลทผ่ี า่ นมา สองปี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความคบื หนา้ นไ้ี มเ่ พยี งพอทจ่ี ะบรรลกุ ารพฒั นา 192
เมียนมาร์แห่งสหัสวรรษ (MDG) ในปี พ.ศ. 2558 หน่วยงานจาก สหประชาชาตปิ ระมาณการระหวา่ งปี พ.ศ. 2554 กเ็ ปน็ ทช่ี ดั เจนวา่ อตั รา การตายของทารกลดลงในชว่ งทศวรรษทผ่ี า่ นมา มกี ารลดลงในอตั ราการ ตายของเด็กแรกเกดิ แม้จะมีการลดลงอยา่ งต่อเนือ่ งถึงเป้าหมาย MDG แต่ยังคงมีความท้าทายในการส่งมอบบริการที่อ่อนแอ โดยเฉพาะสตรี และเดก็ ในพน้ื ทช่ี นบทหา่ งไกล ชายแดน และผทู้ ม่ี าจากครอบครวั ยากจน มีผลต่อสุขภาพและความอยู่รอดที่เลวร้าย และลดอัตราการตายของ ทารกแรกเกดิ มแี นวโนม้ ท่ีจะเปน็ จรงิ โดยมีการฉีดวัคซีน 5. ปรับปรงุ สขุ ภาพของมารดา อัตราการคุมก�ำเนดิ ในหมูส่ ตรที สี่ มรสแล้วยังคงอยู่ในระดับต่�ำ แม้ว่า อัตราส่วนการตายของมารดาลดลงอย่างต่อเนื่อง และสัดส่วนการเกิด ร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขที่มีทักษะได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีเป้าหมาย ของชาติในการลดการตายของมารดา 130:100,000 ในปี พ.ศ. 2558 สามในสข่ี องการเสยี ชวี ติ ของมารดาทงั้ หมดเกดิ ขนึ้ ในชว่ งระยะเวลาการ ส่งมอบและหลังคลอดทันที นอกจากน้ียังมีสาเหตุการตายของมารดา โดยตรง อาทิ ปจั จยั ในครวั เรอื น ชมุ ชน รวมทงั้ ปจั จยั ทางสงั คมโครงสรา้ ง พื้นฐานท่ีอ่อนแอ การเข้าถึงบริการสุขภาพ และการจ�ำกัดการเข้าถึง ขอ้ มลู ท้งั น้ี ยงั คงเป็นความทา้ ทายอกี คร้ัง ถึงแม้ว่าสดั ส่วนของการเกิด ร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นกว่าสามในสี่ (ร้อยละ 76) แต่การคุมก�ำเนิดท่ีทันสมัยไม่ได้เพิ่มข้ึน นอกจากน้ียังมี ความแตกต่างถาวรระหวา่ งเมอื ง ภมู ภิ าค และชนบท ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 193
6. การตอ่ สู้เอชไอวี หรอื เอดส์ มาลาเรยี และโรคอ่ืน ๆ เมียนมาร์มีเสถียรภาพการแพร่ระบาดของเอชไอวีในหมู่ประชากร ทวั่ ไป (15-49 ป)ี ตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 1 ความทา้ ทายทส่ี �ำคญั คอื การเพม่ิ ระดบั การรักษาเอชไอวี ซงึ่ ขณะนีค้ รอบคลุมเพียงประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ทอี่ ยู่ ในความต้องการ ในท�ำนองเดียวกันเมียนมาร์ประสบความส�ำเร็จตาม เป้าหมายการลดลงของการเจ็บป่วยและการตายของโรคมาลาเรีย ร้อยละ 50 ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2550 อัตราอุบัติการณ์วัณโรคลดลงตั้งแต่ปี พ.ศ.2538 และเปา้ หมายของการลดลงครงึ่ หน่งึ ของการตายจากวณั โรค เม่ือเทียบกบั ปี พ.ศ. 2553 และมแี นวโนม้ ที่จะประสบความส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2558 การแพร่ระบาดของเอชไอวหี รอื เอดส์ถอื ว่ามเี สถยี รภาพใน ระดับประเทศตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2543 การรกั ษาความส�ำเรจ็ ท่ีดี อนั เป็นผล มาจากโปรโมชน่ั ของการสอ่ื สารเพอื่ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทกี่ �ำหนด อาทิ การใช้ถุงยางอนามัยในหม่คู นงาน 7. ตรวจสอบความยัง่ ยืนด้านส่ิงแวดลอ้ ม เมียนมาร์มุ่งเน้นท่ีการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศ และปูทางไป ส่กู ารใชป้ ระโยชน์อยา่ งย่ังยนื ของทรพั ยากรป่าไม้ ระบบนิเวศธรรมชาติ แต่ที่ผ่านมาก็ยังมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดภาวะ เรอื นกระจก สาเหตทุ ส่ี �ำคญั มาจากการตดั ไมท้ �ำลายปา่ เพอื่ การเพาะปลกู ประมาณรอ้ ยละ 6.67 ของพนื้ ทท่ี ง้ั หมด มกี ารคกุ คามสตั ว์ พนั ธพ์ุ ชื และ มีความเสี่ยงในการเข้าถึงน�้ำด่ืมท่ีปลอดภัยเพิ่มข้ึน แม้ว่ารัฐบาลได้ ประกาศใช้กฎระเบียบ และกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างย่งั ยืน 194
บรรณานกุ รม [1] กรมส่งเสริมการสง่ ออก กระทรวงพาณชิ ย์. 2555. คมู่ อื การคา้ และ การลงทนุ สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์. หนา้ 2. คน้ เมอ่ื 10 มีนาคม 2557 จาก http://aec.ditp.go.th/attachments/article/318/Burma%20 Trade%20and%20Investment%20Handbook.pdf [2] กองพาณชิ ยกิจต่างประเทศ กรมการคา้ ตา่ งประเทศ. 2540. การคา้ ชายแดนไทยกับประเทศเพอื่ นบ้านและโครงการพัฒนา ความรว่ มมือทางเศรษฐกิจกบั ประเทศเพ่อื นบา้ น. ค้นเมอ่ื 20 กุมภาพันธ์ 2557 จาก http://www.bot.or.th/ Thai/EconomicConditions/Thai/North/ArticleAndRe search/DocLib_Article/[email protected] [3] คทั ลยี า เหลย่ี มดี. 2555. เมยี นมาร์. กรงุ เทพฯ: วีพรน้ิ ท ์ (1991). [4] ชญานี ฉลาดธัญญกจิ . 2556. 100 เรอ่ื งนา่ รู้ในเมียนมาร.์ พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ต้ิงแอนดพ์ ับลชิ ชิง่ . [4a] ท่องเทีย่ วประเทศพมา่ . 2013. ประเพณีพืน้ เมือง ของประเทศพม่า คน้ วันท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จาก http://myanmar.moohin. in.th/?p=79 และ http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/ page_myanmar3.html [5] ไทยพาณิชย์. เศรษฐกจิ การค้า การลงทนุ ในเมียนมาร์. คน้ เมือ่ 10 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก www.scbeic.com/stocks/ extra/3091_20120626110815.pdf [5a] ยุทธศาสตรท์ หาร หลงั ปี ค.ศ.1988. ค้นวนั ท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จาก http://th49.ilovetranslation.com/VLtKm8UTl_S=d/ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 195
[6] วรนิ ธร ทวีศร. เมียนมาร์: โอกาสทางการคา้ และการลงทุนของไทย. คน้ เมือ่ 11 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.bot.or.th/ Thai/EconomicConditions/Thai/North/ArticleAndRe search/DocLib_Article/[email protected] [7] วริ ชั นิยมธรรม. 2549. สรรสาระประเทศเมียนมาร:์ หมู่บา้ น อ�ำเภอ จงั หวดั ประเทศ. ค้นเมอ่ื 15 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.gotoknow.org/blogs/posts/15598 [8] สถานเอกอคั รราชทูต ณ กรุงยา่ งกงุ้ . 2557. กฎหมายและกฎระเบียบ ของเมียนมาร์: ข้อแนะน�ำเกย่ี วกับกฎหมายการจา้ งงานและ พัฒนาฝมี อื 2013. ค้นเม่ือ 6 พฤษภาคม 2557 จาก http://www.thaiembassy.org/yangon/th/business/3115 [8a] สถาบันเอเชยี ศึกษาจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . เนปิดอว์ในบรบิ ทยุทธศาสตร์ ของกองทพั พม่า คน้ วนั ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จาก http://databank.ias.chula.ac.th/Thai/modules.php? name=Tutorials&t_op=showtutorial&pid=35 [9] สถาบันทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. 2541. รายงานฉบับสมบรู ณ์ การวเิ คราะห์กลยุทธ์ มาตรการสง่ เสรมิ ธุรกจิ การลงทุนไทยในเมียนมาร์. คน้ เม่อื 3 มีนาคม http://elib.boi.go.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op= dsp&opt=crd&bid=184&kid=0&db=Main&pat=& cat=aut&skin=u&lpp=16&catop=&scid=zzz&lang=1 [10] สาละวินนิวส.์ 2555. เมียนมารย์ งั ติดโผประเทศท่คี อรปั ชนั่ ทีส่ ดุ ในโลก. คน้ วนั ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2557 จาก http://salweennews. org/home/?p=5544) 196
[11] สุภทั รดศิ ดศิ กลุ . ม.จ. 2526. ประวัติศาสตร์เมยี นมารส์ มยั โบราณ โดยย่อ. วารสาร ศลิ ปวฒั นธรรม ปที ี่ 4 ฉบับท่ี 8 (ม.ิ ย. 2526). หน้า 6-22. คน้ เม่ือ 15 กุมภาพันธ์ 2557 จาก http://www.thapra. lib.su.ac.th/supat/article/showdetail.php?ID=77 [12] สํานกั งานสงเสริมวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม. 2554. คู่มือ การค้าและการลงทุนในประเทศเมยี นมาร์. http://www.sme. go.th/Documents/2553/tt/research/invest-Myanmar.pdf [13] สํานกั นโยบายอตุ สาหกรรมรายสาขา 2 สํานกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม. 2555. รายงานการสํารวจและสมั ภาษณ์เชิงลึกด้านนโยบายและยทุ ธศาสตร์ อตุ สาหกรรมอาหารของประเทศสมาชกิ อาเซยี น ระหวา่ งวนั ที่ 25-29 มถิ นุ ายน 2555 ณ สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร.์ คน้ เมอื่ วันที่ 11 พ.ค. 2557 จาก http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/ article/syrver_food_Myanmar.pdf [14] หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. 2554. ค่มู อื การค้าและการ ลงทุนสาธารณรฐั สหภาพเมียนมาร.์ ค้นเม่ือ 10 มีนาคม 2557 จาก http://www.sme.go.th/Documents/internationalization [15] อุกฤษฏ์ ปทั มานนั ท.์ 2549. โลกทรรศน์, มติชนรายสปั ดาห์ ปีท่ี 27 ฉบับที่ 1368. คน้ เมอื่ วนั ที่ 3 มนี าคม 2557 จาก http://www.nwvoc.ac.th/asean/ Member_Myanmar.html [16] Anti-Corruption Law 2013. Law No. 23 Anti-Corruption Law. 2013. Retrieved on August 9, 2014 from http://pw plegal.com/documents/documents/f3142-Anti-Corrup tion-Law-(PWP-Unofficial-English-Translation).pdf) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์ 197
[17] International Cooperation Study Center (ICSC). เอเชยี . ประเทศสหภาพเมยี นมา. ค้นเมอ่ื วนั ท่ี 3 มีนาคม 2557 จาก http://www.apecthai.org/apec/th/profile1. [18] matihon Online . 2554. เมยี นมาร์เตรียมข้ึนเงนิ เดือนขา้ ราชการ 380 เปอรเ์ ซ็นต์ กลาโหมอาจสูงร้อยละ 520. คน้ เม่ือ วันที่ 11 พ.ค. 2557 จาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php ?newsid=1299064673&grpid=03&catid=06 [19] Planning Department, Ministry of National Planning and Economic Development. 2007. Country Report (Myanmar) to The 5th ASEAN & Japan High Level Officials Meeting on Caring Societies: Collaboration of Social Welfare and Health Services and Development of Human Resources and Community Community Services for the Elderly. Retrieved May 23, 2014 from http://www.mhlw.go.jp/bunya/kokusaigyomu/asean/asean/k kusai/ siryou/dl/h19_myanmar.pdf, http://www.worldbank.org/en/country/ myanmar [20] Scribd. 2008. Constitution of the Republic of the Union of Myanmar. Retrieved May 22, 2014 from http://www.scribd.com/doc/7694880/ Myanmar-Constitution-2008-English-version [20a] Selth, A .2010. Burma’s armed forces: Does size matter? Retrieved May 15, 2014 from http://www.eastasiaforum. org/2010/09/17/burmas-armed-forces-does-size-matter/ 198
[20b] The Hindu. 2013. Myanmar civil servants get pay hike. Retrieved July 1, 2014 from http://www.thehindu.com/news/ international/south-asia/myanmar-civil-servants-get-pay- hike/article4569044.ece [21] The Republic of The Union of Myanmar. About UCSB. Retrieved May 22, 2014 from http://www.ucsb.gov.mm/About%20UCSB/ About%20UCSB/Details.asp?submenuID=55&id=135 [22] The Republic of The Union of Myanmar. Function (Duties and Powers of the UCSB). Retrieved May 22, 2014 from http://www.ucsb.gov.mm/Functions%20of%20UCSB/ functions%20of%20UCSB/Details.asp?sub menuID=70&id=448 [23] The Republic of The Union of Myanmar. History. Retrieved May 22, 2014 from http://www.ucsb.gov.mm/History/ Profile/Details.asp?submenuID=11&id=187 [24] The Republic of The Union of Myanmar. Publication. Retrieved May 22, 2014 from http://www.ucsb.gov.mm/Publications/Bi-annual% 20Journal/Details.asp?submenuID=30&id=118 [25] The Union of Myanmar. The State Peace and Development Council. The Union Civil Services Board Law. 2010. Retrieved August 9, 2014 from http://www.burmalibrary.org/docs18/2010-10- 28-SPDC_Law2010-24_Union_Civil_Services_Board_Law-oag-en.pdf) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 199
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202