ภาคผนวก
52 เกร็ดน่ารู้ ประเพณีการเลี้ยงปตู่ า ปู่ตา หมายถึง บรรพบุรษุ ของชาวอสี าน คำว่า “ป่”ู หมายถึงปู่และย่าท่ี เป็นพ่อแม่ของพ่อ “ตา” หมายถึง ตายาย ท่ีเป็นพ่อแม่ของแม่ เม่ือบรรพบุรุษ ลว่ งลับไปนาน ลูกหลานจำชือ่ ไมไ่ ด้ จงึ เรยี กกลางๆว่า “ปตู่ า” การเล้ียงปู่ตา เป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ท่ีล่วงลับ เพ่ือแสดง ความกตญั ญทู ท่ี ่านได้อบรมส่งั สอนลูกหลาน และสร้างความดีเอาไว้ ประเพณีการเลยี้ งปตู่ า ประเพณีน้ีจะทำพร้อมกันท้ังหมู่บ้าน กำหนดการเลี้ยงปู่ตามักอยู่ ระหว่างเดือน 6-7 ชาวบ้านจะเลี้ยงปู่ตาก่อนที่จะเล้ียงตาแฮก (ผีนา ทำหน้าที่ ดูแลผืนนา ดูแลน้ำ ปลาให้อุดมสมบูรณ์ คุ้มครองวัวควายให้แข็งแรง) สถานท ี่ ทชี่ าวบ้านทำพิธีเลี้ยงปตู่ ากค็ ือ ดอนปูต่ า ซึ่งเปน็ สถานทที่ ่ีปู่ตาอาศัยอยู่ ภายใน หอปตู่ าประกอบดว้ ย รปู ปัน้ ปตู่ า แทน่ บชู า ขา้ ทาสชายหญิง รูปป้นั ชา้ ง ม้า ววั ควาย หอก ดาบ พวงมาลัย ดอกไม้ ธปู เทียน ผ้ทู ด่ี ูแลรักษาหอป่ตู า เรียกวา่ เฒา่ จ้ำ คำว่า “จ้ำ” มาจากคำวา่ ประจำ เฒ่าจ้ำมีหน้าที่ดูแลศาลปู่ตาและเป็นคนกลางติดต่อสื่อสารระหว่างปู่ตากับ ชาวบ้าน ใครทำอะไรผิดแล้วปู่ตาโกรธ หรือปู่ตาต้องการให้ชาวบ้านทำอะไร ก็ จะบอกผ่านเฒา่ จ้ำ บริเวณดอนปู่ตาจะเป็นเขตป่าที่ชาวบ้านให้ความเคารพ ใครจะไปตัด ตน้ ไมไ้ ม่ได้ เพราะท่านจะโกรธ และปตู่ าจะบันดาลให้ผลู้ ่วงเกินมอี นั เปน็ ไป เฒ่าจ้ำจะเป็นผู้กำหนดพิธีเลี้ยงปู่ตา เม่ือกำหนดวันได้แล้ว เฒ่าจ้ำจะ บอกให้ชาวบ้านเตรียมอาหารคาวหวานมาเลี้ยงปู่ตา เคร่ืองเซ่นปู่ตา ได้แก่ น้ำหอม ดอกไม้ ธูปเทียน เหล้าโรง ไก่ต้ม ไข่ต้ม พร้อมท้ังแนะนำให้ชาวบ้าน สะเดาะเคราะห์ร้ายของครอบครวั โดยการนำหมาก บุหร่ี เม่ยี ง ขนมต้ม ข้าวดำ ข้าวแดงบรรจใุ นกระทงสามเหลีย่ มมาดว้ ย
53 เมื่อถึงวันเล้ียงปู่ตา ตอนเช้าชาวบ้านจะช่วยกันจัดและตกแต่งหอปู่ตา ให้เป็นระเบียบสวยงาม เช่น ถางหญ้า จัดแท่นบูชา เปลี่ยนเครื่องนุ่งห่ม หรือ เปล่ียนเสา มุงสังกะสีใหม่ เมื่อได้เวลา เฒ่าจ้ำจะนำเคร่ืองเซ่นและกระทง ส่งเคราะห์วางบนแท่นบูชา เสร็จแล้วเฒ่าจ้ำจะแบ่งอาหารที่ชาวบ้านนำไปเซ่น ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ลูกหลานเอากลับบ้าน อีกส่วนหนึ่งมอบให้ปู่ตา หลงั จากเซน่ ปตู่ าเสรจ็ แล้ว ชาวบ้านจะนำน้ำหอมท่บี ูชาปตู่ ามาสาดกนั เพ่ือเปน็ สญั ลกั ษณ์วา่ ป่ตู าประทานความรม่ เยน็ ให้ พอตกบ่าย เฒ่าจ้ำจะเข้าไปในหมู่บ้าน เพื่อเยี่ยมเยียนชาวบ้านแต่ละ บา้ น เจา้ ของบ้านก็จะสรงนำ้ เฒา่ จำ้ การนับถือปู่ตาของชาวอีสานยังคงสืบทอดกันมาถึงปัจจุบัน ก่อนท่ ี ชาวบา้ นจะทำกจิ กรรมอะไรรว่ มกนั เชน่ ทำบญุ ในเทศกาล กจ็ ะบอกกลา่ วใหป้ ตู่ า ทราบก่อน โดยเฉพาะการทำบุญบั้งไฟเพ่ือขอฝน จะต้องแห่บั้งไฟไปบูชาปู่ตา ด้วย ปู่ตาเป็นหลักยึดมั่นให้ชาวบ้านทำในสิ่งท่ีถูกต้องตามประเพณี ชาวบ้าน เช่ือว่าหากใครทำผิดประเพณีหรือศีลธรรม ปู่ตาจะโกรธและบันดาลให้มีอัน เป็นไป เช่น เกิดโรคระบาดในหมู่บ้าน ฝนแล้ง เป็นต้น คนที่ทำผิดจึงต้องไป ขอขมา โดยมเี ฒ่าจำ้ เป็นคนทำหนา้ ที่ส่ือสารให ้ (เรยี บเรียงจากหนงั สอื คตชิ าวบา้ นอีสาน โดย จารุวรรณ ธรรมวตั ร)
54 การส่อนขวญั เมอื่ คนตกตน้ ไม้ ตกใจเพราะตน่ื งหู รอื เสอื ตกรถ แลว้ ไมส่ บาย มอี าการ เจบ็ ๆ ป่วยๆ กินไมไ่ ด้นอนไมห่ ลับ ต้องเรียกขวัญกลับคืน ปราชญโ์ บราณอสี าน ทา่ นจะไปเรยี กเอาขวัญในท่ๆี เกดิ เหตุนน้ั ๆ ทางภาคอสี าน เรียกวา่ “ส่อนขวัญ” การส่อนขวัญนี้ ท่านจะเอาเส้ือ กระจกเงาเล็กๆ หวี น้ำหอมที่คนนั้น ชอบใช้ และฝ้ายผูกแขน 2 เส้น ใส่ลงไปในกระติบข้าวท่ียังไม่ได้ใช้ หรือหาก เปน็ กระติบทีใ่ ช้แลว้ ต้องเปน็ ทใี่ สห่ มากหรอื ยาสบู สามารถเอาหมากพลอู อกได้ และไมเ่ ป้อื น แลว้ เดนิ ไปบรเิ วณท่ีตกตน้ ไม้ หรือทฝี่ ันเหน็ บอ่ ยๆ แลว้ เกดิ อาการ ไมส่ บาย ไปกนั อย่างน้อย 2 คน คนท่ีขาดไมไ่ ด้คือ ผวั หรอื เมยี หรือลกู ของคนที่ จะไปเรียกขวัญ เพราะขวญั น้นั จะดใี จ และรบี กลบั มาเมือ่ เห็นญาติมาเรยี ก วิธีเรยี กขวัญ เม่อื ไปถึงแลว้ หวั หน้าคณะกจ็ ะเรียกดว้ ยความดี เชน่ ถา้ ไปเรียกขวญั นายมี ก็จะวา่ “พอ่ มเี อย พอ่ มเี อย อยา่ สิมาอยู่คา้ งกลางไฮแ่ กมหมกู่ า อยา่ สิมาอยคู่ ้าง กลางนาแกมหมไู่ ก่ อยา่ สิมาอย่คู ้างไพรกว้างบ่แมน่ เฮือน มาสา มาเมืออยู่เฮอื น อยูซ่ านเฮา” ทกุ คนช่วยกนั เรยี ก ช่วยกันกหู่ า เห็นมด แมลง หรืออะไรกต็ ามตรงเข้า มาหา ให้รีบเปิดกระติบขา้ วรบั ถา้ เปน็ ขวัญมันจะรจู้ กั ของทต่ี นเคยใช้ มันจะรบี เข้าไปทันที จากนัน้ ให้ทุกคนพดู ว่า “พ่อมีมาแล้ว ไปกลบั บา้ นเฮา” วา่ แล้วกป็ ดิ กระติบข้าวสะพายกลับบ้าน เม่ือถึงบ้านก็เอากระติบไปตั้งไว้ข้างคนป่วย แล้ว เชญิ ขวัญเข้าเนอ้ื เข้าตัว โดยการเอาฝา้ ยไปผูกท่แี ขน พร้อมกับพูดวา่ “ขวัญพ่อมีมาฮอดแล้ว ให้มาเข้าสู่ตัว โส อัตถะ ลัทโธ สุขิโต วิรุฬโห พทุ ธะสา สะเน อะโรโค สุขิโต โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาตภี ิ” กล่าว 3 จบ ถ้าเป็นผู้หญิงให้ว่า “สา อัตถะ ลัทธา สุขิตา วิรุฬหา พุทธะสา สะเน อะโรคา สุขิตา โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาตีภิ” และว่า “พุทโธรักษา ธัมโมรักษา สังโฆรักษา เจา้ อยา่ ไดห้ นไี ปหนีมา ให้อยูก่ บั เนอ้ื กบั ตวั นี้ อมสะวาหะ” (ขอ้ มูลจาก www.isangate.com – ผู้จัดทำเวบ็ ไซต์ มนตรี โคตรคนั ทา ครูประจำโรงเรียนเบญ็ จะมะมหาราช อำเภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธาน)ี หมายเหตุการสืบคน้ : Site Map --> ขนบธรรมเนยี มประเพณี --> การสตู รขวน (การบายศรีสขู่ วัญ)
55 การกรวดน้ำ การกรวดน้ำมีมาตั้งแต่ครั้งสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จสู่กรุง ราชคฤห์ เพ่ือโปรดพระเจ้าพมิ พสิ าร ตามท่พี ระเจา้ พิมพิสารเคยทลู ขอไว้ว่า ถา้ ได้ตรัสรู้แล้วให้กลับมาโปรดพระองค์ด้วย เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปถึง พระเจ้า พมิ พสิ ารทรงปีติยง่ิ นัก จึงได้ถวายเวฬวุ ัน (ปา่ ไผ่) ให้เปน็ ทีป่ ระทบั โดยทรงหลงั่ น้ำลงสู่พ้ืนดินเป็นการแสดงกิริยายกให้ ต่อมาที่ประทับนี้เรียกว่า “วัดเวฬุวัน” หรือ “เวฬวุ นาราม” นบั เปน็ วดั แรกในพระพุทธศาสนา ปัจจุบันการกรวดน้ำเป็นพิธีกรรมหน่ึงที่ชาวพุทธนิยมทำเพื่ออุทิศส่วน กศุ ลแกผ่ ลู้ ่วงลับ การกรวดน้ำมีจุดมุ่งหมาย 3 อยา่ งคอื 1. เปน็ การแสดงกริ ยิ ายกให้ ของบางอยา่ งถา้ มขี นาดใหญโ่ ต ไมส่ ามารถ หยิกยกให้กันได้ ก็นิยมกรวดน้ำให้แทน เช่น พระเจ้าพิมพิสารถวายวัดเวฬุวัน แก่พระพุทธเจา้ 2. เป็นการต้งั ความปรารถนา เช่น ปรารถนาพระนพิ พาน หรอื ตอนท่ี สมเดจ็ พระนเรศวรปรารถนาจะตัดขาดกบั พม่าก็ทรงหลั่งน้ำลงสพู่ ืน้ ดิน 3. เปน็ การอุทศิ ส่วนกศุ ลให้ผูต้ าย นำ้ ใสบริสทุ ธ์ทิ ่ีเรารนิ เปรียบเหมอื น น้ำใจอันบรสิ ุทธิ์ ทเ่ี ราต้งั ใจอุทศิ ส่วนบุญส่วนกศุ ลแก่ผูท้ ี่ลว่ งลับ ขน้ั ตอนการกรวดน้ำ 1. น้ำทใ่ี ช้กรวดต้องเปน็ นำ้ บริสทุ ธ์ิ 2. ควรใช้ภาชนะสำหรบั กรวดน้ำโดยเฉพาะ แตถ่ ้าหากไมม่ ี ใช้แกว้ นำ้ หรอื ขนั นำ้ แทน โดยจดั เตรียมไวล้ ่วงหนา้ ก่อน 3. การกรวดน้ำจะทำหลังจากถวายภัตตาหารและเคร่ืองไทยธรรมแก่ พระสงฆ์แลว้ เม่ือพระเร่ิมสวด “ยถา วาริวหา...” เรากเ็ ร่ิมหล่งั นำ้ อุทิศสว่ นกุศล โดย ไม่ให้น้ำขาดสาย ไม่นิยมใช้นิ้วรองรับน้ำ ขณะรินน้ำสำรวมใจอุทิศบุญกุศลแก่ ญาตผิ ู้ล่วงลับสัน้ ๆว่า “อิทัง เม ญาตนี งั โหตุ สขุ ิตา โหนฺตุ ญาตโย” (ขอสว่ นบุญ
56 น้ีจงสำเร็จแก่…(เอ่ยช่ือผู้ล่วงลับ) และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติ ทัง้ หลายจงเป็นสุขเถิด) 4. เมอื่ พระสงฆส์ วดบทกรวดนำ้ แลว้ ทา่ นจะสวดบทอนโุ มทนาตอ่ ดงั นน้ั เมื่อได้ยินพระสงฆ์สวดว่า “สัพพีติโย...” ให้รินน้ำจนหมด แล้วประนมมือรับ อนุโมทนาจนจบบท ถึงคำวา่ “อายุ วณั โณ สุขงั พะลงั ” 5. จากนั้นนำน้ำที่กรวดไปเทลงบนพื้นดิน โดยเทรดต้นไม้ท่ีอยู่นอก บ้านหรือนอกอาคาร ไม่ควรเทลงกระโถนหรือในท่ีสกปรก เพราะน้ำที่กรวดนั้น เปน็ สักขพี ยานในการทำบญุ ว่า ผูก้ รวดทำด้วยนำ้ ใจอันบรสิ ุทธ ์ิ (เรยี บเรียงจากหนังสอื มารยาทชาวพทุ ธ โดย สมทรง ปุญญฤทธ์ิ)
57 ผใี นภาคอสี าน คนอีสานมีความเช่ือเรื่องผี โชคลาง และความฝันเช่นเดียวกับภาค อ่นื ๆ ผีทชี่ าวอีสานเชอื่ ว่าจะให้คุณให้โทษ ได้แก ่ ผีบ้าน เป็นผีประจำหมู่บ้าน คนอีสานเรียกว่า ผีปู่ตา มีหน้าที่ดูแล ปกป้องอันตรายใหค้ นในหมู่บ้าน ผีนาหรือผีตาแฮก เป็นผีที่คอยดูแลรักษาผืนนาให้อุดมสมบูรณ์ คน อีสานเช่ือว่าผีนาจะอยู่ท่ีมุมใดมุมหน่ึงของนา ก่อนท่ีจะทำนาต้องทำพิธีเลี้ยง ผนี ากอ่ น ซง่ึ ส่วนใหญจ่ ะทำในวนั พฤหัสบด ี ผเี ชอื้ หรอื ผบี รรพบรุ ษุ เปน็ ผขี องญาตทิ ต่ี ายไปแลว้ แตย่ งั ไมไ่ ปเกดิ คอย ปกปักคุ้มครองลูกหลาน ลูกหลานจะทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ผีบรรพบุรุษ ตอนทำบญุ ขา้ วสลากในเดือนสบิ และบญุ ขา้ วประดับดินในเดือนเก้า ผปี อบ เปน็ ผีท่เี ขา้ ไปสิงคนอื่น เพ่ือกินตบั ไตไส้พงุ ของผู้ท่ถี ูกสงิ ผีเป้า เป็นคนท่ีกลายเป็นผีดิบ เพราะชอบกินตับคน ตับสัตว์ อาหาร สด ออกหากนิ ในเวลากลางคืน ผีเปา้ จะมแี สงออกจากรูจมูกท้งั สองข้าง นอกจากนี้ ยังมผี แี ม่แล้ง เปน็ ผที ี่นำความแห้งแลง้ มาให้ และผที ี่ให้โทษ แกช่ าวอีสาน เช่น ผีโพง ผกี ะ ผเี ป้า เปน็ ต้น (เรยี บเรียงจากหนังสอื คติชนวิทยา ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้ โดย รศ.มัลลิกา คณานรุ กั ษ)์
58 อกั ษรตวั ธรรมหรอื อักษรธรรมอสี าน เป็นอักษรที่ใช้อยู่ในกลุ่มชนบริเวณลุ่มน้ำโขงตั้งแต่โบราณและแพร่ไป ยังกลุ่มไทยลื้อในสิบสองจุไทยด้วย จากศิลาจารึกในภาคอีสานและอาณาจักร ล้านช้างพบว่า อักษรตัวธรรมปรากฏในศิลาจารึกคร้ังแรกในสมัยพระเจ้าราช- แสนไทย จารกึ เกา่ ทส่ี ุดที่เปน็ อักษรตัวธรรมลงไว้เมอื่ ปพี .ศ. 2003 คอื จารกึ ฐาน พระพุทธรูป อยู่ที่วัดสีสะเกด เมืองเวียงจันทน์ ส่วนจารึกลงบนแผ่นศิลาที่เป็น อกั ษรตวั ธรรมเก่าที่สดุ คอื จารกึ วัดบ้านสังคโลก ลงไวเ้ มอ่ื ปีพ.ศ. 2070 อกั ษรตวั ธรรมนน้ี ำมาใชใ้ นอาณาจกั รลา้ นชา้ งอยา่ งแพรห่ ลาย ภายหลงั ได้เข้ามายังภาคอีสานของประเทศไทย จึงพบเอกสารใบลานต่างๆ มากมาย ในภาคอสี านยคุ กอ่ นทจี่ ดบนั ทกึ ดว้ ยอกั ษรตวั ธรรม โดยเฉพาะเอกสารดา้ นพทุ ธ- ศาสนา ได้แก่ พระคมั ภีร์อรรถกถา ชาดก และตำราวิชาการ ภาคอีสานและอาณาจักรล้านช้างได้ตกเป็นของไทยในสมัยกรุงธนบุรี เม่ือปีพ.ศ. 2322 ส่วนภาคอีสานน้ันได้รวมเข้าเป็นดินแดนประเทศไทยอย่าง จริงจังในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 จากนั้น อกั ษรตวั ธรรมหรอื ตวั อกั ษรธรรมอสี านกเ็ สอื่ มความนยิ มลง เนอื่ งจากรชั กาลที่ 5 ได้ให้ข้าราชการหัวเมืองอีสานเรียนภาษาไทยและตัวอักษรไทย อีกทั้งยังจัดต้ัง โรงเรียนสอนหนังสือไทยในทุกหัวเมือง โดยเฉพาะมณฑลลาวกลาง (นครราช- สมี า) มณฑลลาวพวน (อุดรธาน)ี และมณฑลลาวกาว (อุบลราชธาน)ี และมีการ ประกาศใหใ้ ชภ้ าษาไทยเป็นภาษาราชการนับแตป่ ีพ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ตัวเลขในอกั ษรธรรมอีสานมี 10 รปู ดังน้ี ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ (เรยี บเรยี งจากหนังสอื วรรณกรรมอสี าน โดย ธวชั ปุณโณทก และหนังสอื วรรณกรรมท้องถน่ิ ไทย โดย กตัญญู ชชู น่ื )
59 เครอื่ งป้ันดนิ เผาบ้านเชียง ท่ีชมุ ชนบา้ นเชยี งเมื่อ 5,000 กวา่ ปีทแี่ ลว้ เมอ่ื มีคนตาย ญาตพิ ่นี อ้ งจะ นำเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้และเคร่ืองประดับขนาดเล็กบรรจุลงในภาชนะดินเผา เขยี นสี หรอื บางคร้ังก็เป็นภาชนะดนิ เผาเขยี นสีเปลา่ ๆ วางไวก้ บั ศพ โดยวางไว้ บริเวณใดก็ได้ ทั้งเหนือหัวผู้ตาย ปลายเท้า หรือด้านข้าง แล้วแต่แบบแผน พธิ ีการของหมู่บา้ นนนั้ ๆ พิธีการดังกล่าวเกิดจากคติความเชื่อเก่ียวกับความตายของชุมชน บ้านเชียงที่ว่า ผู้ตายน้ันยังไม่ตายจริง หากเปลี่ยนสภาพไปสู่อีกสถานะท ่ี ศักดิ์สิทธิ์กว่า ดังนั้นญาติพ่ีน้องจึงต้องจัดเตรียมภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ ท้ังท่ี เปน็ ของส่วนตวั ของผตู้ ายและสว่ นท่คี วรไดเ้ พิ่มข้ึนติดตวั ไปด้วย นอกจากน้ียังมี ความเชอื่ ทว่ี า่ ผตู้ ายยงั ไมต่ าย หากกลบั ฟน้ื คนื ชวี ติ ขนึ้ มาอกี ครง้ั จะไดม้ เี ครอื่ งใช้ ไมส้ อยไว้ทำมาหากิน ลวดลายทป่ี รากฏอยบู่ นเครอื่ งปนั้ ดนิ เผาเขยี นสี ของบ้านเชียง ได้แก่ ลายเส้นโค้ง ลายก้นขดและลาย กน้ หอย ลายเรขาคณติ ลายดอกไม้ ลายรปู สตั ว์ และลาย อน่ื ๆเช่น ลายเส้นขนาน ลายสามเหลี่ยมซอ้ น เปน็ ตน้ (เรยี บเรียงจากหนงั สอื บา้ นเชียง โดย สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ) ท่ีมาของปก การออกแบบหน้าปกของหนังสือชุดนี้ได้นำลวดลายการ เขียนสีบนภาชนะดินเผาของบ้านเชียงมาดัดแปลงและตัดทอน เพ่ือให้เกิด ความสวยงามและเหมาะสมกบั ปกหนังสอื
ประวัติยอ่ ผู้เขียน เรืองศกั ดิ์ ปน่ิ ประทีป (ตุ๊บปอง) พ.ศ. 2526 – ปจั จุบัน • ทำงานด้านการพัฒนาเด็ก ครอบครัว และชุมชนท่ีด้อย โอกาส ด้วยการให้โอกาสได้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ตามอตั ภาพ • ทำงานด้านการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้และสร้าง พฤติกรรมรกั การอา่ นในเดก็ ครอบครวั และชุมชน ปจั จบุ ัน • เป็นกรรมการผจู้ ดั การมลู นิธหิ นงั สือเพอื่ เด็ก • ผจู้ ดั การโครงการหนังสอื เลม่ แรก BOOKSTART พ.ศ. 2528 • ได้รบั รางวลั จากการประกวดเพลงเดก็ เนอ่ื งในปเี ยาวชนสากล 1. รางวลั รองชนะเลิศ : เพลงร่นื เริง 2. รางวลั ชมเชย : เพลงอย่าทิง้ ขยะ • เพลงได้รบั คัดเลือกบันทึกเสยี งเนอ่ื งในโอกาส “50 ปี โรงเรยี นโยธนิ บรู ณะ” 1. เพลงสายเลอื ดเดยี วกนั 2. เพลงถิ่นรวมใจ 3. เพลงลูกโยธนิ 4. เพลงอำลาอาลัย 5. เพลงแดนในฝัน พ.ศ. 2542 ได้รับรางวัลผ้บู รหิ ารองค์กรท่ีส่งเสรมิ การอ่านดเี ด่น พ.ศ. 2543 • ได้รับรางวัลหนังสือดี และนักเขียนหน้าใหม่คุณภาพจากนิตยสารผู้หญิงรายปักษ์ จาก งานเขยี นเร่ือง “สุดแรงเกิดของแม่” • ได้รับรางวัล การส่งเสริมการแต่งกายผ้าไทยอย่างต่อเนื่อง ในโครงการ “ผ้าไทย…สายใย เศรษฐกจิ ” พ.ศ. 2548 • ไดร้ บั การประกาศเกียรตคิ ณุ เป็นศษิ ย์เกา่ ดีเด่นในวาระ 70 ปี โรงเรยี นโยธินบูรณะ • หนงั สอื นทิ านภาพเรอ่ื ง “กระตา่ ยตนื่ ตมู ” ไดร้ บั คดั เลอื กจดั ทำเปน็ หนงั สอื แฝด : TWIN BOOK เลม่ แรกของประเทศไทย พ.ศ. 2549 หนังสือที่เขียนได้รับคัดเลือกในโครงการหนังสือดีสำหรับเด็กและเยาวชน คร้ังท่ี 2 พ.ศ. 2548–2549 1. เม่ือเด็ก ๆ เขียนนิทานอ่านเอง 2. กุ๊กไก่ปวดท้อง 3. กระต่ายต่ืนตูม 4. โก๊ะเลย้ี งแกะ
ประวัติย่อผู้วาดภาพประกอบ เบญจมาศ คำบุญม ี การศึกษา ปริญญาตรี ครุศาสตรบณั ฑิต เอกประถมศกึ ษา สถาบันราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง จ.ราชบุร ี การทำงาน • ครูประจำโรงเรยี นทานสัมฤทธ์ิ อ.เมอื ง จ.นนทบุร ี นักวาดภาพประกอบนิทานคอลมั น์ “เพ่อื นเดก็ ” • นติ ยสารขวญั เรอื น ผลงานทผี่ า่ นมา พ.ศ. 2535 รางวัลภาพประกอบหนังสือสำหรบั เดก็ เรอ่ื ง “นอ้ งจ้ีตรงต่อเวลา” จากงานสัปดาหห์ นังสอื แหง่ ชาต ิ พ.ศ. 2536 รางวัลภาพประกอบการ์ตูนวิทยาศาสตร์ เรือ่ ง “น้อยโหนง่ ผจญภัย” จากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2537 รางวลั ภาพประกอบเก่ยี วกบั ส่งิ แวดลอ้ ม เรือ่ ง “บ้านกลางสวน” จากมูลนธิ สิ อื่ สรา้ งสรรค ์ พ.ศ. 2539 รางวัลภาพประกอบหนังสือสำหรบั เด็ก เรอ่ื ง “ไขว่ เิ ศษ” จากงานสัปดาหห์ นงั สอื แหง่ ชาต ิ พ.ศ. 2548 ภาพปกหนงั สอื นวนิยาย สารคดี และเร่อื งส้ัน รวม 11 เล่ม ของ ว.ณ ประมวลมารค สำนกั พมิ พ์นานม ี พ.ศ. 2549 ภาพประกอบหนังสือสำหรับเดก็ เรือ่ ง “นอนละนะพระจนั ทร”์ โครงการนิทานเพือ่ นรัก บริษทั แปลน ฟอร์ คดิ ส์ จำกดั
เปิดโลกกว้างแหง่ การเรียนรู้ บนรากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดตั้งอุทยานการเรียนรู้ส่วนภูมิภาค เป็นภารกิจสำคัญประการหนึ่งของ สำนักงานอทุ ยานการเรยี นรู้ (TK Park) เนน้ การถ่ายทอดบทเรียนการจดั การการเรยี นรู้ ภายใต้บริบทวัฒนธรรมและความสนใจที่สอดคล้องกันของคนในท้องถ่ิน เพ่ือกระจาย โอกาสใหเ้ ด็กและเยาวชนไทยสามารถเขา้ ถึงการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีความสุข โครงการนิทานพื้นบ้าน 4 ภาค เป็นส่วนหน่ึงของการดำเนินงานเพ่ือจัดตั้ง อุทยานการเรียนรู้ส่วนภูมิภาค โดยจัดทำเนื้อหาสาระในรูปแบบที่เด็กและเยาวชนสนใจ ซ่ึงสามารถส่ือให้เห็นความเป็นตัวของตัวเอง ได้รับรู้ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม อนั ล้ำคา่ ในทอ้ งถ่ิน รวมท้ังการรกั ษาและสืบทอดมนตเ์ สน่ห์แห่งนทิ านพ้นื บ้าน หนังสือชุดนิทานพื้นบ้าน 4 ภาค ประกอบด้วยนิทานภาพสำหรับเด็กอายุ ไมเ่ กนิ 9 ปี และวรรณกรรมสำหรับเยาวชนอายุ 9 ปขี ึน้ ไป สำนักงานอทุ ยานการเรียนรู้ ดำเนนิ การจัดพิมพ์แลว้ เสร็จ และกระจายเผยแพร่ทั่วประเทศแล้ว ดงั นี ้ นิทานภาพภาคใต้ จำนวน 6 เร่อื ง จารอกีตอ เมอื งนา่ อยทู่ ี่หนูรัก ไก่โกง มูสงั เปาะแซเดาะกับซามะ ไขน่ ยุ้ กับแพะน้อย ซงี อ : เจา้ ป่าผกู้ ล้าหาญ ในวันฮารรี ายอ
วรรณกรรมเยาวชนภาคใต้ จำนวน 6 เรือ่ ง ซาไก พระเศวตสุรคชาธาร รายอฆอแน จาโต : เล่หก์ ลบนกระดาน วดั ถ้ำคหู าภิมขุ แดนคนธรรพ์ นิทานภาพภาคเหนือ จำนวน 5 เรอ่ื ง ห้าสหายปราบยกั ษ์ เชยี งใหมเ่ มอื งบุญ เพลงละอ่อน พฉึ อ่ ไกผ่ ู้พชิ ิตพระอาทิตย ์ ดาววไี ก่นอ้ ย วรรณกรรมเยาวชนภาคเหนอื จำนวน 7 เรือ่ ง ผู้เฒา่ เล่าไว ้ กำพรา้ บัวทอง จนั ตะคาด สวุ รรณเมกฆะ นทิ านของอุ๊ย ออ้ มล้อมตอ่ มคำ ผีม้าบ้อง กับหมาขนคำ
นทิ านภาพภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จำนวน 5 เร่อื ง ช้างดอ้ื อเี กงิ้ ...เดือนดาว เมอื งมหาสารคาม เส่ยี วฮกั เสยี่ วแพง ฮตี สิบสอง วรรณกรรมเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จำนวน 7 เรื่อง ผีผบึ พ้มึ ผจญภัยเมอื งฟ้าแดด สินไช ตำนานขูลกู ับนางอ้วั อภนิ หิ ารบาดาลนคร เรื่องเลา่ เจ้ากำพร้า ท้าวขอ้ หลอ้
Search