รุ่นที่ 6 อบรมท่ีบ้านปราสาท หมู่ท่ี 6 ตำบลหว้ ยใต้ อำเภอขขุ ันธ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ เม่ือวันท่ี 1-2 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ผู้แทนกลุ่มที่เข้าอบรมกลุ่มละ 2 ราย ประกอบด้วย 1) กลมุ่ ทอผา้ ไหมบา้ นนกยงู เงนิ หมู่ 17 ตำบล 4) กลุ่มสตรีทอผ้าไหมบ้านติม หมู่ 1 ตำบล หว้ ยต๊กึ ชู อำเภอภูสิงห์ สะเดาใหญ่ อำเภอขขุ ันธ์ 2) กลมุ่ ทอผ้าไหมมัดหมี่ หมู่ 6 ตำบลหว้ ยใต้ 5) กลมุ่ แมบ่ า้ นทอผา้ บา้ นกระเบา หมู่ 4 ตำบล อำเภอขุขันธ์ โนนสงู อำเภอขนุ หาญ 3) กลุ่มทอผา้ ไหมบา้ นหนองกาด หมู่ 5 ตำบล ลมศกั ด์ิ อำเภอขขุ นั ธ์ การฟังคำแนะนำกอ่ นลงมือปฏิบัติ 45
การมดั หมีแ่ ละการเตรยี มวสั ดุยอ้ มสีธรรมชาติ 46
กจิ กรรมในการจัดอบรม ร่นุ ที่ 6 รุ่นท่ี 7 อบรมท่ีบ้านโนนสะแบง หมู่ที่ 2 ตำบลหนองหว้า อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัด สรสะเกษ เมื่อวันท่ี 3-4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ผู้แทนกลุ่มที่เข้าอบรมกลุ่มละ 2 ราย ประกอบด้วย 1) กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านหนองหัวช้าง หมู่ 6 ตำบลขนุน อำเภอกันทรลกั ษ์ 2) กลุ่มทอผ้าไหมบ้านนาขนวน หมู่ 5 ตำบลขนนุ อำเภอกันทรลักษ์ 3) กลุ่มทอผ้าบ้านหนองดินแดง หมู่ 12 ตำบลบก อำเภอโนนคูณ 4) กลมุ่ ทอผา้ ไหมมดั หมบ่ี า้ นโนนสะแบง หมู่ 2 ตำบลหนองหว้า อำเภอเบญจลักษ์ 5) กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านโนนเชียงสี หมู่ 9 ตำบลหนองหวา้ อำเภอเบญจลักษ์ 6) กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่ลายลูกแก้ว หมู่ 6 ตำบลเขิน อำเภอนำ้ เกล้ียง 7) กลุ่มอาชีพสตรีทอผ้า หมู่ 4 ตำบลคูบ อำเภอนำ้ เกล้ียง 47
การมดั หมแ่ี ละการยอ้ มสีธรรมชาติ 48
กิจกรรมในการจดั อบรม รนุ่ ท่ี 7 กิจกรรมที่ 5 การตรวจและประเมนิ ผลงาน หลังการฝึกอบรมประมาณ 2 เดือน ในช่วง เดือนสิงหาคม 2554 คณะกรรมการเครือข่าย องค์ความรู้ (KBO) จังหวัดศรีสะเกษ ได้จัดตรวจ และประเมินผลงานการผลิตต้นแบบ ลายผ้า เอกลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยให้กลุ่มอาชีพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งผ้าที่ทดลองผลิตเข้ารับการ ตรวจและประเมินผลงาน ซ่งึ ผลการประเมนิ พบวา่ ผ้าท่ีพัฒนาลายข้ึนใหม่ ส่วนใหญ่มีลวดลาย สีสันที่สวยงาม สามารถผลิตเข้าสู่ตลาดได้ และมี บางรายท่ีควรมีการปรับปรุงพัฒนาการให้สีและ การยอ้ ม การจัดแสดงผ้าเอกลักษณจ์ งั หวัดศรีสะเกษ การนำเสนองานต่อคณะกรรมการตรวจ และประเมนิ ผลงาน 49
ตวั อย่าง ลายผ้าเอกลักษณจ์ งั หวัดศรีสะเกษ ทท่ี ดลองผลติ เปน็ ผ้าตน้ แบบ 50
ตวั อยา่ ง ลายผา้ เอกลกั ษณจ์ ังหวดั ศรีสะเกษ ที่ทดลองผลิตเปน็ ผา้ ตน้ แบบ 51
กจิ กรรมที่ 6 การตดิ ตามผลการดำเนินงาน หลังการฝึกอบรมในพื้นที่ และการประเมิน ลายนก และอนื่ ๆ ผเู้ ขยี นและคณะทำงานได้ลงพื้นที่ ผลงาน ซง่ึ ประกอบดว้ ยผา้ ไหมทอมอื ลายเอกลกั ษณ์ ติดตามผลเพื่อให้คำแนะนำปรึกษาเพิ่มเติม ซึ่งมี ตา่ งๆ เชน่ ลายอปั สรา ลายดอกลำดวน ลายเถาวลั ย์ ภาพลงพน้ื ทบี่ างส่วนและข้อสรุปดงั นี้ โฮงโลหะที่ใช้ในการมดั หมี่ การมดั หม่ี ลายจากการมดั แบบจากกระดาษกราฟและการมัด การศกึ ษาแนวทางในการแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากผา้ การใหค้ ำแนะนำปรึกษา จากทีมงาน การติดตามผลหลังการอบรมรุน่ ที่ 5 บา้ นเปือยใหม่ ตำบลพรหมสวสั ด์ิ อำเภอพยหุ ์ จังหวัดศรสี ะเกษ 52
นางนฐั ฐา ทรัพยท์ ว(ี อายุ 35 ปี) ผูเ้ ขา้ อบรมมดั ลาย การสัมภาษณ์ผมู้ ีสว่ นร่วมในการผลิต และยอ้ มสี และแมห่ ัน สาสังข์ (อายุ 64 ปี) ผ้ทู อ กี่ทอผา้ เหล็ก ทีใ่ ช้ทอในหมบู่ ้าน ลายดอกลำดวน ลายผา้ เอกลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ การติดตามผลหลังการอบรมรนุ่ ท่ี 2 กลุ่มแม่บ้านหนองคูใหญ่ หมู่ 7 ตำบลเปา๊ ะ อำเภอบงึ บูรพ์ จังหวดั ศรีสะเกษ ขอ้ สรปุ จากการติดตามผลในพืน้ ที่ ผู้เขียนได้สัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนา ชาตไิ ดเ้ กดิ การเรยี นรู้ เชน่ การยอ้ มสธี รรมชาตติ อ้ งมี ผ้าเอกลักษณ์ในจังหวัดศรีสะเกษ ซ่ึงได้ข้อสรุป ลำดับขั้นตอนก่อนหลัง ย้อมครั่งก่อน จึงย้อมเข ที่นา่ สนใจ ดงั น้ี แลว้ จงึ นำมาหมกั โคลนจงึ จะทำใหส้ ตี ดิ คงทน แตถ่ ้า 1) แบบลายเอกลักษณ์ที่พัฒนาใหม่ ผู้ผลิต หากลำดบั ผดิ ยอ้ มเขกอ่ นยอ้ มครงั่ กจ็ ะทำใหค้ รงั่ ยอ้ ม เหน็ ว่า เป็นการสรา้ งทางเลือกใหมใ่ หก้ ับกลุ่มผ้ผู ลติ ไม่ติดหรือกินสีได้ดี เป็นต้น ซึ่งความรู้ต่างๆ ต้อง ทำให้เกิดการพัฒนาท่ีมีความหลากหลาย ผู้ผลิต เรยี นรจู้ ากการทดลองปฏบิ ตั ิ จงึ จะสามารถนำความ สามารถเลือกลายที่ตนสนใจนำมาผลิตเพ่ือการ ร้ไู ปใชต้ ่อยอดได้ จำหน่ายได้ 3) เกิดการเรียนรู้การมัดหมี่ที่สวยงามย่ิงขึ้น 2) กิจกรรมในการพัฒนาทำให้เกิดความรู้ใน ซ่ึงมีเทคนิคต่างๆมากมาย เช่น การมัดลายอัปสรา การออกแบบลวดลาย โดยผู้ผลิตสามารถนำความรู้ ต้องมัด 73 ลำ 13 ขีน (1 ขนี มี 2 เสน้ ) ลายดอก ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ออกแบบลวดลายของตนเอง ลำดวนต้องมดั 73 ลำ 19 ขนี หรอื 38 เส้น ได้ รวมทงั้ บางรายยงั ไมเ่ คยทดลองยอ้ มสจี ากสธี รรม 53
4) ก่อให้เกิดรายได้ท่ีมากข้ึน จากเดิมที่เคย จำหน่ายผ้าไหมทอมือ ผืนละ 1500-2000 บาท แต่เม่ือเพิ่มเติมเทคนิคใหม่ที่ทำให้ผ้าสวยงามข้ึน สามารถจำหนา่ ยไดใ้ นราคาผนื ละ 2000-2500 บาท มมี ูลค่าเพมิ่ ไมต่ ำ่ กวา่ 500 บาท ตอ่ ผนื (2 เมตร) ด้วยเหตุผลอย่างน้อย 4 ประการข้างต้น ผู้เขียนเชื่อว่า หากมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผ้าเอกลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ น่าจะเป็นส่วน สำคัญในการสร้างรายได้ให้กับชุมชน ซึ่งจะต้อง ดำเนินการโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการผลิต 5 ประการ ตอ่ ไปนี้ ควบคไู่ ปดว้ ย คอื 1) การใชเ้ สน้ ไหม ที่มีคุณภาพ 2) การทอบนก่ีพ้ืนบ้านท่ีทำให้ผืนผ้ามี เนอ้ื แนน่ 3) การเลอื กใชล้ ายทม่ี เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ 4) การเลือกใช้สีท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด และ 5) ใช้สีจากธรรมชาติ หากรักษา มาตรฐานน้ีไว้ ผ้าไหมทอมือศรีสะเกษน่าจะ เอกลกั ษณท์ ช่ี ดั เจนและเปน็ หนง่ึ ในผา้ เดน่ ของอสี าน ไดย้ าวนาน ไมแ่ พจ้ งั หวดั อื่น 54
บรรณานกุ รม กฤษฎา เต็มชนื่ , [ม.ป.ป.]. ศรีสะเกษ สุดเขตเขาพระวหิ าร อลังการแม่นำ้ มูล. กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์เทย่ี วเมอื งไทย. ศกั ด์ชิ าย สกิ ขา, 2550. รายงานการวจิ ัย แนวทางการออกแบบและพฒั นาผลติ ภัณฑช์ มุ ชน จังหวัดศรีสะเกษ (ศกึ ษากรณี ผลิตภณั ฑช์ มุ ชนทีม่ คี ่าคะแนน 1-2 ดาว). จังหวดั ศรีสะเกษ : เอกสารอัดสำเนา. สำรวย เยน็ เฉ่อื ย. จนิ ตนาการรว่ มสมัย ‘ผา้ มดั หมอี่ ีสาน’ ออกแบบลายดว้ ยคอมพวิ เตอร.์ หนังสอื พิมพ์ฐานเศรษฐกจิ ฉบับที่ 2394 22 ม.ค. - 24 ม.ค. 2552. 55
ภาคผนวก แบบลายผา้ เอกลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ
59
60
Search