Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรในพระไตรปิฎก

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

Description: ในยุคปัจจุบันที่คนไทยได้หันกลับมาส่งเสริมการใช้สมุนไพร การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยกันอย่างจริงจังมากขึ้น หนังสือ “สมุนไพรในพระไตรปิฎก” จัดทำขึ้นเพื่อ ค้นคว้า ศึกษาพืชในพระไตรปิฎกและจำแนกพืชตามหลักชื่อทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการปลูกพืชหรือสมุนไพรให้เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งเป็นการต่อยอดและเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจค้นคว้าสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ต่อไป.

Search

Read the Text Version

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 75 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ใบ เปน็ ใบเดยี่ ว ออกตามก่ิงกา้ น ลักษณะใบรูปทรงกลม ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผน่ ใบสี เขียวสดผวิ เรียบ และมเี ส้นแขนงมองเหน็ ชดั เจน ทอ้ งใบเปน็ พรายปรอทหม่น ผิวสาก ก้านใบสนั้ ดอกออกดอกเป็นชอ่ มสี เี หลือง ตามซอกใบผลรปู ทรงกลม มสี ีเขียว เมือ่ แกจ่ ะมสี ีเหลอื งสม้ ออกแดง มีเมล็ดอยู่ภายใน 1 เมล็ด การใช้ประโยชน์ พทุ รามสี รรพคณุ ช่วยขับเสมหะ แก้ไอ และคุณสมบตั เิ ป็นยาระบาย ผลดบิ และเปลือกล�าตน้ ใชต้ ้มกินแก้ อาการจุกเสียด แก้ท้องเสีย ท้องร่วง แก้อาเจียนใบน�ามาต�าสด ๆ ใช้สุมศีรษะ แก้อาการเป็นหวัดคัดจมูก ผลสุก ใช้รกั ษาอาการไข้ พุทราเป็นผลไม้กินสดหรอื แปรรูปโดยการกวนหรือดอง มณฑารพ สว่ นทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก ....เทพธิดาผู้ทรงปัญญา เธอประดับมาลัยดอกมณฑารพซึ่งมีสีต่าง ๆ ไว้ท่ีศีรษะ คือ สีเขียว เหลือง ด�า หงสบาทและแดงรายลอ้ มดว้ ยกลบี เกสร ในเทพหมูอ่ ืน่ ไมม่ ีตน้ ไมช้ นดิ น้ี (เลม่ ท่ี 26 หนา้ 36) ชอ่ื สามญั ภาษาไทย มณฑา ชอ่ื สามัญภาษาองั กฤษ Egg Magnolia ชื่อพน้ื เมอื ง มณฑาลก มณฑา (ภาคใต)้ ยี่หบุ (ภาคกลาง ภาคเหนอื ) ย่หี ุบปร ี (ตะวนั ออกเฉียงใต้) ชอ่ื บาลี-สนั สกฤต มณฺฑารว. ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Magnolia liliifera (L.) Baill. ชอ่ื วงศ์ Magnoliaceae ถิ่นกา� เนิด เอเซียตะวันออกเฉียงใตพ้ บขึน้ ในเนปาล ภฐู าน ตอนเหนอื ของอนิ เดยี พมา่ ในประเทศไทย พบขน้ึ บรเิ วณป่าดิบชืน้ หรือตามรมิ ธารน�้า ที่ความสูง 600-1,300 เมตร จากระดบั น�้าทะเล นิเวศวทิ ยา ไมช่ อบดนิ แฉะนา�้ ท่วมขัง ไม่ชอบแดดจัดเตม็ วนั ชอบอยูใ่ นที่อากาศถ่ายเทดไี ม่อบั ลม การขยายพันธุ ์ ใช้เมล็ดและกิง่ ตอน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มณฑาเปน็ พรรณไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง ลกั ษณะเปน็ พมุ่ ผวิ เปลอื กลา� ตน้ เรยี บสเี ทา ลา� ตน้ มคี วาม สงู ประมาณ 4-10 เมตร ล�าตน้ แตกกง่ิ กา้ นสาขานอ้ ย ใบมขี นาดใหญ่มสี เี ขยี ว ลักษณะใบเป็นรูปมนร ี ขอบใบขนานตัว ใบเป็นคลน่ื เล็กนอ้ ย ดอกแตกออกตามงา่ มใบ หรอื ส่วนยอดของลา� ต้น กลีบดอกแข็งหนา กลบี ดอก 3 กลบี ซ้อนกัน เปน็ ชัน้ ลกั ษณะคล้ายกบั ดอกล�าดวน ดอกเล็กสเี หลอื งมีกลิ่นหอมไปไกล การใช้ประโยชน์ ปลูกเปน็ ไม้ประดับ จัดอยู่ในกลุม่ ไมม้ งคล

76 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก มะกลาํ่ หลวง สว่ นท่ปี รากฏในพระไตรปฎิ ก ....ดวงเนตรทั้ง 2 ของเธอด�าขลับตามขอบดวงตาเป็นสีแดง เปล่งปลั่งด่ังเมล็ดมะกล่�าทั้งยาวทั้งกว้าง ดูสวยงาม (เล่มที่ 27 หนา้ 614) ....ต้นล�าดวน ต้นอโศก ต้นกุหลาบมีดอกบานสะพร่ัง ต้นปรู และต้นมะกล�่าหลวงก็มีดอกบานสะพร่ังอยู่ รอบ ๆ อาศรมของขา้ พเจา้ (เลม่ ที่ 32 หนา้ 27) ช่อื สามัญภาษาไทย มะกล่�าต้น ชอื่ สามัญภาษาอังกฤษ Bead tree, Coral tree, Red lucky seed, Red sandalwood ชอ่ื พื้นเมือง มะกล่�าตาช้าง (ท่ัวไป) มะแดง มะหัวแดง มะโหกแดง (ภาคเหนือ) อีหล�่า หมากหล�่า (ภาคอสี าน) ชื่อบาล-ี สนั สกฤต ชญิ ฺชกุ . คญิ ฺชุก. คญุ ชฺ า ช่ือวิทยาศาสตร์ Adenanthera pavonina L. ช่อื วงศ์ Fabaceae ถ่ินก�าเนดิ มกี ารกระจายในเขตเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ อนิ เดยี ศรลี ังกา นิเวศวทิ ยา เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ระบายน�้าได้ดี ชอบแสงแดดจัด พบข้ึนได้ตามป่าเต็งรังและ ป่าดบิ แลง้ ทร่ี ะดับความสูงจากระดบั น�า้ ทะเลตั้งแต่ 50-400 เมตร การขยายพนั ธ์ุ การเพาะเมล็ด ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมย้ ืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เปน็ ไมผ้ ลดั ใบระยะส้ัน มีความสงู ของตน้ ได้ถงึ 20 เมตร เรือนยอด แผก่ งิ่ กวา้ ง ตน้ เปน็ ทรงโปรง่ เปลอื กลา� ตน้ หนาเปน็ สนี า้� ตาลออ่ น สว่ นเปลอื กชน้ั ในนมุ่ เปน็ สคี รมี ออ่ น ๆ เปน็ ใบประกอบ แบบขนนกสองช้ันปลายค่ ู ออกเรยี งสลับกนั ลักษณะของใบย่อยเป็นรปู วงร ี รูปไข่ หรอื เป็นรปู ขอบขนาน ปลายใบมน โคนใบไม่สมมาตรกัน ส่วนขอบใบเรียบ มีประมาณ 8-16 คู่ เรียงสลับ แผ่นใบบางเป็นสีเขียวเข้ม ใบเรียบเกลี้ยง ด้านหลังใบเกลี้ยงเป็นสีเขียวอมเทา ส่วนท้องใบเป็นสีอ่อนกว่าและมีนวลเล็กน้อย มีขนนุ่ม ก้านใบย่อยสั้น ไม่มีหูใบ ส่วนก้านใบหลักมีหูใบขนาดเล็กมากและหลุดร่วงได้ง่าย ดอกเป็นช่อ ช่อดอกแคบยาวเป็นรูปทรงกระบอก โดยจะ ออกดอกตามซอกใบช่วงบนหรือแตกแขนงท่ีปลายกิ่ง และจะออกดอกเป็นช่อเด่ียวหรือหลายช่อรวมกัน ดอกย่อยมี ขนาดเลก็ กลบี ดอกเปน็ สเี หลอื งออ่ นอมสคี รมี เมอ่ื ดอกแกจ่ ะเปลย่ี นเปน็ สสี ม้ มขี นอยปู่ ระปราย ดอกมกี ลบี ดอก 5 กลบี กลบี แคบปลายกลบี แหลมดอกจะมกี ลนิ่ หอมแบบออ่ น ๆ ในชว่ งเยน็ คลา้ ยกลน่ิ ของดอกสม้ โดยจะออกดอกในชว่ งเดอื น กุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ติดผลในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม ผลเป็นฝัก ลักษณะของฝักเป็นรูปแถบ แบนยาว ฝักอ่อนเป็นสีเขียว เม่ือแก่แล้วจะแตกออกเป็นสองตะเข็บและบิดม้วนงอเป็นเกลียวแน่นเพ่ือกระจายเมล็ด และมีรอยคอดตามเมล็ดชัดเจน เมล็ดจะติดอยู่ในฝักเป็นเวลานาน ในหนึ่งฝักจะมีเมล็ดประมาณ 10-15 เมล็ด เมล็ดมลี กั ษณะคอ่ นขา้ งกลม แขง็ ผวิ มนั และเป็นสแี ดงเลอื ดนกหรอื เป็นสีแดงสม้

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 77 การใชป้ ระโยชน์ น�ามากินเป็นอาหาร ยอดอ่อนและใบอ่อนมีรสมันกินเป็นผักสดร่วมกับอาหารได้หลายประเภท เช่น ลาบ ส้มต�า นา้� ตก หรือน�ามาลวกจม้ิ กับน�า้ พริก น�ามาปรุงกับแกงเผด็ ตา่ ง ๆ ก็ได ้ เนื้อในเมลด็ นา� มาค่ัวกนิ เปน็ อาหารวา่ งก็ได้ จะมีรสมันเมล็ดน�ามาใช้ประดับตกแต่งเสื้อผ้าหรือตุ๊กตาไม้มะกล่�าต้นน�ามาใช้ประโยชน์ในด้านเชื้อเพลิงได้ เพราะเป็น ฟนื ทใ่ี หค้ วามร้อนไดส้ งู ถึง 5,191 แคลอรตี อ่ กรมั และเนอื้ ไมใ้ หส้ แี ดงใชย้ ้อมผ้า เนือ้ แข็งและหนักน�ามาใชท้ �าเสาบ้าน หรือในการกอ่ สร้าง ท�าเคร่อื งเรอื น เฟอร์นิเจอร ์ ทา� เรอื เกวียนไดด้ ี ฯลฯ มบี างทา่ นปลูกมะกล่า� ต้นเป็นไม้ประดับก็มี มะขวดิ สว่ นที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ....ภิกษุทั้งหลายท่ีมุ่งหวังจะได้มาก ๆ จึงน้อมสิ่งของเข้าไปให้พวกคฤหัสถ์ คือดินเหนียวบ้าง น�้ามันบ้าง จุณเจมิ บา้ ง น�้าบา้ ง ท่ีนัง่ ท่ีนอนบ้าง อาหารบา้ ง ไมส้ ีฟนั บา้ ง ผลมะขวดิ บา้ ง ดอกไมบ้ า้ ง ของควรเค้ยี วบา้ ง บิณฑบาต ทสี่ มบูรณ์ด้วยกบั บา้ ง (เลม่ ที่ 26 หน้า 493) ....ต้นอโศก ต้นมะขวิด และตน้ กหุ ลาบลว้ นมีดอกบานสะพรงั่ สง่ กลนิ่ หอมอบอวลคล้ายกลนิ่ ทิพย์ ประดับ อาศรมของขา้ พเจา้ ให้งดงาม (เลม่ ที่ 33 หน้า 7) ชอื่ สามญั ภาษาไทย มะขวดิ ช่ือสามัญภาษาอังกฤษ Burmese thanaka, Elephant’s apple, Gelingga, Kavath, Wood apple ชอ่ื พ้นื เมือง ทานาคา (พม่า) มะขวดิ (ภาคกลาง) มะฟดิ (ภาคเหนอื ) ชอื่ บาล-ี สนั สกฤต กปฏิ ฐฺ . กปติ ถฺ . กวิฏฺฐ. กพฏิ ฺฐ ชอื่ วิทยาศาสตร์ Limonia acidissima L. ชือ่ วงศ์ Rutaceae ถนิ่ กา� เนดิ มีแหล่งก�าเนิดในประเทศอนิ เดยี พม่า ศรลี งั กา และอนิ โดจีน นิเวศวทิ ยา เปน็ ตน้ ไม้ที่มคี วามทนตอ่ สภาพดนิ และภูมอิ ากาศตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งด ี ชอบข้นึ ในเขตมรสมุ หรือในเขตรอ้ นท่มี ีอากาศแหง้ แลง้ เป็นบางชว่ ง การขยายพันธ์ุ ใช้เมล็ด ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เซนติเมตร เป็นไม้ผลัดใบแต่ ผลิใบไว รปู ทรงของตน้ สวยงาม ลักษณะเป็นทรงเรอื นยอดพุ่มกลม เปลอื กล�าตน้ ภายนอกมีสีเทา สว่ นภายในมีสีขาว เป็นต้นไม้ท่ีมีความทนต่อสภาพดินและภูมิอากาศต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ใบออกเป็นช่อแบบข้อต่อเรียงสลับหรือติดกัน เป็นกระจุกในบริเวณปุ่มตามก่ิงต่าง ๆ ช่อใบยาวประมาณ 8-15 เซนตเิ มตร ในแต่ละช่อจะมี 1-4 ปล้อง หลังใบมี สเี ขยี วเขม้ เปน็ มนั เนอ้ื ใบคอ่ นขา้ งหนาเกลย้ี ง สว่ นทอ้ งใบจะมสี จี างกวา่ เมอื่ เอาใบมาสอ่ งผา่ นแสงจะเหน็ เปน็ ตอ่ มนา�้ มนั อยู่ท่ัวไป ลกั ษณะเป็นรปู ร ี ๆ ใส ๆ มากมาย สว่ นขอบใบเรียบ กา้ นใบยอ่ ยจะสน้ั มาก ออกดอกรวมกันเป็นชอ่ สนั้ ๆ ดอกมีขนาดเล็กสีขาวอมสีแดงคล้�า ๆ ในแต่ละช่อดอกจะมีทั้งดอกเพศผู้และดอกรวมเพศ ผลมีลักษณะกลมตัว เป็น ผลแห้ง เปลือกภายนอกแข็งเป็นกะลา มีสีเทาอมขาวหรือผิวเป็นขุยสีขาวปนสีชมพูมีเนื้อมาก เน้ือในผลอ่อนน่ิม

78 สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก เมื่อผลสุกแล้วเน้ือเย่ือจะเป็นสีด�า กินได้ โดยให้รสหวานอมเปร้ียว มีกลิ่นหอม มียางเหนียว ส่วนในผลมีเมล็ด จา� นวนมาก มีเมือกหุ้มเมล็ดเปลอื กหนาและมขี น สามารถน�ามาเคย้ี วกนิ ได้เชน่ กัน การใช้ประโยชน์ ประโยชน์ด้านสมุนไพร รากแก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อย แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต เปลือกแก้ลงท้อง แก้ฝเี ปื่อย แกบ้ วม แก้ตัวพยาธ ิ แก้ตกโลหิต ใบแก้ฟกบวม แก้พยาธิ แก้ฝเี ปือ่ ย แก้ทอ้ งร่วง แกต้ กโลหิต (หา้ มโลหิต ระดูสตรี) ขับลม ฝาดสมาน ดอกแก้ลงท้อง แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต ผลแก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แกต้ ัวพยาธ ิ แกต้ กโลหิตแกท้ ้องเสีย เป็นยาบ�ารงุ ท�าใหส้ ดชน่ื เจริญอาหาร (ผลดบิ น�ามาหนั่ ใหบ้ างแล้วตากให้ แหง้ ใชช้ งกบั น้�ากนิ เป็นยาบ�ารุงธาตุในรา่ งกาย) รกั ษาโรคลกั ปิด-ลกั เปดิ ยางเจริญไฟธาตุ แกท้ อ้ งเสยี สมานบาดแผล ต้นมะขวดิ เปน็ ไม้ปลกู เพือ่ ปรบั ภมู ทิ ัศนใ์ หท้ รงพุ่มสวยงาม เจริญเติบโตได้เรว็ และแข็งแรง ผลมะขวดิ กนิ สด และยังน�ามาทา� นา้� ผลไมแ้ ละแยมได ้ ผลใช้เป็นอาหารของนก เมลด็ รสอร่อยถน�ามาเคยี้ วกินเล่นได้ ยางของผลมะขวิดมี ความเหนียว นา� มาท�าเปน็ กาวเพ่อื ใช้ติดหรือเชอ่ื มตอ่ ส่งิ ของตา่ ง ๆ เนอื้ ไม้ไมแ้ ขง็ น�ามาใชใ้ นงานชา่ งตา่ ง ๆ ไดด้ ้วย มะขามปอ้ ม สว่ นที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ....“ภกิ ษุท้งั หลาย เราอนุญาตผลไม้ทเ่ี ป็นยา คอื ลกู พลิ งั คะ ดีปลี พริก สมอไทย สมอพเิ ภก มะขามปอ้ ม ผลโกฐ หรือผลไม้ที่เป็นยาชนิดอ่ืนท่ีมีอยู่ ซึ่งไม่ใช่ของเค้ียวของฉัน รับประเคนแล้วเก็บไว้ได้จนตลอดชีพ เมื่อมีเหตุ จา� เป็นภกิ ษุจึงฉันได้ เมอ่ื ไมม่ ีเหตจุ �าเป็น ภกิ ษฉุ นั ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ” (เลม่ ท่ี 5 หน้า 47) ช่อื สามัญภาษาไทย มะขามปอ้ ม ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ Indian gooseberry, Malacca tree ชือ่ พ้นื เมือง มะขามป้อม กันโตด (เขมร-จันทบรุ ี) ก�าทวด (ราชบรุ ี) มะขามป้อม (ทัว่ ไป) ชือ่ บาลี-สันสกฤต อมตา, อามลก. อามลกี ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Phylanthus emblica L. ชื่อวงศ์ Phyllanthaceae ถิ่นก�าเนิด มกี ารกระจายใน อนิ เดยี ศรีลงั กา ไทย เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ จีน นิเวศวิทยา พบตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าสนผสมก่อ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้�าทะเลจนถึง ประมาณ 1,500 เมตร การขยายพนั ธุ์ ใช้เมลด็ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มหรือไม้ยนื ตน้ ขนาดกลาง สงู 8-20 เมตร ผลัดใบ เรอื นยอดโปรง่ ลา� ต้นคดงอ เปลือกนอกสีน�้าตาล อมเทา ผิวเรียบหรือค่อนข้างเรียบ หลุดลอกเป็นแผ่นกว้างๆ เปลือกช้ันในสีน้�าตาลแดง ปลายก่ิงมักลู่ลง ใบเดี่ยว เรยี งสลับระนาบเดียว ลกั ษณะคลา้ ยใบแบบขนนก มกั เรียงตัวหนาแนน่ ตามกิ่งก้าน ส่วนตามลา� ต้น และก่งิ ก้านใหญ่ ๆ มักไม่มี ใบอ่อนมีขนละเอียดมักจะมีแต้มสีแดง ใบแก่ไม่มีขน ใบมีขนาดเล็ก รูปแถบแกมรูปขอบขนาน ปลายมน

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 79 โคนรูปหัวใจเบี้ยว ขอบเรียบ แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ เส้นแขนงใบ ข้างละ 4-6 เส้น เส้นใบย่อยแบบร่างแห เห็นชัดเจนทางด้านบน หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกขนาดเล็กแยกเพศติดตามก่ิงก้าน บริเวณโคนก่ิงจะเป็น กระจุกของดอกเพศผู้ ส่วนบนมีดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ บางคร้ังอาจมีดอกเพศผู้ร่วมอยู่ด้วยเล็กน้อย ดอกเล็ก ๆ สีเขียวอ่อนหรือเหลืองออกครีม อาจพบแต้มสีชมพู ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ แต่ละกระจุกมีดอกเพศผู้หลายดอก ดอกเพศเมีย 1 หรอื 2 ดอก ดอกเพศผูม้ ีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ เรียงซอ้ นกนั 2 วง รปู ขอบขนานแกมรปู ไข่กลับ หรือ รูปช้อน ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 3 อัน เช่ือมกันเป็นแกนส้ัน ๆ ดอกเพศเมียมีกลีบเล้ียง 6 กลีบ รูปขอบขนาน หรอื รูปช้อน เชอ่ื มกันที่ฐาน จานฐานดอก รปู วงแหวน ผลผนงั ชนั้ ใน แขง็ รูปกลม เกลี้ยง ทผี่ วิ มรี อยแยกตามยาวแบ่ง เปน็ 6 ซีก ผลไมม่ ีก้าน ผลแก่สีเขยี วอมเหลือง ผวิ ใส ชุ่มนา�้ มีรสเปรยี้ วและฝาด ชั้นหมุ้ เมล็ดแขง็ 3 หนว่ ย แต่ละ หน่วยหุม้ 2 เมล็ด การใชป้ ระโยชน์ มะขามปอ้ มเปน็ สมุนไพรทช่ี าวอนิ เดยี ใช้มาอยา่ งยาวนานหลายพนั ป ี เพราะเปน็ ยาอายวุ ัฒนะซึง่ ชาวอนิ เดยี เรียกสมุนไพรหรือผลไม้ชนิดน้ีว่า Amalaka แปลว่า “พยาบาล” สะท้อนให้เห็นว่าสรรพคุณของมะขามป้อมน้ัน มีมากมายเหลือเกิน ทุกส่วนของมะขามป้อมใช้เป็นยาได้และยังใช้ประโยชน์อ่ืน ๆ เช่น ผสมในเครื่องส�าอางบ�ารุงผิว แชมพู (ทา� ให้ผมด�า) ฯลฯ ในภูมปิ ญั ญาด้งั เดมิ ของไทยกล่าวถึงเนือ้ ผลแหง้ รสเปรี้ยวฝาดขม ขบั เสมหะ ท�าให้ชุม่ คอ เปน็ ยาฝาดสมาน แก้ริดสดี วง แกบ้ ดิ ท้องเสยี ผลอ่อน รสเปร้ยี วหวานฝาดขม บ�ารงุ เนือ้ หนงั ให้บรบิ ูรณ์ กัดเสมหะในคอทา� ใหเ้ สียงเพราะ แก้ท้องผูก แก้พยาธิ ผลแก่รสเปร้ียวฝาดขมเผ็ด แก้ไข้เจือลม แก้ไอ แก้กระหายน�้า แก้เสมหะ ท�าให้ชุ่มคอลดไข ้ ขบั ปัสสาวะ ระบายทอ้ ง บา� รุงหัวใจ ฟอกโลหติ แกล้ ม แก้ลกั ปดิ ลกั เปิด มีวติ ามินซีสงู มาก ในตา� รายาไทย “พกิ ดั ตรีผลา” หรือต�ารับยาผลไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ลูกสมอพิเภก ลูกสมอไทย ลูกมะขามป้อมมีสรรพคุณแก้ปิตตะ วาตะ เสมหะ ในกองธาต ุ กองฤด ู กองอาย ุ และกองสมฎุ ฐาน ปัจจบุ ันมีการศึกษาวจิ บั พบวา่ มะขามปอ้ มีสารตา้ นอนุมูลอิสระ อยสู่ ูง กนิ เปน็ ประจา� ช่วยลดความเสยี่ งของโรคมะเร็ง และโรคอ่นื ๆ ได้ดี มะคาํ ไก่ สว่ นทป่ี รากฏในพระไตรปฎิ ก ....พราหมณ์ ณ ริมรอบขอบสระนม้ี ีตน้ ไม้ขึน้ มากมาย…..ต้นมะค�าไก่ ไม้มะซาง ตน้ แก้ว ต้นมะรุมการะเกด กรรณกิ าร์ และชบา ผลิดอกบานสะพรงั่ .... (เล่มที่ 28 หนา้ 502) ชอ่ื สามัญภาษาไทย ประค�าไก่ ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Officinal Drypetes ชอ่ื พ้นื เมอื ง ประค�าไก่ มะค�าไก่ มะค�าดีไก่ (ภาคกลาง) มะองนก (ภาคเหนือ) มักค้อ (ขอนแก่น) โกสุม (มหาสารคาม) ชื่อบาล-ี สนั สกฤต พหวุ ารก. เสลุ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Putranjiva roxburghii Wall. ช่ือวงศ์ Putranjivaceae

80 สมุนไพรในพระไตรปิฎก ถิน่ กา� เนดิ พบท่ีอนิ เดยี ปากสี ถาน บงั กลาเทศ เนปาล ศรลี ังกา ลาว กมั พชู า ชวา นิวกิน ี หม่เู กาะ ซุนดาน้อยและโมลุกกะ ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ข้ึนตามป่าเบญจพรรณ นเิ วศวิทยา ป่าดิบแล้ง บนเขาหินปนู ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร การขยายพนั ธ ุ์ เจริญเติบโตไดด้ ีในป่าดิบแลง้ ใช้เมล็ด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมต้ ้น สงู ไดถ้ ึง 15 เมตร แยกเพศตา่ งตน้ หใู บ 2 อนั ขนาดเลก็ ใบเรยี งสลบั ระนาบเดียว รูปรีหรอื รปู ขอบ ขนาน โคนเบ้ียว ขอบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นกระจุกสีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงขนาดไม่เท่ากัน ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผไู้ ร้ก้าน ก้านดอกสน้ั กลบี เล้ียง 4-5 กลีบ ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 3-4 อัน ก้านชูอบั เรณูส้ัน ไมม่ ีจาน ฐานดอก ดอกเพศเมยี ออกเป็นกระจกุ 1-4 ดอก กลีบเลยี้ ง 5 กลบี รังไข่มีขนหนาแน่น ม ี 2 ชอ่ ง แตล่ ะช่องมอี อวลุ 2 เม็ด เกสรเพศเมยี แยก 2-3 แฉก โค้งงอกลบั ติดทน มปี ุ่มเลก็ ๆ กระจาย ผลผนังชนั้ ในแขง็ รปู รีกวา้ ง มีเมลด็ เดยี ว การใช้ประโยชน์ ใบและผลใชเ้ ปน็ ยารกั ษาโรคไขข้ออกั เสบ ตามตา� รายาไทย ใบปรุงยาถ่ายพษิ ฝ ี ถา่ ยเสน้ ถา่ ยกระษยั และ ใชต้ า� พอกฝี รากเปลอื กราก แกก้ ระษยั แก้เสน้ เอ็น ท�าใหเ้ สน้ เอ็นหยอ่ น ถา่ ยฝีภายใน มะคา� ไก่ทั้ง 5 แกร้ ดิ สีดวง ภายนอกภายใน แก้ฝีในกระดูก ปอด ตับ มา้ ม กระเพาะ ลา� ไส ้ แก้กระษัย ขบั ปสั สาวะ มะงวั่ สว่ นท่ีปรากฏในพระไตรปฎิ ก .... ถัว่ ดา� ถัว่ เหลือง ต้นกล้วย ตน้ มะง่ัว งอกงามดว้ ยนา�้ หอม ออกฝกั ออกผล (เปน็ ทองค�า ประดบั อาศรม ของข้าพเจ้าใหง้ ดงาม) (เล่มท่ี 32 หน้า 28) ชอื่ สามญั ภาษาไทย มะง่วั ช่อื สามญั ภาษาองั กฤษ Citron ชือ่ พนื้ เมือง มะนาวควาย (ปตั ตาน ี ยะลา) มะนาวรปิ น มะโวย่ าว (เชยี งใหม่) สม้ มะงั่ว (ภาคกลาง) ช่อื บาลี-สนั สกฤต พชี ปูร. มาตลุ งุ ฺค. ปปุนนฺ าฏ ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus medica L. var. medica ชื่อวงศ์ Rutaceae ถ่นิ กา� เนิด ถน่ิ ก�าเนิดของมะงว่ั อยใู่ นอินเดยี กระจายพันธไ์ุ ปจนถึงจนี และอหิ รา่ น นเิ วศวทิ ยา เจรญิ ได้ดีในดินร่วนปนทรายไม่ชอบที่แฉะ การขยายพันธ ์ุ ใชเ้ มลด็ และกงิ่ ตอน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มมีก่ิงมาก เปลือกล�าต้นสีเทาอ่อน ไม้เน้ืออ่อน ยอดอ่อนสีม่วงหรือเขียวอมม่วง กิ่งอ่อนสีอมม่วง เปน็ เหลยี่ ม กง่ิ แก่กลม ผวิ เกล้ยี งมีหนามแหลมตามซอกใบ ใบประกอบลดรปู เหลอื ใบเดียว ขอบใบจักฟันเล่ือย ดอก

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 81 ช่อออกตามซอกใบ ดอกสีชมพูหรือขาว ผลทรงกลมยาว ผิวหยาบ ผลสดเปลือกเป็นปุ่มปมเล็กน้อย เปลือกหนา สีเหลือง กล่ินหอม แต่ละกลีบขนาดเล็ก รสออกเปรี้ยว เมล็ดรูปไข่จ�านวนมาก มีสองพันธุ์คือ พันธุ์ที่มีรสเปร้ียว ยอดและตาดอกสชี มพู เน้อื มรี สเปร้ยี ว และพันธทุ์ ่ีรสไมเ่ ปรย้ี ว ยอดและตาดอกไม่เปน็ สีชมพ ู เนื้อรสไมเ่ ปรีย้ ว การใชป้ ระโยชน์ ใช้เปลือกผลท�าขนมหวานและเค้ก ใช้ท�าน�้าหอม ในจีนใช้รากต้มน�้ารักษาอาการผิดปกติของระบบหายใจ และปวดหลัง ผวิ มะง่วั มนี า�้ มนั มากเรยี กน้�ามนั ผิวมะงัว่ นา้� มะงว่ั รสเปร้ียว ตา� รับยาดัง้ เดิม ใชแ้ ก้ไอ ฟอกโลหิต ขับโลหติ เป็นยาสมาน แกผ้ ิดส�าแดง และมกี ารน�าน�้ามะง่วั ใช้เป็นนา�้ กระสายยา เช่นในตา� ราพระโอสถพระนารายณม์ ยี าขนาน หน่งึ แก้เตโชธาต ุ (ธาตุไฟ) พกิ าร ระบุให้ใชส้ ม้ มะง่ัวเป็นกระสายยา มะซาง ส่วนทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก ....ครงั้ นนั้ นกแขกเตา้ อีกตวั หน่งึ ซงึ่ มจี ะงอยปากแดง ยินดีต้อนรับด้วยกล่าวว่าพระมหาราช พระองค์เสด็จ มาดแี ลว้ มไิ ดเ้ สดจ็ มารา้ ย พระองคผ์ ทู้ รงเปน็ ใหญ่ เสดจ็ มาถึงแลว้ โดยลา� ดบั สง่ิ ของที่มอี ยูใ่ นอาศรมนี้ ขอพระองคเ์ สวย เถดิ คอื ผลมะพลบั ผลมะหาด ผลมะซาง ผลหมากเม่าและผลไม้ทงั้ หลายทีม่ รี สพอสมควร ขอพระองค์เสวยผลไม้ ท่ดี ี ๆ เถิดพระเจ้าขา้ (เลม่ ที่ 27 หนา้ 499) ชือ่ สามญั ภาษาไทย มะซาง ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ - ชอื่ พน้ื เมือง มะทราง มะซางหวาน ซาง มะซาง (ภาคกลาง) มะเคด็ (ภาคอสี าน นครสวรรค)์ ชื่อบาลี-สนั สกฤต คุฬผล. มธกุ . มธุททฺ มุ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Madhuca pierrei (F. N. William) H.J.Lam ชอื่ วงศ์ Sapotaceae ถิ่นก�าเนดิ มีการกระจายพันธุ์ใน บังคลาเทศ จีนตอนใต้ อินเดีย เนปาล ศรีลังกา เมียนมาร์ ลาว กมั พชู า ไทย เวียดนาม บอร์เนียว ชวา ฟลิ ิปปนิ ส์ นิเวศวิทยา พบทวั่ ไปในปา่ ดบิ แล้งและป่าดบิ เขา ท่ีความสงู จากระดบั นา้� ทะเล 500-1,500 เมตร การขยายพันธ์ุ ใช้เมลด็ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้นไม่ผลัดใบขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30 เมตร เรือนยอดกลมหนาทึบ ล�าต้นเปลาตรงเปลือกต้น สีนา�้ ตาล-ด�า แตกเป็นสะเกด็ สีเ่ หล่ียม และเป็นรอ่ งลกึ ใบเปน็ ใบเด่ยี ว เรียงเวยี นสลับ รปู ไขก่ ลับปลายใบแหลมโคนใบ สอบหยักเข้าและเบี้ยวเล็กน้อย แผ่นใบหนาผิวใบด้านล่างมีขนสีน�้าตาลปกคลุม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบอ่อนมีขนสีน้�าตาลปกคลุมตามเส้นใบสีน้�าตาลชัดเจน ดอกออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกตามปลายกิ่งเหนือกลุ่มใบ กลีบเลี้ยง ม ี 4 กลีบ กลบี ดอก มี 6 กลีบ โคนเชอ่ื มตดิ กนั เป็นรูปถว้ ย ผลสดแบบมเี นือ้ ทรงกลม สเี ขยี วอมเหลือง ปลายผลมีหลอดเกสรเพศเมียตดิ อยู่ และมีน้า� ยางเหนียวสขี าวขุ่น ม ี 1 เมลด็ รูปไข่ สนี �้าตาล-แดง

82 สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก การใชป้ ระโยชน์ แก่นมะซางมีรสหวานเย็น มีสรรพคุณแก้คุดทะราด แก้เสมหะ แก้โลหติ แก้กา� เดาดอกมีกล่ินหอมรสเย็น เป็นยาชูก�าลัง ท�าให้หัวใจชุ่มชื่น ส่วนรากมีรสหวานเย็น มีสรรพคุณแก้โลหิตและก�าเดา ส�าหรับเน้ือไม้ใช้ท�าเสา เครื่องเรอื น กระดานพน้ื ฝา และดา้ มเครือ่ งมือ แจว พาย กรรเชียง เมล็ด ใหน้ �้ามัน ผลกินได้ มะเดือ่ (พืชในสกุลมะเด่อื ที่ปรากฏในพระไตรปฎิ ก) ตน้ โพ ต้นไทร ต้นนิโครธ ต้นกร่าง ต้นเลยี บ ผักเลือด มะเด่อื ฯ มปี รากฏอยใู่ นพระไตรปิฎก ซง่ึ พชื กลุ่มน้ี อยใู่ นสกลุ เดียวกัน คือ Ficus ในเอกสารบางชิ้นกล่าวถึงพืชในกลมุ่ นีไ้ ว้คอ่ นข้างสบั สน เชน่ กลา่ วถึงตน้ ไทร ตน้ นิโครธ ตน้ กรา่ ง เปน็ พืชชนิดเดยี วกัน ท้งั ๆ ท่ีเป็นพชื คนละชนดิ แตอ่ ยู่ในสกุลมะเด่อื หรือ Ficus เดียวกัน จากขอ้ มลู วชิ าการ ในหนงั สอื ชอื่ พรรณไม้แหง่ ประเทศไทย เต็ม สมิตนิ ันท ์ (พ.ศ. 2557) รายงานวา่ มีอยู่ถึง 116 ชนดิ พืชในกลมุ่ มะเดอื่ ที่ปรากฏในพระไตรปิฎกพอจดั จ�าแนกตามหลักการทางพฤกษศาสตร์ไวด้ ังน้ี กร่าง มชี อื่ วิทยาศาสตรว์ ่า Ficus benghalensis L. (เลม่ ท่ี 18 หน้า 221) ไทร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ficus benghalensis L. (เล่มท่ี 18 หน้า 221) ไทรย้อย ช่ือวิทยาศาสตรว์ ่า Ficus benjamina L. (เล่มท่ี 26 หน้า 277) ไทรใหญ่ ช่อื วิทยาศาสตร์ว่า Ficus consociate Blume (เล่มที ่ 7 หนา้ 124) นิโครธ มชี ่ือวทิ ยาศาสตร์วา่ Ficus benghalensis L. (เล่มท่ี 33 หนา้ 575) ผกั เลอื ด มีชอื่ วิทยาศาสตร์วา่ Ficusvirens Aiton (ปรากฏในเอกสารอินเดีย) มะเดื่ออทุ ุมพร มชี ื่อวิทยาศาสตร์วา่ Ficus racemosa L. (เลม่ ท่ี 33 หนา้ 710) โพหรอื โพศรมี หาโพ มชี ่ือวทิ ยาศาสตรว์ า่ Ficus religiosa L. (เล่มท่ี 32 หน้า 91) เลยี บ มีช่อื วทิ ยาศาสตร์วา่ Ficus supcrba (Miq.) Miq หรือ “ต้นปปิ ผลิ” หรือ “ต้นปิลกโฺ ข” (เลม่ ท่ี 33 หนา้ 595) กร่าง สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก .....ข้อน้ันเพราะเหตุไรเพราะราคะน้ันยังมีอยู่ โทสะนั้นยังมีอยู่ โมหะนั้นยังมีอยู่ ราคะน้ันภิกษุหรือภิกษุณี ยังละไมไ่ ด้ โทสะนนั้ ภิกษุหรอื ภกิ ษุณียังละไมไ่ ด้ โมหะน้นั ภกิ ษหุ รือภิกษุณียังละไมไ่ ด้ ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนต้นไม้มียาง จะเป็นต้นโพธิ์ ต้นไทร ต้นกร่างหรือต้นมะเด่ือก็ตาม ยังอ่อน ใหม่ ขนาดเลก็ บรุ ุษใช้ขวานทีค่ มฟันตน้ ไมน้ ั้นตรงท่ใี ด ๆ ยางจะพงึ ไหลออกได้ไหม” “ได้ พระพุทธเจา้ ข้า” “ขอ้ นั้นเพราะเหตไุ ร” “เพราะยางนน้ั มอี ยู่ พระพุทธเจ้าขา้ ”

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 83 “ภิกษุทั้งหลาย อุปมาน้ีฉันใด อุปไมยก็ฉันน้ันเหมือนกัน ราคะของภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่งในรูป ท่ีพึงรู้แจ้งทางตามีอยู่ โทสะของภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่งในรูปท่ีพึงรู้แจ้งทางตามีอยู่ โมหะของภิกษุหรือภิกษุณี รปู ใดรปู หนง่ึ ใน (เลม่ ท่ี 18 หน้า 221) ชอ่ื สามัญภาษาไทย กรา่ ง ชื่อสามญั ภาษาอังกฤษ Council tree ชอ่ื พื้นเมอื ง กรา่ ง (ภาคกลาง) ไทรทอง (นครศรธี รรมราช) ลงุ (เชียงใหม่ล�าปาง) ฮ่างขาว ฮ่างหลวง ฮา่ งเฮือก (เชียงราย) ไฮคา� (เพชรบรู ณ์) ช่ือบาล-ี สนั สกฤต ต้นนิโครธ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Ficus benghalensis L. ชื่อวงศ์ Moraceae ถ่นิ ก�าเนิด เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้และเกาะต่าง ๆ ในแปซิฟิคตั้งแตจ่ นี ถึงฟลิ ปิ ปนิ ส์ นิเวศวทิ ยา พบกระจายทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย ทคี่ วามสงู จากระดับน�้าทะเล ปานกลาง 100-2,000 เมตร การขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้นขนาดใหญ่ มยี างขาว และมรี ากอากาศ ใบเดย่ี ว เรียงเวยี นสลบั รูปร ี หรอื รปู ไขแ่ กมรูปขอบขนาน ปลายมนเป็นตง่ิ แหลมส้ัน ๆ โคนคอ่ นข้างมน ขอบเรยี บ แผน่ ใบหนา หูใบรปู ใบหอก 2 อนั ชอ่ ดอกไมม่ กี ้าน ออกเป็น คู่ตรงงา่ มใบ ท่ีโคนช่อดอกยงั มีใบประดับขนาดเลก็ อีก 3 ใบรองรับชอ่ ดอก และติดอยู่กับผล โคนเชื่อมกัน ช่อดอกมี รปู รา่ งคลา้ ยผล คอื มฐี านรองดอกเจรญิ เปลย่ี นแปลง ขยายใหญเ่ ปน็ กระเปาะและมรี เู ปดิ ทป่ี ลาย ดอกแยกเพศอยภู่ ายใน กระเปาะ ดอกเพศผ้ ู มจี �านวนมากแซมอยูท่ ั่วไป กลบี รวมช้ันเดยี ว 4 กลบี เกสรเพศผู ้ 1อนั ดอกเพศเมยี โคนกลบี ติด กันปลายแยกเปน็ 4 แฉก และมดี อกเพศเมียไมส่ มบูรณ์เพศอาจมไี ข ่ หรือตวั อ่อนของแมลง อย่ภู ายใน (gall-flower) ผลแบบมะเด่อื (syconium) รปู ไข ่ สกุ สีเหลอื ง ส่วนที่เป็นเนอ้ื ของผลคอื ฐานรอง ดอกซึง่ เปลย่ี นแปลงไป ภายในผล ประกอบดว้ ยผลเลก็ ๆ จ�านวนมาก ซ่ึงแตล่ ะผลมีเนื้อบาง ๆ และม ี 1 เมลด็ การใชป้ ระโยชน์ ปลกู เป็นไมป้ ระดับ รากอากาศใชท้ า� เชือก ต้นใชเ้ ลยี้ งครัง่ เปลอื กชน้ั ในใช้ท�ากระดาษ ไทร ส่วนที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ....อุทุมพรชาดกว่าด้วยลิงหลอกลิงด้วยผลมะเดื่อ (ลิงใหญ่หน้าด�าตัวหน่ึงคิดจะลวงลิงเล็กเพื่อยึดท่ีอยู่ จึงกล่าวกบั ลงิ เล็กว่า ตน้ มะเด่อื ตน้ ไทร และต้นมะขวิดเหลา่ นมี้ ผี ลสุกเจา้ จงออกมากนิ เถดิ จะยอมตายเพราะความหิว ทา� ไม (เลม่ ท่ี 27 หนา้ 152) ….พญาครุฑ ตัวท่านกินเนื้อเป็นอาหาร ส่วนนกน้ีกินผลไม้เป็นอาหาร นกตัวนี้กินเมล็ดไทร เมล็ดดีปลี เมล็ดมะเด่ือและเมล็ดโพธิแ์ ล้ว จกั ถ่ายรดล�าตน้ ข้าพเจ้า (เลม่ ที่ 27 หนา้ 277)

84 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก ช่ือสามญั ภาษาไทย ไทร ช่อื สามัญภาษาองั กฤษ Banyan Tree ชอ่ื พนื้ เมือง ไทร (จนั ทบรุ ี ตรัง) เลียบ (พังงา) ไฮ (เลย) ไทรใบกลม ไทรเกาหลี (กรุงเทพฯ) ชื่อบาล-ี สนั สกฤต ตน้ นิโครธ ช่ือวิทยาศาสตร์ Ficus benghalensis L. ชื่อวงศ์ Moraceae ถน่ิ ก�าเนิด เอเชยี ตะวันออก มีการกระจายในจนี ตอนใต้ เมยี นมา ไทย เวยี ดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซีย ฟิลปิ ปนิ ส์ นเิ วศวิทยา เจริญได้ดีในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 500-1,300 เมตร จากระดับน้�าทะเลและยังพบ ในป่าเบญจพรรณที่ระดับความสูงถึง 600 เมตร ส่วนใหญ่พบตามริมฝั่งแม่น้�า ล�าคลอง แต่สามารถพบไดต้ ามทลี่ าดเชิงเขาด้วย การขยายพนั ธ ์ุ การเพาะเมลด็ และการกิ่งตอน โดยเริ่มงอกจากการอิงอาศัยตน้ ไมอ้ ืน่ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ล�าต้นมีความสูงได้ถึง 30 เมตร ล�าต้นตรงแตกก่ิงก้านเป็นพุ่มทึบ มรี ากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลา� ตน้ ผวิ เปลือกเรยี บสขี าวปนเทา ใบเป็นใบเดยี่ วแตกออกจากก่ิงและส่วนยอด ของล�าต้น ใบออกเป็นคู่สลับกัน ผลเป็นแบบมะเดื่อ ออกเป็นคู่ในซอกใบ รูปไข่ สีเหลืองอมส้มหรือเหลืองอมชมพู มักจะมจี ุดสคี รมี อว้ นส้นั ด้านบนมีวงแหวนนูน ดา้ นลา่ งและกาบใบรูปสามเหล่ยี มแคบ 3 กาบ ทยี่ อดผล การใช้ประโยชน์ ใบอ่อนกินไดเ้ ปน็ ผัก ยางมคี ุณภาพดีสามารถนา� มาใชผ้ ลิตเครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ได้ ไทรยอ้ ย ส่วนทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก ....พระเจ้าสรุ ัฏฐ์ ไดเ้ สดจ็ พระราชด�าเนนิ ไปทางน้ันพร้อมด้วยกองทัพ 4 เหลา่ …. ….จงึ เสด็จขน้ึ คอช้าง ทอดพระเนตรไปทว่ั ท้ัง 4 ทศิ ทรงเหน็ ตน้ ไทรย้อยตน้ หนึ่ง มีรม่ หนาทบึ ดี เขียวชอุม่ คลา้ ยสเี มฆ ทัง้ สแี ละสัณฐานกค็ ลา้ ยเมฆ… ….“ขา้ แตพ่ ระมหาราชเจา้ นนั้ ตน้ ไทรยอ้ ย มรี ม่ หนาทบึ ดเี ขยี วชอมุ่ คลา้ ยสเี มฆ ทงั้ สแี ละสณั ฐานกค็ ลา้ ยเมฆ” (เล่มท่ี 26 หนา้ 277) ช่ือสามญั ภาษาไทย ไทรยอ้ ย ชือ่ สามญั ภาษาอังกฤษ Golden Fig, Weeping Fig, Weeping or Java Fig, Weeping Chinese Bonyan, Benjamin Tree, Benjamin’s fig, Ficus tree ชื่อพน้ื เมอื ง ไทรพัน (ลา� ปาง) ไทร (นครศรีธรรมราช) ไทรกระเบ้อื ง (ประจวบครี ขี ันธ์) ไฮ (ภาคอีสาน) ไทรยอ้ ยใบแหลม (กรงุ เทพฯ) จาเรย (เขมร), ไซรย้อย

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 85 ชือ่ บาล-ี สนั สกฤต วโฏ ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus benjamina L. ชอ่ื วงศ์ Moraceae ถิน่ กา� เนดิ มถี น่ิ กา� เนดิ ในทวปี เอเชยี อนิ เดยี และภมู ภิ าคมาเลเซยี มเี ขตการกระจายพนั ธก์ุ วา้ งในประเทศ เขตรอ้ น พบไดท้ ีอ่ ินเดยี เนปาล ปากสี ถาน จนี ตอนใต ้ พม่า ภูมภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซีย นิเวศวทิ ยา ฟลิ ิปปินส ์ และออสเตรเลยี ในประเทศไทยพบได้ทว่ั ทุกภาคของประเทศ โดยมักขึน้ กระจาย การขยายพันธุ์ ในป่าดบิ แล้ง ปา่ ดบิ ช้นื และป่าดบิ เขา และบางคร้ังอาจพบได้ตามเขาหินปนู จนถงึ ระดับ ความสงู ประมาณ 1,300 เมตร เปน็ พรรณไมก้ ลางแจง้ ทชี่ อบแสงแดดจา้ ชอบดนิ รว่ นซยุ ตอ้ งการนา้� และความชมุ่ ชน้ื ในระดบั ปานกลาง การเพาะเมลด็ การตอนกงิ่ และวธิ ีการปักชา� ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมย้ ืนตน้ หรอื พุ่มไมผ้ ลัดใบขนาดกลาง ทมี่ ีความสงู ได้ประมาณ 5-15 เมตร ลา� ต้นแตกเปน็ พมุ่ หนาทบึ และแผก่ ่ิงก้านสาขาทง้ิ ใบห้อยย้อยลง เปลือกตน้ เป็นสนี า�้ ตาล กง่ิ ก้านหอ้ ยย้อยลง มลี า� ตน้ ท่สี ูงใหญ่ ตามลา� ตน้ จะมรี าก อากาศแตกยอ้ ยลงสู่พื้นดนิ เป็นจา� นวนมากดสู วยงาม รากอากาศเปน็ รากขนาดเล็ก เปน็ เส้นสีนา้� ตาล ลักษณะรากกลม ยาวเหมือนเส้นลวดย้อยลงมาจากต้น รากอากาศท่ีมีขนาดใหญ่จะมีเนื้อไม้ด้วย มีรสจืดและฝาดใบเป็นใบเดี่ยว ออก เรยี งสลบั ลกั ษณะของใบเปน็ รปู รแี กมรปู ไข ่ บางตน้ ลกั ษณะของใบเปน็ รปู กลมปอ้ ม สว่ นบางพรรณกเ็ ปน็ รปู ยาวรปี ลาย ใบเรยี วแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบหรอื เปน็ คล่นื เล็กน้อย แผน่ ใบค่อนขา้ งหนาเป็นสีเขยี วเรียบเปน็ มันเหมือน กันหมด เสน้ แขนงใบมีข้างละประมาณ 6-16 เส้น ส่วนเส้นแขนงใบยอ่ ยเรยี งขนานกันดอกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกมี ขนาดเล็ก เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปทรงกลมคล้ายผล ออกเป็นคู่จากข้างกิ่ง ไม่มีกลีบดอกผลเป็นรูปทรงกลม หรือร ี ออกผลเป็นคู่ ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว เม่อื สกุ แลว้ จะเปลี่ยน เปน็ สีแดงเข้ม สีน�า้ ตาล สีชมพู สีส้มแดง หรอื สีม่วงดา� เมอื่ แก ่ ไร้ก้าน การใช้ประโยชน์ ตน้ ไทรย้อยเป็นท่อี ยอู่ าศยั ของสตั ว์ ผลยงั เปน็ อาหารทส่ี �าคัญของสัตวป์ า่ ชนดิ ต่าง ๆ รากอากาศสามารถน�า มาพันเป็นวงกลมเพื่อประดับดอกไม้แห้งเป็นพวงมาลาได้ บางท่ีนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เพราะมีทรงพุ่มแผ่กว้างให้ รม่ เงาไดด้ ี ชว่ ยกนั้ แสงแดดหรอื ชว่ ยดดู แสงแดดรอ้ นจดั ในยามกลางวนั และมพี มุ่ ใบทแ่ี นน่ ทบึ ยงั ชว่ ยลดเสยี งรบกวนจาก ภายนอก ชว่ ยดดู ซบั ควนั พษิ จากทอ่ ไอเสยี รถยนตแ์ ละฝนุ่ ละอองไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จงึ เหมาะอยา่ งยงิ่ ในการน�ามาปลกู ไวต้ าม สถานท่ีต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหมู่บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม สถานที่ราชการ โรงแรม หรือแม้กระท่ังริมถนนและ เกาะกลางถนน ข้อดีอีกอย่างหน่ึงของต้นไทรย้อยคือเป็นพันธุ์ไม้ท่ีมีความแข็งแรง ทนทาน ง่ายต่อการดูแลรักษา ไม่คอ่ ยมีโรคและแมลงมารบกวน และสามารถเจริญเตบิ โตได้ในดินทว่ั ไปอีกด้วย คนไทยโบราณเช่ือว่า บ้านใดปลูกต้นไทรไว้เป็นไม้ประจ�าบ้านจะท�าให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข และช่วย คุ้มครองป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ ทั้งปวงด้วย เพราะมีความเช่ือว่าต้นไทรเป็นไม้ศักด์ิสิทธ์ิที่มีเทพารักษ์อาศัยอยู่ จงึ ชว่ ยคอยคุ้มคนในบ้าน แตบ่ างคนกลบั เชือ่ ว่า ไมค่ วรปลกู ไว้ในบา้ น ไมใ่ ช่เพราะต้นไทรจะนา� เรอื่ งร้ายเขา้ มาในบ้าน

86 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก แต่อย่างใด แต่ด้วยเช่ือว่าต้นไทรมีเทวดาสถิตอยู่ จึงอาจจะไม่เหมาะสมท่ีจะน�ามาปลูก แต่ท่ีแน่ ๆ ซ่ึงทราบกันดีว่า ต้นไทรนั้นมีรากย้อยลงมามากอาจดูเกะกะ จะมีนกมาอาศัยและถ่ายมูลเร่ียราด ถ้าพ้ืนที่บ้านไม่กว้างพอ รากไทรจะ แทงเขา้ พ้นื ดนิ และแตกแยกออกไปโดยรอบ ท�าใหส้ งิ่ ก่อสร้างบา้ นเรอื นหรือคอนกรีตแตกรา้ วและพงั ทลายได ้ เม่อื ปลกู ตน้ ไทรแลว้ ไม่สามารถปลกู ไม้ชนิดอื่นไดเ้ ลย เพราะจะถูกรากไทรแย่งอาหารไปจนหมด อย่างไรก็ตามในปจั จบุ นั มกี าร พัฒนาพันธ์ไุ ทรแบบยอ่ สว่ นให้มขี นาดเล็กลง จึงสามารถนา� มาปลกู ในบ้านหรือสถานทีต่ า่ ง ๆ ไดห้ ากใครต้องการ ไทรใหญ่ สว่ นทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก ....เร่อื งสัตว์ 3 สหาย ลา� ดบั นนั้ พระผมู้ พี ระภาครบั สง่ั กบั ภกิ ษทุ งั้ หลายวา่ “ภกิ ษทุ ง้ั หลายเรอ่ื งเคยมมี าแลว้ ในแถบเชงิ เขาหมิ พานต์ มตี น้ ไทรใหญอ่ ยู่ตน้ หนึ่ง สัตว์ 3 สหายคือ นกกระทา ลงิ และช้างพลาย อาศัยตน้ ไทรนน้ั อยู่ สตั ว์ 3 สหายน้ันอยู่ อยา่ งไมเ่ คารพ ไม่ยา� เกรงกันและกัน มกี ารด�าเนนิ ชีวิตไมเ่ หมือนกนั ภิกษทุ ั้งหลาย ต่อมา สตั ว์ ๓ สหายปรึกษากนั วา่ “น่ีพวกเรา ท�าอย่างไรจึงจะรู้ไดว้ า่ ‘ในพวกเรา 3 สหาย ผู้ใดคือผูส้ งู วยั กวา่ กัน’ จะไดส้ ักการะ เคารพ นบั ถอื บชู าและเชือ่ ฟงั ผู้นั้น” ภกิ ษุทง้ั หลาย คร้งั นน้ั นกกระทาและลงิ ถามช้างพลายว่า “เพ่ือนเอย๋ ท่านจ�าเรอื่ งราวเกา่ ๆ อะไรได้บา้ ง เลา่ ” ช้างตอบวา่ “เม่ือเรายังเล็ก เราเคยเดินครอ่ มต้นไทรต้นน้ี ยอดไทรพอระท้องของเรา เราจ�าเรือ่ งเกา่ น้ีได”้ ภิกษุทงั้ หลาย ล�าดบั นัน้ นกกระทาและชา้ งพลายถามลงิ ว่า “เพือ่ นจา� เรอ่ื งราวเก่า ๆ อะไรได้บา้ ง” ลิงตอบว่า “เมอื่ เรายังเล็ก เราเคยนั่งบนพ้นื ดินเค้ียวกนิ ยอดไทรตน้ น้ี เราจ�าเรอ่ื งเกา่ นไี้ ด”้ ภกิ ษุท้งั หลาย ลา� ดับนนั้ ลิงและชา้ งพลายถามนกกระทาว่า “เพือ่ นจา� เรอื่ งราวเก่า ๆ อะไรไดบ้ า้ ง” นกกระทาตอบว่า “เพอ่ื นท้ังหลาย ท่โี น้นมีต้นไทรใหญ่ เรากนิ ผลของตน้ ไทรนนั้ แล้วถ่ายมลู ไวท้ ีน่ ี้ ไทรต้นนี้ เกดิ จากผลของต้นไทรนน้ั ดงั นั้นเราจึงเป็นผู้ใหญโ่ ดยชาตกิ �าเนิด” ภกิ ษุท้ังหลาย ล�าดบั น้นั ลงิ กบั ชา้ งพลายได้กล่าวกบั นกกระทาดงั นวี้ ่า “เพ่อื นบรรดาเราท้งั หลาย ทา่ นคอื ผูใ้ หญก่ วา่ โดยชาติก�าเนิด เราทง้ั 2 จะสักการะ เคารพนบั ถอื บชู า และเชอ่ื ฟงั ท่าน” ภิกษุท้ังหลาย ล�าดับน้ัน นกกระทาได้ให้ลิงกับช้างสมาทานศีล 5 ทั้งตนเองก็รักษาศีล 5 สหายท้ัง 3 น้ันต่างเคารพย�าเกรง ด�าเนินชีวิตอยู่อย่างเสมอภาคกันหลังจากสิ้นชีวิตได้ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ภิกษุท้ังหลาย ข้อปฏิบตั ินี้ เรยี กว่าติตติรยิ พรหมจรรยน์ รชนเหล่าใดฉลาดในธรรมประพฤติอ่อนนอ้ มถ่อมตนต่อบคุ คลผู้เจริญทั้งหลาย นรชนเหล่าน้ันเปน็ ผู้ได้รับการสรรเสริญในปจั จุบนั และมสี ุคตภิ พในเบื้องหน้า 1 ... (เล่มที่ 7 หนา้ 124-125) ชื่อสามญั ภาษาไทย ไทรใหญ่ ช่อื สามญั ภาษาองั กฤษ Brown-scurfy fig ชื่อพื้นเมือง ไทรใหญ ่ (ตราด) ชือ่ บาลี-สันสกฤต นโิ ครฺ โธ ชอื่ วิทยาศาสตร์ Ficus consociata Blume ชื่อวงศ์ Moraceae

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 87 ถิน่ กา� เนดิ มีการกระจายพนั ธใ์ุ นพม่า อินโดจนี ไทย มาเลเซยี สมุ าตรา ชวา บอร์เนยี ว นิเวศวทิ ยา เจรญิ ได้ดีในป่าเบญจพรรณ ปา่ พรุ ป่าในเขตมรสมุ ป่าตามแนวชายฝง่ั เจริญไดต้ ง้ั แต่ระดับ นา�้ ทะเลจนสงู กวา่ ระดับน�้าทะเล 800 เมตร ในบริเวณทมี่ ีดนิ ปนทราย การขยายพนั ธ ์ุ ใช้เมล็ด ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ ไมพ้ ุ่ม ท่ีไมต่ ้องอาศัยไม้ชนิดอ่นื ใบแขง็ คล้าย รูปไข่ ปลายแหลม ฐานใบเปน็ รปู หัวใจ มีเส้นใบประมาณ 5-10 ค ู่ ใบและกิง่ อ่อนมีขนสนี �้าตาล หนาแนน่ ใบแก่มขี นสนี ้า� ตาลอย่ทู างดา้ นล่างของใบ ผลเม่ือสุกมสี สี ม้ แดง การใช้ประโยชน์ ไทรใหญใ่ ห้น�า้ ยางสีขาวเหมอื นยางพารา แต่ในนา้� ยางนี้มเี รซนิ ปนอย่ ู จงึ มลี ักษณะยืดหยนุ่ นอ้ ยกวา่ ยางพารา นิโครธ สว่ นที่ปรากฏในพระไตรปฎิ ก ...ครั้นล่วงไป 7 วัน พระผู้มีพระภาคทรงออกจากสมาธิน้ัน แล้วเสด็จจากควงต้นโพธิพฤกษ์ ไปยังควง ตน้ อชปาลนิโครธ 1 ครัน้ ถึงแลว้ จงึ ประทบั น่ังโดยบลั ลังก์เดยี วเสวยวมิ ุตตสิ ุขอยู่ ณ ควงตน้ อชปาลนิโครธเป็นเวลา 7 วนั (เลม่ ที่ 4 หน้า 7) ชือ่ สามัญภาษาไทย นโิ ครธ ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Banyan tree, Bar, East Indian Fig ชื่อพ้ืนเมอื ง กรา่ ง (ภาคกลาง) นโิ ครธ หรอื ไทรนโิ ครธ (กรงุ เทพฯ) ไทรตอก (นครศรธี รรมราช) ช่ือบาล-ี สันสกฤต ต้นนิโครธ ชอื่ วิทยาศาสตร์ Ficus benghalensis L ชือ่ วงศ์ Moraceae ถน่ิ ก�าเนิด มถี น่ิ กา� เนดิ ในประเทศอนิ เดยี ศรลี งั กา และปากสี ถาน และไดแ้ พรก่ ระจายพนั ธไ์ุ ปทว่ั ในแถบ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ นเิ วศวิทยา เจริญเติบโตได้ดใี นดนิ ทุกชนดิ ทค่ี ่อนขา้ งมคี วามชุ่มชื้น การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ด หรือโดยวิธีทางธรรมชาติท่ีนกหรือ ค้างคาวจะกินผลแล้วถ่ายมูลท่ีมีเมล็ด ตดิ อยู่ไปยงั ที่ต่าง ๆ หรือจะขยายพนั ธดุ์ ้วยการปกั ช�าหรือการตอนกิ่ง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 10-30 เมตร ล�าต้นตรงข้ึนเป็นพูพอน แตกกิ่งก้าน หนาทบึ ลกั ษณะเป็นเรือนยอดแผ่กวา้ งปลายกงิ่ ลูล่ ง เปลอื กตน้ เรียบเกล้ยี ง ล�าตน้ และกิง่ มีรากอากาศหอ้ ยย้อยลงมา มากมาย และเมอื่ หย่ังถึงดินแล้วจะทา� ให้เปน็ หลืบสลับซับซอ้ น เปน็ ฉากเป็นหอ้ ง หรือเป็นล�าตน้ ต่อไปไดอ้ ีก ทุกส่วน ของลา� ตน้ มียางสีขาว กงิ่ อ่อนมขี นนมุ่ อยู่หนาแน่น

88 สมุนไพรในพระไตรปิฎก การใชป้ ระโยชน์ ผลกินเปน็ อาหารได้ ผลแก่ทเ่ี ปน็ สีแดงคลา�้ นกชอบมากนิ นอกจากกินผลเป็นอาหารแล้ว ในอินเดียยังใชใ้ บ เป็นจานรองใส่อาหารอีกด้วย ต้นกร่าง หรือต้นไทรนิโครธ จัดเป็นไม้มงคลตามพุทธประวัติท่ีพระกัสสปพุทธเจ้าทรง บา� เพ็ญเพียรอย ู่ 7 วนั และไดต้ รสั รู้ ณ ควงไม้นโิ ครธ จงึ นยิ มปลกู ไวต้ ามศาสนสถานหรือตามวดั วาอารามท่วั ไป เพอ่ื เป็นสญั ลกั ษณท์ างพุทธศาสนาแลว้ ยงั เป็นไม้ให้ร่มเงาและเพ่ิมความรม่ เยน็ แต่ไม่นิยมปลูกไว้ในบา้ นเนื่องจากต้นนิโครธ มีขนาดใหญ่เกินไป มีข้อมูลบางแห่งกล่าวว่ารากอากาศมีความเหนียว น�ามาท�าเป็นเชือก ส่วนเปลือกด้านในใช้ท�า กระดาษไดด้ ้วย ผักเลือด สว่ นทป่ี รากฏในพระไตรปฎิ ก ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย แต่ปรากฏในเอกสารของอินเดีย A Critical Apprraisal of AYURVADIC MATERIAL in BUDDHIST LITERATURE with Special Reference to Tripitaka (การประเมนิ สมุนไพรของอายรุ เวทในพระไตรปฎิ ก 1985 หรอื 2528 โดย Dr. Jyotir Mitra) ช่อื สามญั ภาษาไทย ผักเลอื ด ชอื่ สามัญภาษาองั กฤษ Spotted fig, White fig ช่อื พนื้ เมอื ง กรา่ ง (ประจวบครี ขี นั ธ)์ ผกั เลอื ด เลยี บ (ภาคกลาง) ผกั ฮ ี ผกั เฮอื ก (ภาคเหนอื ) ไฮ (เพชรบรุ )ี ชื่อบาล-ี สันสกฤต (ยังไมท่ ราบ) ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Ficusvirens Aiton ชื่อวงศ์ Moraceae ถ่นิ ก�าเนดิ มีการกระจายพันธุ์ในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงมาเลเซียและตอนเหนือของ ออสเตรเลีย นเิ วศวิทยา ชอบขน้ึ ในป่าผสมผลดั ใบ ปา่ โปร่ง และตามเชงิ เขาในสภาพพ้นื ที่ คอ่ นขา้ งแหง้ แล้ง การขยายพนั ธุ์ การปกั ช�ากง่ิ ตดั กงิ่ ใหเ้ ป็นทอ่ นนา� ไปปลูกลงดิน หรือช�าใหเ้ กิดรากก่อนแล้ว จึงยา้ ยปลูก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางและเป็นไม้ผลัดใบ ล�าต้นสูง 8-15 เมตร ใบเดี่ยวออกแบบสลับสีเขียว รูปรีหรือ รูปไข่ปนขอบขนาน ปลายใบมนทู่ ขอบใบเรียบ ผวิ ใบมนั มหี ใู บขนาดเล็ก ใบอ่อนสีชมพหู รือชมพูอมเขยี ว ใบอ่อนแล ดใู สแวววาวไปทง้ั ตน้ และมปี ลอกหมุ้ ใบในระยะเรมิ่ แรก พอเจรญิ เตม็ ทใี่ บออ่ นกลายเปน็ ใบแกเ่ ปน็ ชอ่ ออกจากซอกใบผล ออ่ นสีเขยี วและเปล่ยี นเป็นสีชมพแู ดงม่วงหรือด�าเมื่อแก่เตม็ ท่ี การใช้ประโยชน์ ประโยชน์ทางสมุนไพร เปลอื กตน้ ใชต้ ้มด่มื แก้ปวดท้องทอ้ งร่วง ผักเลือดมยี างเหนียวชาวบ้านใช้ยาง เพื่อดกั นกหรอื แมลง ประโยชนด์ า้ นอาหาร ยอดผกั เลือด มรี สเปร้ยี ว มนั ยอดอ่อน กินสดกับพรกิ หรือลวกกอ่ นหรือน�าไปแกง กับกระดูกหม ู หรอื ยา� ได้ วิธีการปรุง ลวกหรอื น่ึงยอดผักเลอื ดใหส้ ุกน�ามาห่ันตามขวางช้นิ เล็ก ๆ ผสมเคร่อื งปรุงน�้าพริก

สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก 89 พรกิ เกลอื หอม กระเทียม กะป ิ โขลกเคร่ืองปรุงน�้าพริกให้เข้ากนั นา� ไปผดั กับน้า� มนั ใหห้ อม บางคนนยิ มใสแ่ คบหมู แล้วนา� ยอดผกั เลือดทีเ่ ตรยี มไวแ้ ลว้ ลงคลุกผัดให้เขา้ กัน ปรุงรสตามใจชอบ มะเด่ือ ส่วนท่ีปรากฏในพระไตรปฎิ ก ....ความเป็นพระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นผู้น�าสัตว์โลกนี้หาได้ยากเหมือนหาดอกมะเดื่อท่ีดี เหมือนหากระต่ายใน ดวงจันทร์หรอื เหมือนหาน�้ามนั กา 1 (เล่มท่ี 33 หน้า 137) ....พระสมุททาเถรีและพระอุตตราเถรีเป็นพระอัครสาวิกาต้นไม้เป็นท่ีตรัสรู้ของพระผู้มีพระภาคพระองค์น้ัน ชาวโลกเรยี กวา่ ต้นมะเดื่อ (เลม่ ที่ 33 หนา้ 710) ชื่อสามญั ภาษาไทย มะเดอ่ื อุทมุ พร ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Cluster fig, Goolar (Gular), Fig ชื่อพนื้ เมอื ง เดอ่ื เกลย้ี ง (ภาคเหนอื ) มะเดื่อน้า� มะเดอ่ื หอม หมากเดือ่ เด่ือเลยี้ ง (ภาคอีสาน) มะเด่อื มะเดอ่ื เกล้ยี ง มะเดือ่ ชมุ พร เดื่อน�้า กูแซ (ภาคใต้) มะเดอ่ื ดงมะเดื่อไทยมะเดื่ออทุ มุ พร ชอ่ื บาลี-สนั สกฤต ต้นอุทุมพร หรือ ตน้ อุทมุ พระ ช่ือวิทยาศาสตร์ Ficus racemosa L. ชื่อวงศ์ Moraceae ถ่ินกา� เนิด มถี น่ิ กา� เนดิ ครอบคลมุ ในเขตรอ้ นของทวปี เอเชยี ไลต่ งั้ แตป่ ระเทศอนิ เดยี ไปจนถงึ ประเทศจนี นิเวศวิทยา ชอบขน้ึ ในทีป่ า่ ร้อน ชุม่ ช้ืน มฝี นตกตลอดปี ตามป่าเบญจพรรณหรือป่าดงดิบชน้ื เกดิ ขึ้นเอง ตามธรรมชาติ การขยายพันธ์ุ โดยเมล็ด และปกั ช�าก่งิ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ทรงพมุ่ กว้าง ใบหนาทึบ ล�าต้นสูงประมาณ 5-20 เมตร ล�าต้นเกลี้ยง เปลอื กต้น เป็นสีน้า� ตาลหรือนา้� ตาลปนเทา กิ่งอ่อนเป็นสเี ขยี ว ส่วนก่ิงแก่เปน็ สนี า้� ตาลเกลยี้ ง สว่ นใบจะเป็นใบเดย่ี วออกเรยี งสลับ ตามกง่ิ ใบเป็นรูปทรงร ี หรอื รูปหอก โคนใบมนหรือกลม ปลายใบแหลม ผวิ ใบเกลีย้ งหรือมีขนไมห่ ลุดร่วงง่าย ขอบใบ เรียบ มีเส้นแขนงในใบประมาณ 6-8 คู่ ดอกเป็นช่อยาวตามกิ่ง โดยแต่ละช่อก็จะมีดอกย่อยขนาดเล็กเป็นกลุ่ม ดอกชอ่ จะเกิดภายในฐานรองดอกท่ีมีรูปร่างคลา้ ยผล และดอกมสี ีขาวอมชมพู ลักษณะของลกู มะเด่อื ชุมพร มีลักษณะ ทรงกลมแป้นหรือรูปไข่ ผลจะเกาะกลุ่มอยู่ตามต้นและตามก่ิง ห้อยเป็นระย้าสวยงาม โดยผลอ่อนจะเป็นสีเขียว เมอื่ สุกแลว้ จะเป็นสีแดงม่วง มีรสฝาดอมหวาน สามารถรบั ประทานได ้ ซ่งึ ดอกและผลน้ีจะออกตลอดปี การใชป้ ระโยชน์ ภูมิปัญญาด้านสุขภาพ ใช้รากแก้ไข้พิษ ไข้กาฬ (ไข้ที่มีตุ่มท่ีอวัยวะภายในหรือที่ผิวหนัง ซึ่งตุ่มอาจมีสีด�า) แก้ร้อนใน เปลือกต้น มีรสฝาด แก้อาการท้องเสียท่ีไม่ใช่บิดหรืออหิวาตกโรค แก้อาเจียน ห้ามเลือด ช�าระแผล เปน็ เครอื่ งยาชนดิ หนงึ่ ในต�ารับยาแกไ้ ขห้ า้ รากหรือเบญจโลกวิเชียร ตา� รายาอนิ เดียใช้เปลือกต้นลดนา�้ ตาลในเลอื ดซึง่ มี

90 สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก การวิจัยรองรบั รวมทงั้ ลดอาการปวด ต้านการอักเสบ ลดไขมนั ในเลือดและขบั ปสั สาวะ ในการทดลองความ เป็นพษิ พบวา่ หากใชใ้ นขนาดสงู จะเกดิ ความผดิ ปกตขิ องตบั และไต มะเดอ่ื อทุ มุ พรสามารถปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั กลางแจง้ ไดส้ วยงาม โพ สว่ นทป่ี รากฏในพระไตรปฎิ ก ....ยักษ์จ�านวนเท่าที่มีทั้งหมด มาประชุมที่ต้นโพธ์ิประนมมือไหว้แวดล้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า [598] เทวดาทั้งหมดนั้นมีใจยินดีเท่ียวไปในอากาศป่าวประกาศว่า พระพุทธเจ้าพระองค์นี้ทรงบรรเทาความมืดมนอนธการ บรรลุ (อนตุ ตรสัมมาสมั โพธญิ าณ) (เลม่ ท่ ี 32 หนา้ 91) ชื่อสามัญภาษาไทย โพ ชื่อสามญั ภาษาอังกฤษ Sacred tree, Sacred fig, Sacred fig Tree, The peepal tree, Peepul tree, Peepul of India, Pipal tree, Pipal of India, Bo tree, Bodhi Tree ชอ่ื พ้ืนเมือง สลี (ภาคเหนอื ) สี สะหลี (ภาคอสี าน) โพ โพธ ิ โพศรีมหาโพ (ภาคกลาง) ย่อง (แม่ฮ่องสอน) ปู (เขมร) โพธใิ บ ช่ือบาล-ี สนั สกฤต ต้นอสั สัตถะ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ficus religiosa L. ชือ่ วงศ์ Moraceae ถ่ินกา� เนดิ มีถนิ่ ก�าเนดิ ในประเทศอนิ เดีย นเิ วศวิทยา เจรญิ เตบิ โตไดใ้ นดินทกุ ชนดิ ต้องการน้า� ปานกลาง พบข้นึ ท่วั ไปทัง้ ในทวปี เอเชีย ปากสี ถาน จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบในธรรมชาติน้อยมาก เข้าใจว่ากระจายพันธุ์ มาจากตน้ ทม่ี กี ารนา� มาปลกู เอง และพบขน้ึ มากตามซากอาคาร และนยิ มปลกู กนั ทว่ั ไปในวดั ทกุ ภาคของประเทศไทย การขยายพันธ ์ุ การเพาะเมล็ด ใช้ก่ิงช�า หรือใช้กระโดงจากราก แต่ส่วนมากแล้วจะเจริญเติบโตจากสัตว์ นา� พา เชน่ นกมากินเมลด็ และไปถ่ายทงิ้ ไว้ ก็จะเกดิ เปน็ ต้นใหมข่ ึน้ มา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมย้ ืนตน้ ขนาดใหญผ่ ลัดใบ แตกกง่ิ ก้านสาขาออกเปน็ พ่มุ ตรงส่วนยอดของลา� ต้น ปลายก่งิ ลูล่ ง กงิ่ อ่อน เกลยี้ ง ตามก่ิงมรี ากอากาศหอ้ ยลงมาบา้ ง ล�าต้นมีความสงู ประมาณ 20-30 เมตร มนี �้ายางสีขาว เปลือกต้นเรียบเป็น สนี า�้ ตาลปนเทา โคนตน้ เปน็ พพู อนขนาดใหญ ่ โดยจดั เปน็ พรรณไมท้ มี่ รี ปู ทรงของลา� ตน้ สวยงามชนดิ หนงึ่ ใบเปน็ ใบเดย่ี ว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปใจ ปลายใบแหลมและมีติ่งหรือหางยาว (ปลายต่ิงบางใบมีความยาวมากกว่า ครึ่งหน่ึงของใบ) โคนใบมนเว้าเข้าหาก้านใบเป็นรูปหัวใจผิวใบเกล้ียงเป็นมัน เน้ือใบค่อนข้างเหนียว ใบมีลักษณะ ห้อยลง แผ่นใบเป็นสีเขียวนวล ๆ ส่วนยอดอ่อนหรือใบอ่อนนั้นเป็นสีน�้าตาลแดง ก่อนใบจะร่วงหล่นจะเปล่ียนเป็น สีเหลืองก้านใบยาวและอ่อนหลุดร่วงได้ง่าย ดอกเป็นช่อกลม ๆ รวมกันเป็นกระจุก ภายในฐานรองดอกรูปคล้ายผล โดยจะออกท่ีตอนปลายของก่งิ ดอกย่อยเปน็ แบบแยกเพศ ไม่มีก้าน มีใบประดบั เล็กท่ีโคน ฐานดอกเปน็ รูปทรงกลม ดอกย่อยมีขนาดเล็กและมีจ�านวนมาก ดอกเป็นสีเหลืองนวล และจะเจริญไปเป็นผลผลเป็นผลรวม ลักษณะของผล เป็นรูปทรงกลมขนาดเล็กผลออ่ นเป็นสีเขยี ว เมื่อสุกแลว้ จะเปลย่ี นเป็นสชี มพมู ว่ ง สแี ดงคลา�้ หรอื มว่ งด�า

สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก 91 การใชป้ ระโยชน์ ใบออ่ นใช้รับประทานเปน็ อาหาร ใชเ้ ล้ยี งหนอนไหม นอกจากนใ้ี บโพธิ์ยงั มคี ณุ คา่ ทางโภชนาการซ่งึ สามารถ น�ามาใช้ในสูตรอาหารในการท�าปศุสัตว์ได้ และยังพบด้วยว่าใบมีปริมาณของโปรตีนและธาตุหินปูนสูง ผลอ่อนใช้กิน เป็นอาหารปลูกเป็นไม้ประดับตามวัดวาอาราม และยังสามารถปลูกเล้ียงไว้เป็นไม้แคระแกร็นได้ หรือปลูกตามคบไม้ หรอื ปลกู เกาะหนิ สา� หรบั ชาวพทุ ธหรอื ฮนิ ด ู จะถอื กนั วา่ ตน้ โพธเิ์ ปน็ ตน้ ไมท้ ศี่ กั ดสิ์ ทิ ธ ์ิ เพราะมคี วามเกย่ี วขอ้ งทางศาสนา ฉะน้ันจึงไม่มีใครน�ามาปลูกไว้ตามบ้านเรือน อีกท้ังรากของต้นโพธิ์อาจท�าให้บ้านหรือตัวอาคารเกิดความเสียหายได้ (แตบ่ างความเชอื่ ก็ระบุว่า หากปลกู ตน้ โพธ์ไิ วเ้ ปน็ ไม้ประจา� บ้าน เช่ือว่าจะท�าให้เกิดความร่มเยน็ ) ปัจจุบนั ตน้ โพธิท์ ่สี า� คัญท่สี ดุ จะอยู่ทีพ่ ทุ ธคยา ประเทศอนิ เดีย แตจ่ ะไม่ใช่ต้นเดิมเม่อื คร้งั พทุ ธกาล เปน็ ตน้ ท่ี แตกหนอ่ มาจากตน้ เดิม เน่ืองจากต้นโพธ์ทิ พี่ ระพุทธองค์เคยประทบั ถกู โคน่ ทา� ลายไปแลว้ แตด่ ้วยบญุ ญาภินหิ ารเม่อื ได้ น�าน้า� นมโคไปรดทร่ี าก จงึ เกดิ มแี ขนงแตกข้นึ มาใหม่ และได้มีชวี ติ อยูม่ าอกี ไม่นานกต็ ายไปอกี แล้วกลบั แตกหน่อขึ้นมา ใหมอ่ กี คร้งั หนึ่ง ซึง่ ตน้ ทีเ่ หลืออยู่ในปัจจบุ นั นับเปน็ ต้นท่ี 4 แลว้ เลยี บ ส่วนทป่ี รากฏในพระไตรปิฎก ….พระนันทาเถรแี ละพระสุนันทาเถรีเปน็ พระอคั รสาวิกา ตน้ ไม้เป็นที่ตรัสรู้ของพระผมู้ พี ระภาคพระองค์นัน้ ชาวโลกเรียกวา่ ตน้ เลียบ (เลม่ ที่ 33 หนา้ 595) ช่ือสามญั ภาษาไทย เลยี บ ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ Sea Fig, Deciduous Fig ชอ่ื พน้ื เมอื ง เลยี บ ไกร (กรุงเทพฯ) ฮ่าง (ลา� ปาง)โพไทร (นครราชสมี า)ไทรเลยี บ (ประจวบครี ขี ันธ)์ ช่ือบาล-ี สนั สกฤต “ต้นปิปผล”ิ หรอื “ตน้ ปิลกโฺ ข” ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Ficus superba (Miq.) Miq ชื่อวงศ์ Moraceae ถน่ิ กา� เนิด มีถ่ินก�าเนิดในจีน ญ่ีปุ่น และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเขตการกระจายพันธุ์ในภูมิภาค อนิ โดจนี และภมู ภิ าคมาเลเซยี สว่ นในประเทศไทยพบกระจายพนั ธอ์ุ ยทู่ ว่ั ทกุ ภาคของประเทศ นิเวศวิทยา ข้ึนอย่บู นพน้ื ที่ตั้งแตร่ ะดับนา้� ทะเลจนถงึ ที่ความสงู ประมาณ 150 เมตร การขยายพนั ธุ์ การเพาะเมล็ดและวิธีการตอนกิ่ง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ ไมย้ ืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มคี วามสูงได้ประมาณ 8-10 เมตร ทรงพุม่ เปน็ รปู ไข่ มียาง สีขาว เปลือกต้นค่อนข้างเรียบเป็นสีเทา ทุก ๆ ส่วนเกลี้ยงยกเว้นหูใบ มีรากอากาศรัดพันเล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ปลายใบแหลมเป็นติ่งหรือเรียวแหลม โคนใบแหลม ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคล่ืนแผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มและเป็นมัน เส้นแขนงใบมี ข้างละ 6-8 เสน้ ปลายโค้งจรดกันกอ่ นถงึ ขอบใบ กา้ นใบเล็กใบออ่ นเปน็ สแี ดง หใู บมี 2 อนั ประกบกันหมุ้ ยอดออ่ น ลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายแหลมมีขนส้ัน ๆ สีเหลืองอ่อน ร่วงได้ง่าย ออกเป็นคู่ตรงง่ามใบ หรือที่ต�าแหน่งง่ามใบซึ่ง ใบร่วงไปแล้ว เม่ือยังอ่อนจะมีขนอ่อน ๆ ส้ัน ๆ เมื่อแก่แล้วจะเกลี้ยง มีใบประดับซึ่งร่วงง่าย 3 ใบดอกเป็นสีเขียว

92 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก อมเหลอื ง ออกเป็นช่อรูปรา่ งคล้ายผล คอื มีแกนกลาง ช่อดอกเจรญิ แผข่ ยายใหญ่เป็นกระเปาะ มรี เู ปดิ ท่ีปลายโอบ ดอกไว ้ ดอกนั้นมีขนาดเลก็ เปน็ แบบแยกเพศในกระเปาะ โดยดอกเพศผู้จะมีจา� นวนนอ้ ยมาก อยู่ใกล ้ ๆ กบั รูเปดิ ของ ชอ่ ดอก ก้านดอกมขี นาดเลก็ กลีบรวมมี 3 กลีบ ลักษณะเป็นรูปไข ่ สัน้ กวา่ เกสรเพศผ ู้ ก้านเกสรเพศผหู้ นา ส่วนดอก เพศเมียจะมอี ย่จู า� นวนมาก มกี ลีบรวมสั้น ๆ อย่ ู 3 กลบี ลกั ษณะเปน็ รูปไขก่ ลบั เกสรเพศเมยี ยาว จะอยทู่ างด้านข้าง ของรงั ไข ่ ดอกจะออกในช่วงประมาณเดอื นมกราคมถึงเดือนเมษายน ผลเป็นผลสดแบบมะเดือ่ สขี าวอมชมพู ลักษณะ ของผลเป็นรูปกลมแกมรปู ไข่กลับ กลมแปน้ หรือเป็นรปู หัวใจกลับ ออกเป็นคู่ที่กง่ิ เหนือรอยแผลของใบผลเปน็ สีเขยี ว มีจุดสีครีมกระจายอยู่ทั่วผล เม่ือผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีน้�าตาลอมชมพูมีจุดสีน้�าตาล ที่ปลายมีวงแหวน นูนมีรอยบุ๋ม ภายในมีเมลด็ ทรงกลมสดี �าอยเู่ ป็นจา� นวนมาก ออกผลในชว่ งประมาณเดอื นมกราคมถงึ เดอื นเมษายน การใชป้ ระโยชน์ สรรพคุณทางยา ใบใช้เป็นยาแก้ผดผ่ืนคัน มีการน�ามาเข้ายาทาฝี แก้ริดสีดวง แก้เม่ือยขบ รากใช้ต้มกับ น�า้ ด่มื เป็นยาแก้โรคทางปัสสาวะ แกข้ ัดเบา แก้ตับพิการ และเป็นยาระบาย เปลือกตน้ ใช้เปน็ ยาแก้ปวดทอ้ ง ท้องร่วง ประโยชนด์ า้ นอาหารผลสกุ กนิ ได้ และเปน็ อาหารของนกและสัตวต์ า่ ง ๆ ใบอ่อนสามารถน�ามากินเปน็ ผกั ได้เชน่ กนั และ ปลูกเป็นไม้แคระประดับไดด้ ้วย ปรู๋ ส่วนทป่ี รากฏในพระไตรปิฎก …. ต้นจา� ปา ต้นช้างนา้ ว ตน้ กระทุ่ม ตน้ กากะทิง ต้นบุนนาค และต้นการะเกด มดี อกบานสะพร่ัง สง่ กลิ่น หอมอบอวลคล้ายกลิ่นทิพย์อยูร่ อบ ๆ อาศรมของขา้ พเจ้าต้นลา� ดวน ต้นอโศก ต้นกุหลาบ มีดอกบานสะพรงั่ ตน้ ปรู และต้นมะกล่า� หลวงกม็ ีดอกบานสะพร่ังอยรู่ อบ ๆ อาศรมของขา้ พเจ้า (เล่มท่ี 32 หนา้ 27) ช่ือสามัญภาษาไทย ปรู๋ ชือ่ สามัญภาษาอังกฤษ Hill sack tree, Sage-leaved alangium, Stone mango ชอ่ื พนื้ เมอื ง มะตาปู๋ (เชียงใหม่) มะเกลือกา (ปราจีนบุรี) ปู๋ ปรู๋ (ภาคเหนือ) ผู ปู๋ (ภาคอีสานอ) ผลู ปล ู (ภาคกลาง) ชื่อบาลี-สนั สกฤต Ankota (สันสกฤติ) ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Alangium salviifolium (L.f.) Wangerin subsp. hexapetalum (Lam.) Wangerin ชอ่ื วงศ์ Coraceae ถิ่นกา� เนิด มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบได้ตามป่า เบญจพรรณท่วั ไปทางภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคเหนือ ยกเว้นทางภาคใต้ ทีร่ ะดบั ความสูงต้ังแต ่ 200-500 เมตร นิเวศวิทยา เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วน ต้องการน�้าปานกลางถึงมาก และชอบแสงแดดตลอดท้ังวัน มักพบขนึ้ ได้ตามบริเวณป่าโปร่งของประเทศที่มอี ากาศร้อน การขยายพันธ์ุ การเพาะเมล็ด

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 93 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มขนาดกลางหรือเปน็ ไม้ยืนตน้ ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ลักษณะเรอื นยอดโปร่ง ค่อนขา้ งกวา้ ง มรี ูปรา่ ง ไม่แน่นอน มีความสูงของต้นประมาณ 8-10 เมตร ลักษณะของต้นและกิ่งก้านเกล้ียง หรืออาจมีขนเล็กน้อยตาม กิ่งอ่อน ล�าต้นมักบิดและคดงอ ส่วนโคนตน้ มกั เป็นพูต�า่ ๆ เปลือกต้นดา้ นนอกเปน็ สีนา�้ ตาลแดง แตกลอ่ นเปน็ สะเกด็ ส่วนเปลือกด้านในและกระพ้ีเป็นสีเหลืองอ่อน และแก่นกลางเป็นสีน้�าตาลเขียว จะผลัดใบหมดก่อนผลิดอก ใบเป็น ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปรี รูปขอบขนาน หรือเป็นรูปหอกกลับ ปลายใบแหลมหรือมีติ่งแหลม ออกมา โคนใบแคบแหลมหรือสอบเรยี ว สว่ นขอบใบเรียบไม่มีหยักหรอื เป็นคล่นื ใตท้ อ้ งใบจะมีเสน้ ใบประมาณ 3-6 คู่ มองเห็นได้ชัดเจน เส้นใบย่อยเป็นแบบเส้นข้ันบันได เนื้อใบบางเกล้ียงหรือเกือบเกลี้ยง ใบอ่อนจะมีขนและเป็น สีเขียวอ่อนใส ส่วนใบแก่จะเป็นสีเขียวเข้ม ดอกเป็นช่อรวมกันเป็นกระจุกตามซอกใบหรือตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกเป็นสีขาวนวลหรือเป็นสีเหลืองอ่อน และมีกล่ินหอม ดอกมีขนข้ึนอยู่ประปราย กลีบดอกมีประมาณ 5-7 กลีบ ดอกตูมขอบกลีบดอกจะประสานกนั เปน็ รปู ทรงกระบอกยาว สว่ นกลีบรองกลีบดอกเปน็ รปู ขอบขนานแคบ ๆ ดา้ นนอก มีขนสีน้า� ตาล และแยกแผ่ออกเป็นรปู กังหนั ในระดบั เดียวกนั ประมาณ 5-6 แฉ กส่วนโคนจะเช่ือมตดิ กนั ลกั ษณะเป็น ท่อรูปกรวย โดยกลีบดอกและกลีบรองกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายกัน แต่กลีบดอกจะม้วนตัวโค้งกลับมาทางโคน ก้านดอกออกดอกเต็มต้นหลังการผลัดใบหมด โดยจะออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคมผลเป็นกระจุก ลกั ษณะของผลเปน็ รปู ทรงกลมหรือเป็นรูปร ี ปลายผลมกี ลบี รองกลีบดอกตดิ อย ู่ ส่วนกลางผลมีสนั แขง็ ตลอดความยาว ของผล ผลอ่อนเปน็ สีเขียว เมือ่ แกแ่ ลว้ จะเปล่ียนเปน็ สีดา� ผลจะไม่แตก แต่จะเปน็ ร่องตามยาวหลายร่อง (สนั ) ภายใน ผลมีเมล็ดเด่ยี วและมเี นือ้ เยอื่ สีแดง ๆ บาง ๆ หุ้มเมล็ดแข็ง ผลมรี สหวานอมเปร้ยี ว มีกลนิ่ หอม แตบ่ างคนบอกวา่ มกี ลิ่น เหมน็ คาว ใช้รบั ประทานได ้ โดยจะเป็นผลในช่วงเดอื นมนี าคมถึงเดือนเมษายน การใชป้ ระโยชน์ ผลมีรสหวานอมเปร้ียว มีกล่ินหอม กินเป็นอาหารได ้ เน้อื ไมม้ ีความเหนียวและมีลายสวยงาม จงึ นิยมน�ามา ใช้ท�าพานท้ายปืน ดา้ มเครอื่ งมือทางการเกษตร เคร่อื งกลึง เครอ่ื งประกอบเกวยี น งานแกะสลัก รวมไปถงึ เครือ่ งเรอื น ตา่ ง ๆ มะตมู ส่วนที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ....ต้นสมอ ต้นมะขามปอ้ ม ตน้ มะม่วง ต้นหว้า ต้นสมอพิเภก ต้นกระเบา ต้นรกฟา้ ตน้ มะตมู ก็ผลผิ ลอยู่ ใกล้ ๆ อาศรมของข้าพเจา้ (เล่มท่ี 33 หน้า 7) ....ประวัตใิ นอดตี ชาติของพระเวลุวผลิยเถระ (พระเวลุวผลิยเถระ เม่ือจะประกาศประวัตใิ นอดีตชาตขิ องตน จึงกล่าวว่า) ใกล้ฝั่งแม่น�้าจันทภาคาข้าพเจ้าได้สร้างอาศรมไว้อย่างดีมีต้นมะตูมอยู่เรียงรายเป็นที่รวมหมู่ไม้นานาพันธุ์ ขา้ พเจา้ เหน็ ผลมะตมู มกี ลน่ิ หอมแลว้ ระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ ผปู้ ระเสรฐิ ทส่ี ดุ ทง้ั ยนิ ดแี ละตนื่ เตน้ ไดเ้ กบ็ ผลมะตมู ใสห่ าบจน เต็มเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าพระนามว่ากกุสันธะมีจิตเล่ือมใสได้ถวายผลมะตูมสุกแด่พระองค์ผู้เป็นเนื้อนาบุญ ผู้ทรงเป็น นักปราชญ์ ข้าพเจ้าได้ถวายผลมะตูมไว้ในตอนต้นแห่งภัทรกัปนี้ จึงไม่รู้จักทุคติเลยนี้เป็นผลแห่งการถวายผลมะตูม (เล่มที่ 33 หนา้ 77-78)