ไมผ ลสําหรับทีส่ ูง ผเู รยี บเรยี ง : นายอมร นราวงศานนท, นายสรุ พล จารุพงศ, นายพยหุ แกวคูณ, นายเมธี มานะพงศ, นายพรพงศ นุชประเสริฐ กรมสง เสรมิ การเกษตร C คาํ นาํ C ทอ C บวย C แอปเปล C สาล่ี C พลัม C พลับ C กาแฟอราบิกา C สตรอเบอร่ี C เบด็ เตลด็ C การปฏบิ ัติงานประจําปข องผลไมเ ขตหนาว C ศัตรูที่สําคญั และวธิ กี ารปอ งกนั กําจดั ศตั รขู องผลไมบ นทส่ี งู C สรุปผลสําเรจ็ ในการปลกู ไมผ ลหนาวและกง่ึ หนาวบนทส่ี งู คํานํา การสงเสริมการเกษตรบนทส่ี งู ของประเทศไทยไดม กี ารดําเนนิ งานกนั มานานแลว หนวยงาน ตางๆท่ีเกย่ี วขอ งโดยมี “โครงการหลวง “ เปน แกนนําไดร ว มมอื กนั ในการทจ่ี ะคน ควา วจิ ยั พนั ธพุ ชื ตา งๆ ซึ่งสวนใหญน ําพันธุมาจากตางประเทศ เพอื่ สรปุ ผลออกมาวา พชื ชนดิ ไหน พันธุอ ะไร มคี วามเหมาะสมท่ี จะใชสงเสริมใหชาวไทยภูเขาปลูกทดแทนฝน จากการศึกษา คน ควา วิจัย เปน เวลานานพอสมควร ปจจุบันพอจะทราบผลแลววามีพืชชนิดใด ที่เหมาะสม สาํ หรบั ในเรอ่ื งของไมผ ลสําหรบั ในเรอ่ื งของไมผ ลสําหรับที่สูง เชน บวย ทอ สาล่ี แอปเปล พลับ พลัม และสตรอเบอรี่ น้ัน สามารถพดู ไดค อ นขา งชดั เจนวา มขี อ มลู พอจะนําไปใชใ นการสง เสรมิ ได แลว รวมถงึ กาแฟอราบิกาซง่ึ เปน ไมย นื ตน ทส่ี ามารถปลกู ไดด บี นทส่ี งู ดวย กรมสงเสรมิ การเกษตร ไดเ ลง็ เหน็ ความสําคญั ของขอ มลู ดงั กลา ว จึงไดรวบรวมและจัดทําเปน รูปเลมขึ้นมาซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนแกนักสงเสริม ในแงข องการเปน ขอ มลู พน้ื ฐาน สําหรบั การสง เสรมิ การปลูกไมผ ลบนทส่ี งู และยังเปนการเผยแพรความรูใหแกบุคคลที่สนใจทั่วไป คณะผูจัดทํา พฤษภาคม 2534
2 บวย ชื่อสามัญ : Japanese apricot ช่ือวทิ ยาศาสตร : Prunus mume พนั ธุ : 1. Ping Ting 2. Jien Tow 3. เชยี งราย สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม บริเวณท่ีปลกู บว ย ควรเปน ดนิ ทม่ี กี ารระบายน้ําดี ไมต อ งการอากาศทห่ี นาวเยน็ มากนกั ไม ตองการอากาศทห่ี นาวเยน็ มากนกั บางพนั ธสุ ามารถปลกู ไดด ี แถบอําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย และ โปงแยง จังหวัดเชียงใหม สว นพนั ธจุ ากตา งประเทศตอ งการอากาศทห่ี นาวเยน็ มากกวา และขน้ึ ไดด ใี น บริเวณทม่ี คี วามสงู จากระดบั น้ําทะเลประมาณ 1,000 เมตร ขน้ึ ไป ระยะปลกู : 10 x10 เมตร (16 ตน /ไร) การขยายพนั ธุ : 1. ปกชํา โดยใชก ง่ิ จากตน ขนาดเลก็ (1ปขึ้นไป) 2. ตดิ ตา นยิ มทําในชวงที่พักตัว 3. ตอน ทําในฤดฝู น การตดั แตง : 1. แบบ open center 2. แบบ modified leader การเกบ็ เกย่ี ว : ผลเร่ิมสุกต้ังแตต น เดอื นมนี าคม สามารถเกบ็ ผลไดต ลอดทง้ั เดอื น ทยอยเก็บหลายๆ ครง้ั วิธีเกบ็ เกย่ี ว - เขยา ตน - เก็บดวยมอื สามารถเลอื กเกบ็ เฉพาะลกู ทส่ี กุ ได - ใชส ารเคมี ethephon พน การผลติ : 1,440 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 25-30 บาท/กิโลกรัม สถานการณ : ปจจุบันผลผลติ ทไ่ี ดย งั ไมเ พยี งพอกบั ความตอ งการของตลาด แตใ นอนาคตคาดวา พ้ืนท่ีปลูกจะเพม่ิ มากขน้ึ และผลผลติ จะเพยี งพอตอ ความตอ งการ และอาจสง เปน สนิ คา ออกไปจําหนา ยตา งประเทศได
3 ทอ ชื่อสามัญ : Peach ช่ือวทิ ยาศาสตร : Prunus persica Batsch. พนั ธุ : 1. Flordabelle 2. Flordasun 3. Flordared 4. Earligrande สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม สามารถขึ้นไดดี ในเขตทม่ี กี ารปลกู ทอ พน้ื เมอื งกนั อยเู ดมิ แลว ซง่ึ สามารถนํากง่ิ พนั ธดุ ไี ปตอ กง่ิ ติดตาหรือเสยี บกง่ิ บนตน ทอ พน้ื เมอื งได โดยงา ยมกี ารเจรญิ เตบิ โตไดร วดเรว็ และใหผ ลไดเ รว็ ขน้ึ สําหรับ ความสงู จากระดบั น้ําทะเลที่เหมาะสม ควรสงู ตง้ั แต 1,000 เมตร ขน้ึ ไป ระยะปลกู : 6 x 6 เมตร (44 ตน /ไร) การขยายพนั ธุ : การเตรยี มตน ตอ เพาะเมลด็ ตน ตอทใ่ี ช คอื ทอ พน้ื เมอื ง การเตรยี มตน พนั ธุ - ตดิ ตา - ตอ กง่ิ - เสียบกิ่ง การตดั แตง : แบบ open center การเกบ็ เกย่ี ว : จะเกบ็ ผลไดป ระมาณเดอื น มนี าคม – พฤษภาคม โดยตนทอจะเริ่มใหผล เมอ่ื อายุ 3 ป และใหผ ลผลติ สงู สดุ เมอ่ื อายุ 4-5 ป ผลผลติ : 1,100-2,500 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 20-50 บาท/กิโลกรัม (ขน้ึ กบั ขนาดผลและพนั ธุ) สถานการณ : ทอเปนพืชที่ชาวเขารูจักและปลูกกันมาเปนเวลานานแลวแตเปนพันธุที่มีผลขนาดเล็กและรส ชาติไมดีทอทส่ี ง เสรมิ ใหป ลกู ในปจ จบุ นั เปน ทอ พนั ธดุ จี ากตา งประเทศผลขนาดใหญ รสชาตดิ แี ละขาย ไดร าคาสงู
4 สาลี่ ชื่อสามัญ : Pear ช่ือวทิ ยาศาสตร : Pyrus pyrifolia L. P. communis L. พนั ธุ : 1. Xiang Sui 2. Yokoyama Wase สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม สาล่ีตองการอากาศทห่ี นาวเยน็ ในชว งฤดหู นาวอยา งเพยี งพอ เพื่อทาํ ลายการพกั ตวั ของตาดอก และตาใบ ดังนน้ั จงึ สามารถปลกู ไดด ใี นแถบภเู ขาสงู ๆ ทางภาคเหนอื ของไทย ตง้ั แตร ะดบั 1,000 เมตร ขน้ึ ไป ระยะปลกู : 8 x 8 เมตร (25 ตน /ไร) การขยายพนั ธุ : การเตรยี มตน ตอ - เพาะเมลด็ - ปก ชํา - ตอน ตนตอที่ใชคือ ตน ตอจากไตห วนั (Tangli และ Nian li) การเตรยี มตน พนั ธุ - ตดิ ตา - ตอ กง่ิ การตดั แตง : นิยมโนม กง่ิ ใหข นาดกบั พน้ื ดนิ เพอ่ื ใหต น แผก ระจายออกไป จะทําใหแตกกิ่งแขนง และเกดิ กง่ิ สเปอร (Spur) ไดร วดเรว็ มีผลใหก ารตดิ ดอกออกผลเกดิ ขน้ึ ไดเ รว็ ขน้ึ เรียกการจดั ทรงตน แบบนว้ี า ทานาชิตาแกะ (tanashitake) การเกบ็ เกย่ี ว : ผลจะแกเ กบ็ ไดป ระมาณเดอื นกรกฎาคม-สงิ หาคม พยายามอยาทําใหขั้วหลุดจากผล เพราะจะทําใหเสียราคา ผลผลติ : 3,080 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 30-80 บาท/กิโลกรัม สถานการณ : อนาคตจะมกี ารสง เสรมิ ใหป ลกู มากขน้ึ ชว ยลดการนําเขา จากตา งประเทศ และกําลงั ทดลองหาพนั ธใุ หมๆ เพม่ิ เตมิ
5 แอปเปล ชื่อสามัญ : Apple ช่ือวทิ ยาศาสตร: Malus domestica Borkh. พนั ธุ : 1. Anna 2. Ein Shemer สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม การปลูกแอปเปล ทจ่ี ะใหผ ลดนี น้ั ตอ งมสี ภาพอากาศทห่ี นาวเยน็ ในชว งฤดหู นาวอยา งเพยี งพอ เพ่ือทําลายการพกั ตวั ของตาดอกและตาใบ เชน เดยี วกบั สาลค่ี วามสงู จากระดบั น้ําทะเลที่เหมาะสม คอื ประมาณ 1,000 เมตรขน้ึ ไป ระยะปลกู : 2 x 4 ถงึ 4 x 4 เมตร (100-200 ตน /ไร) การขยายพนั ธุ : การเตรยี มตน ตอ - กลบโคน (stooling) - ตอน - ตนตอทใ่ี ช คอื MM. 106 การเตรยี มตน พนั ธุ - ตดิ ตอ - ตอ กง่ิ - เสียบกิ่ง การตดั แตง : แบบ central leade หรือ open vase การเกบ็ เกย่ี ว : ท้ังสองพันธุจ ะเก็บไดพรอ มๆกนั ประมาณเดอื น มถิ นุ ายน โดยการเก็บผลนั้นจะตอง รอใหผ ลแกเต็มทเ่ี สียกอน ผลผลติ : 2,000- 8,000 กิโลกรัม/ไร สถานการณ : อนาคตจะมกี ารสง เสรมิ ใหป ลกู มากขน้ึ เพอ่ื ลดการนําเขา จากตา งประเทศ
6 พลับ ชื่อสามัญ : Persimmon ช่ือวทิ ยาศาสตร : Diospyros kaki L. พนั ธุ : 1. Fuyu 2. Xichu 3. Hyakume 4. Niu Scin สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม พลับ สามารถขน้ึ ไดด ตี ง้ั แตร ะดบั พน้ื ราบของจงั หวดั เชยี งใหม และเชยี งราย จนกระทั่งถึง 1,300-1,400 เมตร จากระดบั น้ําบนภเู ขา สูงๆ ซ่ึงมีอากาศหนาวเย็นตลอดป ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั ชนดิ พนั ธข องพลบั น้ันๆ การเลือกพันธุที่เหมาะสมกับสภาพแตละทองที่ จึงเปน เรอ่ื งจํา เปน และสําคญั มาก ระยะปลกู : 6 x 6 เมตร (เมตร (44 ตน /ไร) การขยายพนั ธ : เตรียมตนตอ - เพาะเมล็ด ตน ตอทใ่ี ช คอื พนั ธเุ ตา ซอ่ื และกลวยฤาษี การเตรยี มตน พนั ธุ - ตดิ ตา - ตอ กง่ิ - เสียบกิ่ง การตดั แตง : แบบ open center การเกบ็ เกย่ี ว : ผลจะแกเก็บเกี่ยวไดตั้งแตเดือน กรกฎาคม – กันยายน เก็บเกี่ยวโดยการใชกรรไกร ตัดที่ขั้วผล การผลติ : 3,500 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 50-100 บาท/กิโลกรัม สถานการณ : ปจจุบันผูป ลกู ขาดความรทู างดา นวชิ าการตา งๆ เชน ทางดา นวชิ าการตา งๆ เชน การบม การแปรรปู ฯลฯ แตใ นอนาคตจะมกี ารสง เสรมิ ใหป ลกู และเผยแพรค วามรู ทางวชิ าการใหม าก คาดวา จะสามารถปลกู เปน การคา สาํ หรับบริโภคภายในประเทศ เพอ่ื ลดการนําเขา ได
7 พลัม ชื่อสามัญ : Plum ช่ือวทิ ยาศาสตร : Prunus domestica L. พนั ธุ : 1. Gulf Ruby 2. บา นหลวง สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม พลัม สามารถขน้ึ ไดด ใี นเขตทม่ี สี ภาพอากาศหนาวเยน็ ความสงู ทเ่ี หมาะสมควรสงู จากระดบั น้ํา ทะเลต้ังแต 1,000 เมตร ขน้ึ ไป จะสงั เกตไดว า บรเิ วณทส่ี ามารถปลกู ทอ ไดผ ลดี กส็ ามารถจะปลกู พลมั ไดด ดี ว ย ระยะปลกู : 6 x 6 เมตร (44 ตน /ไร ) การขยายพนั ธุ : การเตรยี มตน ตอ - เพาะเมลด็ ตน ตอทใ่ี ช - คือ ทอ พน้ื เมอื ง การเตรยี มตน พนั ธุ - ตดิ ตา - ตอ กง่ิ การตดั แตง : แบบ open center ผลผลติ : 1,500 – 2,000 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 30-150 บาท/กิโลกรัม (ขน้ึ กบั ชนดิ พันธุ) สถานการณ : ปจจุบันยังไมม กี ารปลกู เปน การคา อยา งจรงิ จงั ในประเทศไทย คาดวา ในอนาคตจะ คนพบพันธทุ ่ีเหมาะสมย่ิงข้ึน จนสามารถปลกู เปน การคา ไดด ี
8 ชื่อสามัญ : Strawberry สตรอเบอรี่ ช่ือวทิ ยาศาสตร : Fragaria spp. พนั ธุ : 1. Tioga 2. Sequoia สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม สตรอเบอร่ี ชอบดินรวนปนทรายมกี ารระบายน้ําดี ดนิ ควรมคี วามเปน กรดเลก็ นอ ยประมาณ 5-7 และยงั ตอ งการชว งแสงต่ํากวา 11 ชั่วโมง ในการตดิ ผลถา อณุ หภมู ยิ ง่ิ ต่ํา จะทําใหก ารตดิ ดอกออก ผลดขี น้ึ ระยะปลกู : 25 x 30 เซนตเิ มตร (10,000 – 12,000 ตน /ไร) การขยายพนั ธุ : ใชไหล การเกบ็ เกย่ี ว : ผลจะเริ่มเก็บเกี่ยวได เดอื นธนั วาคมถงึ กลางเดอื นเมษายน การเกบ็ เกย่ี วตอ งคํานงึ ถึงระยะทางจากแหลง ผลติ ไปสตู ลาด ถา ระยะทางไกลตอ งเกบ็ ผลทไ่ี มส กุ เตม็ ท่ี เพราะผลเนา เสยี งา ย ผลผลติ : 1,500 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 50 บาท/กิโลกรัม สถานการณ : สตรอเบอร่ี เปน พชื ท่ไี ดยอมรับจากเกษตรกรเปน อยา งดี และมีการขยายพ้นื ท่ปี ลกู อยางกวา งขวางในบรเิ วณภาคเหนอื ตอนบนของประเทศไทย
9 กาแฟอราบิกา ชื่อสามัญ : Arabica coffee ช่ือวทิ ยาศาสตร: Coffea arabica L. พนั ธุ : Catimor สภาพดนิ ฟา อากาศทเ่ี หมาะสม บริเวณที่ปลูกกาแฟอราบิกา ควรเปน ดนิ เหนยี วรว น อมุ น้ํา และระบายน้ําไดด ี มีสภาพอากาศ คอนขา งหนาวเยน็ อณุ หภมู เิ หมาะสม ประมาณ 15-21 องศาเซลเซยี ส จะทําใหมีกาแฟมีการเจริญ เตบิ โตดี และควรมคี วามสงู จากระดบั น้ําทะเลประมาณ 700-1,800 เมตร ระยะปลกู : 2 x 2 เมตร (400 ตน /ไร) การขยายพนั ธุ : เพาะเมลด็ การตดั แตง : 1. แบบเหลอื ลําตน เดยี ว (single-stem pruning system) 2. แบบเหลอื ลําตน มาก (multiple-stem pruning system การเกบ็ เกย่ี ว : เก็บผลที่สุกเต็มที่เทานั้น โดยทยอยเก็บจนหมดตน ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพนั ธ ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั ระดบั ความสงู ของพน้ื ท่ี ผลผลติ : 155 กิโลกรัม/ไร ราคาผลผลติ 70 บาท/กิโลกรัม สถานการณ : กาแฟอราบิกา เปน พืชทม่ี คี วามสําคัญทางเศรษฐกิจ เพราะเปนกาแฟที่มีคุณภาพ และรสชาตดิ กี วา ชนดิ อน่ื ตลาดมคี วามตอ งการสงู แตป จ จบุ นั ยงั ผลติ ไดไ มม ากนกั
10 เบ็ดเตล็ด Loquat Apricot Sweet Cherry Eriobotrya Japonica Lindl. Prunus armeniaca L. Prunus avium L. Kiwifruit Red currant Raspberry Actinidia chinensis Planch. Ribes spp. Rubus idaeus L. Avocado Nectarine Passion fruit Persea americana Mill. Prunus persica var. nectarine Passiflora spp. Fig Olive Blackberry Ficus carica L. Olea europaea Rubus ulmifolius
11 การปฏิบัติงานประจําปข องไมผ ลเขตหนาวในประเทศไทย พชื ทอ บวย พลัม แอปเปล สาลี่ พลับ เดอื น - ดูแลรกั ษาทว่ั ไป - ดูแลรกั ษาทว่ั ไป - การตดั แตง - การตดั แตง - การตดั แตง - การตดั แตง มกราคม - การตดั แตง - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธ กุมภาพันธ - Thinning - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป การเสียบกง่ิ การเสยี บกง่ิ การเสียบกง่ิ การเสยี บกง่ิ มีนาคม การตดิ ตา - ฉดี ยาปอ งกนั - ฉดี ยาปอ งกนั - ฉดี ยาปอ งกนั - ชวยผสมเกสร เมษายน - Thinning กําจดั เพลย้ี หอย กําจดั เพลย้ี หอย กําจดั เพลย้ี หอย - หอ ผล - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - pruning พฤษภาคม - Thinning - งานขยายพันธุ มิถุนายน - หอ ผล - หอ ผล - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ปองกันกําจดั - Thinning - จดั เตรยี มวสั ดุ โรคและแมลง - ปองกันกําจดั - ปองกันกําจดั - ปองกันกําจดั โรคและแมลง โรคและแมลง โรคและแมลง - หอ ผล การคดั บรรจุ - เก็บเกี่ยวผลผลิต - การคดั เกรด - Thinning - Thinning - Thinning - จัดเตรยี มวสั ดุ หบี หอ - การบรรจหุ บี หอ - การแปรรปู - ปองกันกําจดั การคดั บรรจุ - ใสปุย โรคและแมลง - เก็บเกี่ยวผลผลิต หีบหอ 13-13-21 - การคดั เกรด - Thinning - การบรรจหุ บี หอ - ใสปุย - การแปรรปู - หอ ผล - ใสปุย - งานขยายพันธุ 13-13-21 15-15-15 การปลกู - เก็บเกี่ยวผลผลิต - เก็บเกี่ยวผลผลิต - งานขยาย - Thinning - Thinning - การคดั เกรด - การคดั เกรด การปลกู - หอ ผล - หอ ผล - การบรรจหุ บี หอ - การบรรจหุ บี หอ - ปองกันกําจดั - ปองกันกําจดั - การแปรรปู - การแปรรปู โรคและแมลง โรคและแมลง - ใสปุย 13-13-21 - เก็บเกี่ยวผลผลิต - เก็บเกี่ยวผลผลิต - Thinning - Thinning - การคดั เกรด - การคดั เกรด - หอ ผล - หอ ผล - การบรรจหุ บี หอ - การบรรจหุ บี หอ - ปองกันกําจดั - ปองกันกําจดั - การแปรรปู - การแปรรปู โรคและแมลง โรคและแมลง - ใสปุย - ใสปุย - เก็บเกี่ยวผลผลิต - จดั เตรยี มวสั ดุ 15-15-15 15-15-15 - งานขยายพันธุ การคดั บรรจุ - งานขยายพันธุ - งานขยาย - การปลกู หีบหอ การปลกู - การตอน - การคดั เกรด - งานขยายพันธุ การปกชํา - การบรรจหุ บี หอ - ใสปุย การปลกู - การแปรรปู 13-13-21 กรกฎาคม - งานขยายพันธุ - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - งานขยายพันธุ - เก็บเกี่ยวผลผลิต - เก็บเกี่ยวผลผลิต - จัดเตรยี มวสั ดุ การปลกู - งานขยายพันธุ - การคดั บรรจุ การตดิ ตา การตดิ ตา,ตอ กง่ิ - การคดั เกรด - การคดั เกรด ตอนกง่ิ การปลกู หีบหอ การตอน - การบรรจหุ บี หอ - การบรรจหุ บี หอ - ใสปุย การปกชํา - การปลกู - งานขยายพันธุ 13-13-21 - งานขยายพันธุ การปลกู การปลกู การตดิ ตา การตอน เสียบกิ่ง,การปกชํา
12 พชื ทอ บวย พลัม แอปเปล สาลี่ พลับ เดอื น - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - งานขยายพันธุ - ใสปุย - เก็บเกี่ยวผลผลิต - เก็บเกี่ยวผลผลิต สิงหาคม - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธุ - การคดั เกรด - กรรมวิธลี ด การตดิ ตา, การตดิ ตา,ตอ กง่ิ 15-15-15 - การบรรจหุ บี หอ ตอนกง่ิ การปลกู - การแปรรปู ความฝาด การปลกู การตอน การปลกู - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธุ - การคดั เกรด การปกชํา - การปลกู - การบรรจหุ บี หอ การปลกู - การแปรรปู กันยายน - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ใสปุย - เก็บเกี่ยวผลผลิต 15-15-15 - กรรมวิธลี ด ตุลาคม - ใสปุย อนิ ทรีย - ใสป ยุ อนิ ทรยี - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป รอบทรงพมุ รอบทรงพมุ - ใสปุยอินทรีย - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป ความฝาด - ใสป ุยอินทรยี - การคดั เกรด พฤศจิกายน - การตดั แตง - การตดั แตง รอบทรงพมุ รอบทรงพมุ - ใสปุยอินทรีย - การบรรจหุ บี หอ - การตดั แตง รอบทรงพมุ - การแปรรปู ธันวาคม - การตดั แตง - การตดั แตง - การตดั แตง - งานขยายพันธุ - ดแู ลรกั ษาทว่ั ไป - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธุ - งานขยายพันธุ - กําจดั เพลย้ี หอย - การตดั แตง - ใสป ยุ อินทรยี - งานขยายพันธุ การเสยี บกง่ิ การเสียบกง่ิ การเสยี บกง่ิ - กําจดั เพลย้ี หอย รอบทรงพมุ การตดิ ตา การตดิ ตา การตดิ ตา - การตดั แตง - งานขยายพันธุ * ขอมูลจาก “งานผลไม โครงการหลวง”
13 ศัตรูท่ีสําคัญ และวธิ กี ารปอ งกนั กําจดั ศตั รขู องไมผ ลบนทส่ี งู ของประเทศไทย ชนิดพืช ศตั รทู ส่ี ําคญั โรค การปองกันกําจดั แมลง การปอ งกนั กําจดั บวย ราแปง ไมค อ ยมีปญหามากนัก แตถา เปน เพลย้ี ออ น ไมค อ ยมีปญหามากนกั อาจฉีด สาลี่จีน มากอาจฉดี พน ดว ย wettable sulfur แมลงวันทอง พนดวย Sevin เปน จุดๆ เฉพาะ ผลเนา หรอื Benlate เปนครั้งคราว บรเิ วณทม่ี เี พลย้ี ออ นเขา ทําลาย แอปเปล ฉดี พน ยาฆาเชื้อราเปนครั้งคราวโดย ผเี สอ้ื เจาะดดู ผล ใชว ธิ ีการหอผลและใชกับกักแสง ทอ ผลเนา เนน ชว งเรม่ิ ตดิ ผล และเมอ่ื ผลแก แมลงวนั ทอง ไฟเพอ่ื ดกั ทําลายตวั เต็มวัย พลับ ราสีชมพู พลัม ราแปง เพลย้ี ออ น อาจฉดี พน ยาฆา แมลงเปน ครง้ั สตอเบอรี่ โคนเนา Aphanostigma piri คราวและหอผล เพอ่ื ปอ งกนั กาแฟ ราแปง เพลย้ี หอย แมลงเขาทําลาย ราสนมิ ฉดี พน ยาฆาเชื้อราใหทั่วถึงและตัด เพลย้ี ออ น แตง กง่ิ ทเ่ี ปน โรคเผาทําลายเตรียมดนิ แมลงวนั ทอง ราแปง หลมุ ปลกู ใหโปรงมกี ารระบายนํ้าดี หนอนกดั กนิ ใบ ราสนมิ ฉดี พนดวยยากนั ราเปนครั้งคราว แมลงวันทอง ใชส ารเหยื่อพิษผสมสารลอ ราแปง เพลย้ี ออ น แมลงวนั ทองเกบ็ ผลทร่ี ว งหลน แอนแรคโนส ฉดี พนยากันราเปนครั้งคราว โคนตนไปทําลาย เพอ่ื ปอ งกนั ใบจุด ผเี สื้อเจาะดดู ผล และแพรระบาดและหอผล leaf scorch ฉดี พนยากันราเปนครั้งคราว แมลงวนั ทอง ใชแ สงไฟลอ และหอ ผลพรอ มกบั เหย่ี ว รวบรวมผลทร่ี ว งหลน ไปเผา เดด็ ใบทง้ิ หรอื พน ดว ย Benlate เพลี้ยออน ทาํ ลาย ราสนมิ พนดวย Captan หรอื Benlate แมลงวนั ทอง เหมอื นทอ พรวนดินใหโ ปรงหรืออบดินดวย หนอนกดั กินราก methyl bromide เอาหนอนมาทําลายหรือโรยยา ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน แดททรู า ,คา เพลย้ี ออ น ประเภทดดู ซมึ กอ นปลกู พนดวย ทยุ หรอื ทปิ บกี า sevin แมลงปากดดู ขนาด พน ดว ยพอสซ หรอื อโซดรนิ เลก็ พน ดว ยอโซดรนิ หนอนเจาะกง่ิ และลํา ตน * ชอ มูลบางสวน จากรายงานการปฏบิ ัตงิ าน งานไมผ ล โครงการหลวง
14 สรุปผลสําเรจ็ ในการปลกู ไมผ ลหนาวและกง่ึ หนาวบนทส่ี งู ของประเทศไทย ชนดิ เปน การคา ไดด ี มีหวงั มาก พอมหี วงั ยังหวงั ยาก Almond X X Apple X X Apricot X X Avocado X X Blackberry/blueberry X X Chestnut X X Fig X X Grape X X Japanese Apricot X X Kiwifruit X Loquat X Macadamia Nut X Nectarine X X Passion Fruit X Peach Pear,Asian X Pear,European Pecan Pepino Persimmon Plum Pomegranate Raspberry Strawberry Sweet Cherry หมายเหตุ ไมรวมไมผลบางชนิด เชน ลิ้นจี่ สม มะมว ง * ขอมูลจาก งานเกษตรทส่ี งู มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: