สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 1 ASEAN Do’s and Don’ts สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย
2 ASEAN Do’s and Don’ts สAาSธEาAรNณDรัฐoอ’นิs โaดnนdีเซDียon’ts จดั ทำ�โดย : ส�ำ นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (ก.พ.) 47/111 ถนนตวิ านนท์ ตำ�บลตลาดขวญั อ�ำ เภอเมือง นนทบุรี 11000 โทรศพั ท์ 0 2547 1000 โทรสาร 0 2547 1108 หวั หนา้ โครงการและบรรณาธกิ าร : รศ.ดร.จิรประภา อคั รบวร หัวหน้าทมี วิจัย : นายวัลลภ ใหญ่ยงิ่ นกั วจิ ยั : นายจารุวฒั น์ เจรญิ พเิ ชฐ ทปี่ รึกษาโครงการ : นายประดาป พบิ ลู สงคราม ผู้เชย่ี วชาญดา้ นระบบราชการใน ASEAN ผศ.ดร.อรนชุ พฤฒิพิบลู ธรรม ผเู้ ช่ยี วชาญด้านวฒั นธรรม ASEAN ผปู้ ระสานงานและตรวจทานคำ�ผดิ : นางสาวเยาวนชุ สุมน เลขมาตรฐานประจ�ำ หนงั สือ : 978-616-548-144-1 จำ�นวนพิมพ์ : 5,400 เลม่ จำ�นวนหน้า : 120 หน้า พิมพ์ที่ : กรกนกการพมิ พ์
สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 3 คำ�นำ� ส�ำ นักงาน ก.พ. ในฐานะองคก์ รกลางด้านการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คลภาครฐั และไดร้ บั มอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบตาม แผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ใน ขอ้ A.7 คอื การพฒั นาสมรรถภาพของระบบราชการโดยการ เพ่มิ ขดี ความสามารถของทรพั ยากรบุคคลในระบบราชการ จากการดำ�เนนิ การทผ่ี า่ นมาแมว้ า่ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ได้ ดำ�เนินการจัดอบรมหลักสูตรความรู้เก่ียวกับอาเซียนให้แก่ ข้าราชการทัง้ ในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคหลายคร้งั แต่ก็ ยงั ไมค่ รอบคลมุ และทว่ั ถงึ บคุ ลากรภาครฐั ซงึ่ มจี �ำ นวนมากกวา่ 2 ล้านคน ส�ำ นักงาน ก.พ. จงึ เห็นควรพัฒนาชุดการเรยี นรู้ “อาเซยี น กรู ”ู เพอ่ื เผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกบั อาเซยี นออกไปใน วงกวา้ ง อนั จะสง่ ผลใหบ้ คุ ลากรภาครฐั ของประเทศสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และพฒั นาตนเองใหม้ คี วามรอบรเู้ กย่ี วกบั ประชาคม อาเซียนได้อย่างสะดวกและมมี าตรฐานเดียวกนั ทง้ั นส้ี �ำ นกั งาน ก.พ. กบั สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (นิด้า) จดั ท�ำ ชดุ หนงั สอื เรือ่ ง “ASEAN Do’s and Don’ts” ในประเทศอาเซยี น 10 ประเทศ เพอ่ื เผยแพรส่ ง่ิ ทคี่ วรท�ำ และ ไม่ควรทำ�เม่ือต้องมีสัมพันธ์ ติดต่อกับคนในประเทศเหล่านี้ หวังว่าท่านผู้อ่านคงได้รับความรู้และเพลิดเพลินไปกับ หนงั สือชดุ นี้ สำ�นกั งาน ก.พ.
4 ASEAN Do’s and Don’ts ขอ้ คดิ จากบรรณาธกิ าร เม่ือเริ่มต้นจัดทำ�หนังสือชุดการเรียนรู้ “อาเซียน กูรู” เร่ือง “ASEAN Do’s and Don’ts” ในประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ได้มีโอกาสพูดคุยกับผู้เช่ียวชาญ ASEAN อดีตท่านทูตประดาป พิบูลสงคราม เก่ียวกับการเรียนรู้ ของผู้ไปเป็นทูตในแต่ละประเทศต้องเรียนรู้วัฒนธรรมอย่างไร ทำ�ให้ทราบว่าตัวท่านเองมิได้เรียนรู้วัฒนธรรมแต่ละประเทศ แตท่ า่ นถกู สอนใหเ้ ปน็ คนชา่ งสงั เกต และกลา้ ทจ่ี ะถามเพอ่ื เรยี นรู้ วัฒนธรรมของแตล่ ะประเทศ หลังจากท่ีได้อ่านงาน Do’s and Don’ts ของ ทุกประเทศแล้วทำ�ให้สามารถสรุปการเรียนรู้สิ่งที่ควรทำ�และ ไม่ควรทำ�ของประเทศเหล่านี้ได้จากเรื่องหลักๆ ของศาสนา ประจำ�ชาติ ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อวัฒนธรรมของแต่ละ ประเทศ หากแตใ่ นความเป็นจริงแลว้ คนในแต่ละประเทศกย็ ัง มคี วามแตกตา่ งหลากหลายกนั อยา่ งมาก ซง่ึ เราไมค่ วรเหมารวม หรือมี “สามัญทัศน์” (Stereotype) อันเป็นคตินิยมหรือ ทศั นคตขิ องสงั คมทว่ั ไปทมี่ ตี อ่ กลมุ่ คนอนื่ ชาตอิ นื่ หรอื ลกั ษณะ ของบุคคลบางประเภทจนกลายเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหมด หากเราควร “เปดิ หู เปดิ ตา เปดิ ปาก เปิดใจ” เพือ่ จะเรียนรู้ โดยมหี นงั สอื ชดุ นเ้ี ปน็ พนื้ ฐานของการเรยี นรคู้ วามแตกตา่ งของ คนในแต่ละประเทศ หวังว่าหนังสือเล่มน้ีคงเป็นประโยชน์แก่ ท่านผอู้ า่ นทุกทา่ น และขอขอบคุณเจา้ ของรปู ภาพและเว็บไซต์ ทเ่ี ผยแพรใ่ หเ้ กดิ ความเขา้ ใจในอาเซียนร่วมกนั รศ.ดร.จิรประภา อคั รบวร บรรณาธิการ
สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 5 สารบัญ 1. ขอ้ มูลสำ�คัญของประเทศโดยย่อ 7 2. วฒั นธรรม 9 2 .1 ห2.ม1ว.1ด กกาารรทเรกั ียทกาชยอ่ื 10 22..11..23 กกาารรกกลลา่า่ ววขทอกั โททาษย 11 2117 2.1.4 การกลา่ วขอบคณุ 22 2.1.5 การกลา่ วลา 23 2 .2 ห2.ม2ว.1ด ออาาหหาารรแปลระะมจา�ำ รชยาตาท ิ ในการรับประทานอาหาร 24 25 2.2.2 วธิ กี ารรับประทานอาหาร 27 2.2.3 ขอ้ ควรระวงั ในการรับประทานอาหาร 28 2.2.4 การช�ำ ระคา่ อาหาร 33 2.2.5 การใหท้ ปิ ในร้านอาหารโรงแรมใหญ ่ 34 2.2.6 อตั ราค่าอาหารเอเซียหรือตะวันตกในภตั ตาคาร 35 2 .3 ห2.ม3ว.1ด ศกาาสรนสานแทลนะาปเรรอ่ื ะงวศัตาศิ สานสาต ร ์ 3367 2.3.2 การสนทนาเรอื่ งประวัตศิ าสตร์ 44 2.3.3 ความส�ำ คญั ของคัมภีรก์ ุรอาน 45 2.3.4 ความสำ�คญั ของซนุ นะ 46 2.3.5 ความสำ�คญั ของซารีอา 47 2 .4 แหลมะวกดามราเขรย้าารท่วมในงากนารพเธิขสีา้ ส�ำ คงั คัญม 48 2.4.1 การติดตอ่ ราชการ 49 2.4.2 การเขา้ รว่ มพธิ แี ต่งงาน 56 2.4.3 กกกาาารรรเเปขขร้าา้ ะรรก่วว่ อมมบงพาพิธนีทิธศกีำ�พนร ร้ำ�มมทนาตง ์ ศาสนา 57 22..44..45 6601 2.4.6 การปฏิบตั ิตวั ภายในมัสยดิ 68 2.4.7 การชำ�ระล้างรา่ งกาย 77 2.4.8 การใช้นามบตั ร 78 2.4.9 มารยาทการแตง่ กายของสตร ี 79
6 ASEAN Do’s and Don’ts 2.5 หมวดการซื้อของ 80 2.5.1 การต่อรองราคา 81 2.5.2 วธิ ีการชำ�ระเงนิ 83 2.5.3 สินคา้ นา่ ซื้อ/ห้ามซือ้ 85 22..55..45 สสิินนคค้า้านหา่้าซมื้อซ ้อื 8887 2.5.6 การแลกเงนิ 90 2 .6 ห2.ม6ว.1ด ภกาาษรใาชก้มาือยซ ้ายในการรบั -ส่งของ 9978 2.6.2 การใช้น้ิวโป้ง 99 2.6.3 การผายมอื ขวา 100 2.6.4 การวางมอื ท่ีสะโพกหรอื ยกมอื กอดอก 101 2.6.5 การสัมผัสศรี ษะผอู้ น่ื 102 2 .7 ห2ม.7ว.1ดอ สน่ื ิ่งๆท ค่ี วรน�ำ ติดตวั ไปดว้ ย 103 104 22..77..23 กกาารรใเดชบ้ินทริกาางรขทอางงสคตมรนโี ดายคลม�ำ พ ัง 110085 2.7.4 การเดินทางกับเด็กเล็ก 109 2.7.5 การใชโ้ ทรศัพท ์ 110 2.7.6 การแต่งกายประจำ�ชาต ิ 114 2.7.7 การนับเวลาและวนั หยุดส�ำ คญั ของอนิ โดนเี ซยี 116 บรรณานุกรม 117
สาธารณรฐั อินโดนีเซีย 7 1 ขอ้ มลู สำ�คัญของประเทศ โดยย่อ ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ Indonesia Jakarta แผนที่
8 ASEAN Do’s and Don’ts สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย ชอ่ื ทางการ : สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี [9] เมืองหลวง : จาการต์ า ขนาดประเทศ : 1,904,569 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 248 ล้านคน อายเุ ฉลี่ยประชากร : ชาย 70 ปี หญงิ 75 ปี เช้อื ชาติ : ชวารอ้ ยละ 41.7 ซนุ ดารอ้ ยละ 41.7 มาเลยร์ อ้ ยละ 3.4 และอืน่ ๆ รอ้ ยละ 13.2 ศาสนา : อิสลามรอ้ ยละ 85.2 ครสิ ตน์ กิ ายโปรแตสแตนร้อยละ 8.9 คริสต์นิกายโรมนั คาทอลกิ รอ้ ยละ 3 ฮินดูรอ้ ยละ 1.8 พุทธรอ้ ยละ 0.8 และศาสนาอน่ื ๆ ร้อยละ 0.3 ภาษาในราชการ : บาฮาซา และอนิ โดนเี ซีย ภาษาท่ีใชส้ ่อื สาร : บาฮาซา และอนิ โดนีเซยี หนว่ ยเงนิ ตรา : รเู ปยี ห์ อตั ราแลกเปลยี่ น : ประมาณ 100 บาท เทา่ กับ 35,331 รูเปยี ห์ สินค้าส่งออก : น�้ำ มันและกา๊ ซ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า ไม้อดั เสื้อผ้าส�ำ เร็จรปู ยางพารา รายไดร้ วมต่อหวั ประชากร : 3,469 ดอลลารส์ หรัฐ/ปี
สาธารณรัฐอินโดนเี ซีย 9 2 วัฒนธรรม
10 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1 หมวดการทักทาย
สาธารณรฐั อินโดนีเซยี 11 2.1.1 การเรียกชื่อ MrS.aSnutdojsaana Do Sudjana ควรเรยี กชอ่ื เตม็ หรอื เรยี กชอ่ื ตน้ ของคสู่ นทนา เชน่ มสิ เตอร์ สดุ จานา ซานโตซา (Mr. Sudjana Santosa) หรอื มสิ เตอร์ สดุ จานา (Mr. Sudjana) [1] ถ้ามีความคุ้นเคยกัน อาจเรียกชื่อโดยไม่มี คํานําหน้าได้ เช่น สดุ จานา (Sudjana) เป็นต้น
12 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1.1 การเรยี กช่ือ Anda Do Engkau Kamu ควรใชส้ รรพนามเรยี ก “คณุ ” ดว้ ยการกลา่ ว วา่ อนั ดา (Anda) ซ่งึ เปน็ ค�ำ สุภาพใชไ้ ดท้ ั่วไป ควรใชส้ รรพนามเรยี ก เดก็ นกั เรยี น ผอู้ าวโุ ส น้อยกว่า หรือระหว่างเพื่อนสนิท ท่ีวัยเดียวกัน ด้วยการกล่าวว่า “คามุ” (Kamu/Engkau) หมายถงึ เจา้ หรอื เอง็ หรอื ใชส้ �ำ หรบั ผใู้ หญเ่ รยี ก [6]
สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 13 2.1.1 การเรยี กชือ่ Do Bapak Saudara Saudara เธอ/คุณ สำ�หรับผู้ที่ไม่คุ้นเคย ส่วนใหญ่ใช้กล่าวกับผู้ท่ีอาวุโสน้อยกว่า หรือวัย เดยี วกนั ทไี่ มค่ นุ้ เคย อกี ความหมายหนงึ่ ของค�ำ วา่ Saudara จะเป็นค�ำ นาม หมายถึง ญาตพิ น่ี อ้ ง [6] Bapak ใช้เรียกชายวัยกลางคนข้ึนไปหรือ ใช้เรียกครู/อาจารย์ชายท่ีไม่ว่าอายุมากหรือน้อย Bapak ยังสามารถเปน็ คำ�นำ�หน้าชอ่ื ไดด้ ้วย [6]
14 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1.1 การเรยี กชอื่ Do Tuan Ibu Ibu ใช้เรียกหญิงวัยกลางคนข้ึนไป หรือใช้ เรยี กคร/ู อาจารยห์ ญงิ ทกุ วยั และใชเ้ ปน็ ค�ำ น�ำ หนา้ ชอื่ ได้ [6] Tuan ใชเ้ รยี กชายวยั กลางคนขนึ้ ไป และเปน็ คำ�นำ�หน้าช่ือได้ ปกติใช้เรียกชายต่างชาติที่ไม่ใช่ ชาวอนิ โดนีเซยี [6]
สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 15 2.1.1 การเรยี กชอ่ื Nona Do Nyonya Nyonya ใช้เรียกหญิงท่ีแต่งงานแล้ว และ เป็นคำ�นำ�หน้าชื่อได้ ปกติใช้เรียกหญิงต่างชาติที่ ไมใ่ ชช่ าวอนิ โดนเี ซีย [6] Nona ใช้เรียกหญิงที่ยังไม่ได้แต่งงาน และ เป็นคำ�นำ�หน้าช่ือได้ ปกติใช้เรียกหญิงต่างชาติท่ี ไม่ใชช่ าวอินโดนีเซีย [6]
16 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1.1 การเรยี กชอื่ PSaegli,aTmuaatn Do ควรทักทายชายชาวอินโดนีเซียแบบสุภาพ ดว้ ยคำ�ลงทา้ ยชอ่ื คนที่เราทกั ว่า “ตวน” (Tuan) ซงึ่ มคี วามหมายว่า “คณุ ชาย” เช่น เซอ-ลา-มัต ปา-กี ตวน (Selamat Pagi, Tuan) แปลว่า สวสั ดตี อนเชา้ คุณชาย
สาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย 17 2.1.2 การกล่าวทักทาย SDealatamnagt Do ควรกล่าว “สวัสดี” ด้วยการกล่าวว่า “เซอลามดั ดาตัง” (Selamat Datang) [4]
18 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1.2 การกลา่ วทักทาย Selamat Pagi Do Selamat Sore Selamat Malam ควรกล่าว “อรุณสวัสด์ิ” หรือเมื่อต้องการ กลา่ วทกั ทายในยามเชา้ ดว้ ยการกลา่ ววา่ “เซอลามตั ปากี” (Selamat Pagi) [4] ควรกลา่ ว “สวสั ดตี อนเยน็ ” ดว้ ยการกลา่ ววา่ “เซอลามตั โซเร” (Selamat Sore) [4] ควรกล่าว “สวัสดีตอนกลางคืน” ด้วยการ กลา่ ววา่ “เซอลามตั มาลมั ” (Selamat Malam) [4]
สาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 19 2.1.2 การกล่าวทกั ทาย Do ควรจับมอื (Shake Hand) กันทง้ั สองฝา่ ย เมอื่ เพศชายพบกัน [5]
20 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1.2 การกล่าวทักทาย Do ควรจับมือ (Shake Hand) กันท้งั สองฝ่าย เมื่อเพศหญงิ พบกนั พร้อมกบั แนบแกม้ ชนกัน [5]
สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซีย 21 2.1.3 การกลา่ วขอโทษ Maaf Do ควรกล่าว “ขอโทษ” ด้วยการกล่าวคำ�ว่า “มาฟ” (Maaf) [4]
22 ASEAN Do’s and Don’ts 2.1.4 การกลา่ วขอบคณุ TKearismiha Do ควรกล่าว “ขอบคุณ” ด้วยการกล่าวว่า “เตอรมี า กาซิฮ์” (Terima Kasih) [4]
สาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 23 2.1.5 การกล่าวลา Selamat Tinggal Do ควรกล่าวค�ำ วา่ “ลาก่อน” ด้วยการกล่าววา่ “เซอลามัต ตงิ กัล”(Selamat Tinggal) [4]
24 ASEAN Do’s and Don’ts 2.2 หมวด ในกอาารหราับรปแลระะทมาานรยอาาทหาร
สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 25 2.2.1 อาหารประจ�ำ ชาติ Do กาโดกาโด (อนิ โดนีเซีย: gado gado) ควรลองรบั ประทานอาหารประจ�ำ วนั ของชาว อนิ โดนเี ซยี “กาโด กาโด“ (Gado Gado) ประกอบ มดน้วั ยฝรผง่ั ักกแะลหะลธ�ำ่ ัญปลพี ืชถวห่ั งลอากกถหว่ัลเาขยยี ชวนนิดอกทจ้ังาแกคนรย้ี องั ทมี เต้าหู้และไข่ต้มสุกด้วย “กาโดกาโด” จะนำ�มา รับประทานกบั ซอสถว่ั ทคี่ ล้ายกับซอสสะเต๊ะ [4]
26 ASEAN Do’s and Don’ts 2.2.1 อาหารประจำ�ชาติ Do ฆไู ล (Gulai) ควรลองรับประทานอาหารประจำ�วันของ ชาวอินโดนีเซีย “ฆูไล” (Gulai) เป็นแกงรสเผ็ด มกั ปรงุ กบั เน้ือสตั ว์ เชน่ ไก่ เนอื้ ววั เนอื้ แกะ ปลา อขานหุนาอร่อทนะเลนำ้�หแรกอื ผงมักักเเชป่น็นใสบีเหมนัลสือำ�งปะเพหรลาังะแเตลิมะ ผงขมิ้น เคร่ืองแกงท่ีใช้ ได้แก่ ขม้ิน ผักชี พริก ไทยด�ำ ขงิ ขา่ พรกิ ขหี้ น ู หวั หอม กระเทยี ม ยห่ี รา่ ตะไคร้ อบเชย ลูกผักชี ซึ่งตำ�ให้ละเอียด และ นำ�ไปปรุงกบั กะทิพร้อมกบั ส่วนผสมหลัก [4]
สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซีย 27 2.2.2 วธิ กี ารรับประทานอาหาร Do ควรใช้ช้อนและส้อมในการรับประทาน เนื่องจากอาหารประจำ�วันของชาวอินโดนีเซีย แต่ละม้ือ [4] ประกอบด้วย • ขา้ วสวย • กบั ข้าวท่ปี รุงมาจากเนอื้ วัว เนอ้ื ไก่ ปลา • อาหารทะเล • อาหารจานผกั ท่ีมีตามฤดูกาล
28 ASEAN Do’s and Don’ts 2.2.3 ขอ้อาคหวารรระวงั ในการรับประทาน Don’t หากท่านแพ้อาหารประเภท พริกไทย มะพร้าว และอาหารทะเล ควรระมัดระวังการ รบั ประทานอาหารของชาวอนิ โดนีเซยี เน่ืองจาก จะมสี ว่ นประกอบของสิ่งเหลา่ น้ี [4]
สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 29 2.2.3 ขอ้อาคหวารรระวงั ในการรบั ประทาน Do ควรให้เจ้าภาพอินโดนีเซียด่ืมกาแฟหรือ ชาท่ีมาเสิร์ฟก่อน เร่ืองนี้เป็นมารยาทของชาว อินโดนีเซยี [1]
30 ASEAN Do’s and Don’ts 2.2.3 ขอ้อาคหวารรระวังในการรับประทาน Do ควรตอบรบั การรบั ประทานอาหาร ทเ่ี จา้ ภาพ หยบิ ยืน่ ให้ในขณะที่รว่ มรับประทานอาหาร หรือ เมอ่ื ไดร้ ับเชิญ [1]
สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี 31 2.2.3 ขออ้าคหวารรระวงั ในการรบั ประทาน Don’t ห้ามแตะต้องเครื่องดื่มหรือของว่าง ที่จัด เตรยี มไว้ จนกวา่ จะเสร็จสน้ิ การประชุม [1]
32 ASEAN Do’s and Don’ts 2.2.3 ขอ้อาคหวารรระวังในการรบั ประทาน Don’t ห้ามสูบบุหร่ีในที่สาธารณะ ถือว่าเป็นเร่ือง ท่ไี มส่ มควร และถอื ว่าเปน็ เรือ่ งนา่ รังเกียจ เพราะ ขดั แยง้ กับความเชือ่ ของสงั คมมสุ ลมิ [8]
สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซีย 33 2.2.4 การช�ำ ระค่าอาหาร Do ควรชำ�ระค่าอาหารในร้านค้าขนาดเล็ก ด้วยเหรียญ หรือธนบัตรย่อย ควรมีเงินสดเป็น เหรียญและธนบัตรย่อยติดตัวไว้บ้าง โดยเฉพาะ เวลาเดินทางออกนอกเมือง เน่ืองจากร้านค้า มักไม่มีเงนิ ทอน [4]
34 ASEAN Do’s and Don’ts 2 .2 .5 กโรางรแใรหม้ทใิปหใญน่ร้านอาหาร Do ควรใหท้ ปิ ในรา้ นอาหาร/โรงแรมใหญ่ ประมาณ ร้อยละ 5-10 ตามความพอใจ ในการให้บริการ ทง้ั นข้ี ้นึ อยกู่ ับราคาอาหารดว้ ย หากอาหารราคา สงู อยแู่ ล้ว อาจลดสัดส่วนของการให้ทปิ ลงได้ [4]
สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซีย 35 2.2 .6 อหัตรือราตคะ่าวอนั าตหกาใรนเภอเัตซตยี าคาร Do ควรตรวจสอบราคาอาหารเอเซียหรือ ตะวนั ตกในภตั ตาคาร ซง่ึ ราคาอาหารทเ่ี หมาะสม เปน็ ดงั นี้ [4] • ราคาแพง 26-50 ดอลลารส์ หรฐั • ราคาปานกลาง 10-25 ดอลลารส์ หรัฐ • ราคาถูก ไมเ่ กนิ 10 ดอลลารส์ หรฐั
36 ASEAN Do’s and Don’ts 2.3 หมวด ศาสนาและประวตั ิศาสตร์
สาธารณรัฐอินโดนเี ซีย 37 2.3.1 การสนทนาเรอ่ื งศาสนา Do ควรทราบว่าอินโดนีเซียเป็นประเทศ ท่ีมี ประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในโลก แตช่ าวบาหลีซง่ึ เป็นกลุ่มประชากร สว่ นหนงึ่ ของ ประเทศส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาฮินดู [4]
38 ASEAN Do’s and Don’ts 2.3.1 การสนทนาเรื่องศาสนา Do ควรทราบว่าศาสนาประจำ�ชาติของชาว อินโดนีเซีย พวกเขามีความศรัทธาและเคร่งครัด ในการปฏิบัติตนมาก ดังน้ันเราควรเปิดใจเรียนรู้ ขอ้ ปฏบิ ตั ิของศาสนาอสิ ลามด้วย เพ่อื สรา้ งความ ประทบั ใจให้แกช่ าวอินโดนเี ซีย [4]
สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี 39 2.3.1 การสนทนาเร่ืองศาสนา Do ควรทราบวา่ ศาสนาฮนิ ดขู องชาวบาหลเี หมอื น กับฮินดูในประเทศอินเดียและเนปาลที่นับถือ เทวรปู ของพระเจา้ ทงั้ สาม คอื พระศวิ ะ พระพรหม และพระวิษณุ แต่ชาวบาหลีในอินโดนีเซียจะมี ความเชอ่ื ในเรอ่ื งของอ�ำ นาจหรอื พลงั ของเทพเจา้ ที่จะต้องอยดู่ ว้ ยกนั เสมอ [2]
40 ASEAN Do’s and Don’ts 2.3.1 การสนทนาเร่อื งศาสนา Do ต้องกคาวรรกทารราเบซ่นวา่สชราววงบบาูชหาลดเี ช้วอย่ื วดา่อเกทไพมฝ้ า่ นยำ้�ธรแรลมะะ ขา้ วปลาอาหาร การถวายดนตรี และละครฟอ้ นร�ำ และการสรา้ งเทวรปู กบั สรา้ งโบสถว์ หิ ารทย่ี งิ่ ใหญ่ สวยงามถวายเทพเจา้ ส่ิงเหล่านี้จะช่วยให้เทพเจ้าหรือเทพฝ่าย ธรรมะ (เทวะ) บนั ดาลใหอ้ ย่ดู ีกนิ ดี ใหเ้ กบ็ เกีย่ ว พืชผลได้ตามฤดกู าล [2]
สาธารณรัฐอินโดนีเซยี 41 2.3.1 การสนทนาเรอื่ งศาสนา Do ควรทราบว่าชาวบาหลีเช่ือว่าพญามารหรือ เทพฝา่ ยอธรรม (ภตู ิ หรือยกั ษ)์ จะสรา้ งภยั พบิ ตั ิ ตา่ งๆ เชน่ ความเจบ็ ปวด ความตาย ภยั ธรรมชาติ เพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ ภยั พบิ ตั ดิ งั กลา่ ว ชาวบาหลจี ะ ตอ้ งเซน่ สงั เวยวญิ ญาณภตู ริ า้ ยหรอื เทพฝา่ ยอธรรม ด้วยเครื่องบวงสรวงบูชาที่จัดขึ้นเป็นพิเศษเพื่อ ขอขมาและเอาใจไม่ให้ภูตร้ายโกรธจนบันดาลให้ เกดิ เหตกุ ารณเ์ หลา่ นั้นได้ [2]
42 ASEAN Do’s and Don’ts 2.3.1 การสนทนาเร่อื งศาสนา Do ควรทราบวา่ ชาวบาหลมี คี วามเชอ่ื วา่ ภเู ขาไฟ คือ สถานท่ีศักด์ิสิทธ์ิ เป็นที่ประทับของเทพเจ้า ทงั้ หลาย จงึ มกี ารท�ำ พธิ กี รรมบชู าภเู ขาไฟทง้ั 3 ลกู บนเกาะบาหลี เป็นประเพณีในฐานะส่ิงที่เคารพ สูงสุดเป็นประจำ� ชาวบาหลีเชื่อว่า ทะเล คือ ทส่ี งิ สถติ ของมารหรอื วญิ ญาณชวั่ รา้ ย แผน่ ดนิ คอื ท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ ดังน้ันเพ่ือป้องกันภัยพิบัติ จากวิญญาณร้ายๆ ในทะเล ชาวบาหลีจึงสร้าง วดั และโบสถไ์ วต้ รงกลางระหวา่ งภเู ขากบั ทะเล [2]
สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี 43 2.3.1 การสนทนาเรื่องศาสนา Do ควรทราบว่าฝ่ายชายและหญิงต้องเป็น มุสลิมเท่าน้ัน จึงสามารถแต่งงานกันได้ แต่ถ้ามี ฝา่ ยใดฝา่ ยหน่ึงเปลีย่ นศาสนา ใหถ้ ือว่าความเปน็ สามีภรรยาก็ส้ินสุดลงด้วย โดยถือว่าเป็นการผิด ประเวณี [4]
44 ASEAN Do’s and Don’ts 2.3.2 การสนทนาเรอื่ งประวตั ศิ าสตร์ Do ควรทราบถึงหลกั ปญั จศลี [5] คอื เคร่ืองมอื ทางสงั คมทค่ี ดิ ขน้ึ โดยประธานาธบิ ดซี กู ารโ์ น ในปี ค.ศ.1945 เพ่ือสร้างเอกภาพในหมูค่ นอินโดนเี ซยี มีดงั นี้ 1.เชื่อในพระเจ้าผู้ทรงพลานุภาพเพียง องคเ์ ดียว 2.หลกั มนษุ ยธรรมท่ีมอี ารยะและยตุ ิธรรม 3.อินโดนีเซียทเ่ี ปน็ เอกภาพ 4.ประชาธปิ ไตยทน่ี �ำ ทางโดยภมู ปิ ญั ญาและ การมีผูแ้ ทน 5.ความยตุ ิธรรมในสังคม
สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 45 2.3.3 ความส�ำ คญั ของคมั ภรี ก์ ุรอาน Do ควรทราบวา่ “คมั ภรี ก์ รุ อาน” มคี วามส�ำ คญั เปน็ 1 ใน 2 ของความเชอ่ื ความศรทั ธา และหลกั ปฏบิ ตั ขิ องอสิ ลามทม่ี สุ ลมิ ใชอ้ งิ เปน็ บรรทดั ฐาน [4] คัมภีร์กุรอาน คือ หลักคำ�สอนของพระเจ้า ทต่ี รสั กบั นบี มฮู ัมหมัดในช่วง 22 ปสี ุดทา้ ยของ ชีวิต (ประมาณ 570-632 ปีก่อนคริสตกาล) คัมภีร์กุรอานได้เว้นการบริโภคซากสัตว์ที่ ตายเอง เนอ้ื สกุ รและสตั วท์ งั้ หลายทถี่ กู เชอื ดหรอื ถกู ประหารโดยการขออนญุ าตจากผทู้ ม่ี ใิ ชอ่ ลั ลอฮ์ [4]
46 ASEAN Do’s and Don’ts 2.3.4 ความส�ำ คัญของซุนนะ Do ควรทราบว่า “คัมภรี ์ซุนนะ” มีความส�ำ คัญ 1 ใน 2 ของความเชอื่ ความศรทั ธาและหลกั ปฏบิ ตั ิ ของอิสลามทมี่ ุสลิมใช้อา้ งองิ เปน็ บรรทดั ฐาน [4] คมั ภรี ซ์ นุ นะ คอื หลกั เกณฑท์ คี่ นนอกไมค่ อ่ ย รจู้ กั นกั เปน็ บรรทดั ฐานโบราณเกย่ี วกบั เรอ่ื งตา่ งๆ อิงตามสิ่งท่ีนบี มูฮัมหมัดปฏิบัติหรือตรัสกับผู้ท่ี เก่ียวข้อง ถึงแม้ว่ามีความสำ�คัญรองจากคัมภีร์ กุรอาน แต่ซนุ นะหรือซุนเนาะห์คอื องคป์ ระกอบ ส�ำ คัญพน้ื ฐานส�ำ หรับมสุ ลมิ ทง้ั หลาย [4]
สาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 47 2.3.5 ความสำ�คญั ของซารอี า Do ควรทราบวา่ กฎหมายชารอี า (Sharia หรือ Shari’ah) คือ ประมวลข้อปฏิบัติต่างๆ ของ กฎหมายศาสนาของศาสนาอิสลาม กฎหมาย ชารีอา คือโครงสร้างทางกฎหมายที่ครอบคลุม วิถีการดำ�เนินชีวิตประจำ�วันท่ีรวมทั้งระบบการ ปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบการดำ�เนินธุรกิจ ระบบการธนาคาร ระบบการทำ�สัญญา ความ สัมพันธ์ในครอบครัว หลักของความสัมพันธ์ทาง เพศ หลักการอนามัย และปัญหาของสังคม
48 ASEAN Do’s and Don’ts 2.4 หมวด แลมะากรายราเขทา้ ใรนว่ กมางราเนขพ้าสธิ ังสี ค�ำ มคญั
สาธารณรัฐอินโดนเี ซีย 49 2.4.1 การติดตอ่ ราชการ Do ควรแตง่ กายใหส้ ภุ าพในการไปสถานทร่ี าชการ หรือติดต่อธุรกิจ โดยชายควรสวมกางเกงขายาว เสื้อเช้ติ ส�ำ หรบั หญงิ ควรแตง่ กายสภุ าพมดิ ชิด [4]
50 ASEAN Do’s and Don’ts 2.4.1 การติดตอ่ ราชการ Do ควรทราบวา่ การละหมาดในประเทศ ทน่ี บั ถอื อิสลาม ช่วงบ่ายของทุกวันศุกร์ จะหยุดการทำ� ธุรกิจและการค้าขาย เพ่ือให้ชาวมุสลิมไปทำ�พิธี ละหมาด และในวันหยุดทางศาสนา (อิสลาม) การท�ำ ธรุ กจิ ของคนในศาสนาอนื่ กจ็ �ำ เปน็ ตอ้ งหยดุ ไปดว้ ย โดยเฉพาะในบาหลี ซ่ึงมีการทำ�พิธตี า่ งๆ ทีว่ ดั บอ่ ยมาก [4]
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120