หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน วแลระวรรณรณกครรดมี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผูเ้ รยี บเรยี ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์นฤภร รุจเิ รข ผู้ตรวจ รองศาสตราจารย์ หมอ่ มหลวงอัจจิมา เกิดผล ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภวรรณ์ เล็กวไิ ล อาจารย์สายณั ห์ พละสูรย์ บรรณาธกิ าร ดร.กรา่ ง ไพรวรรณ
สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถม- ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ ศึกษาปีที่ ๕ เป็นหนังสือเรียนที่สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จัดทำาขึ้นตาม โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อตั โนมัติ ๑๕ ส�ย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕ หลักการ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แฟกซ์ : ทกุ หม�ยเลข, แฟกซ์อตั โนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖ ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สงวนลิขสิทธ์ิ ส�ำ นกั พิมพ์ บริษัทพฒั น�คณุ ภ�พวชิ �ก�ร (พว.) จ�ำ กัด หนงั สอื เรยี นเลม่ นีม้ ุง่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดศ้ กึ ษาวรรณคดตี ามทีก่ ำาหนดไวใ้ นประกาศ พ.ศ. ๒๕๕๙ ของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง วรรณคดีสำาหรับจัดการเรียนการสอนภาษาไทย และมี website : วรรณกรรมที่น่าสนใจเหมาะสมกับวัย ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ความงามของภาษา ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ซึ่งเป็น www.iadth.com วัฒนธรรมทางภาษาที่สะท้อนความเป็นไทย รวมทั้งสอดแทรกข้อคิดอันเป็นประโยชน ์ ในการดำาเนินชีวิต แต่ละหน่วยการเรียนรู้จะมีกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพื่อฝึกทักษะ กระตุ้นความคิด เสริมสร้างประสบการณ์ หนังสือเรียน วรรณคดีและวรรณกรรม เล่มนี้ จัดทำาขึ้นพร้อมกับหนังสือเรียน หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ซึ่งรวมเนื้อหาของสาระที่ ๑ การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด และสาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ไว้ด้วยกันอย่างสมบูรณ์ ครบตัวชี้วัดของหลักสูตร และหนังสือเรียน ๒ เล่มนี้ จะใช้ ควบคู่กับ แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ที่มีกิจกรรม หลากหลาย กระตุ้นความสนใจ เชื่อมโยงการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เพื่อพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนและ แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์ทั้งครูผู้สอน และผู้เรียน ได้เพิ่มพูนประสบการณ์การเรียนรู้ตรงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร รวมทั้งเกิดเจตคติ ที่ดีต่อการเรียนภาษาไทย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำาชาติ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
หน้า วรรณคด.ี ..ส่งิ สุนทรียแ์ หง่ ภาษา ๕ วรรณคดี...สิ่งสุนทรีย์แห่งภาษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ ๙ ตวั ชว้ี ัด สาระสาำ คญั หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ร�ช�ธิร�ช ตอน กำ�เนิดมะกะโท ๒๔ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม วรรณคดมี คี ณุ ค่าท้งั ดา้ นวรรณศิลป ์ คุณค่า (ท ๕.๑ ป. ๕/๓) ด้านปัญญา คุณคา่ ด้านอารมณ ์ และคุณค่า หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ กระเช้�สีด� ๔๔ ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม การศกึ ษาและเขา้ ใจ แผนผังสาระการเรยี นรู้ คณุ คา่ ของวรรณคดี จะทาำ ใหไ้ ดร้ บั ความรแู้ ละ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ บทประพันธ์ร้อยกรองสุภ�ษิต ๕๖ คณุ คา่ ด้านวรรณศิลป์ ข้อคิดจากวรรณคดี รวมท้ังความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ จากการอ่าน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ โคลงโลกนิติ ๖๗ คุณค่าดา้ นปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ นิท�นคติธรรม เรื่อง พญ�ช้�งผู้เสียสละ ๘๔ คณุ คา่ ของวรรณคดี หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เพลงช�ติไทย ๙๖ คุณคา่ ดา้ นสงั คม คุณคา่ ด้านอารมณ์ และวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ บทอ�ขย�น ๑๐๕ จุดประกายผลงาน ๑๑๑ บรรณานุกรม ๑๑๒
คุณค่าของวรรณคดี ๒. คุณค่าด้านปัญญา ผู้อ่านจะได้รับความรู้ความคิดเพิ่มขึ้น ทำ�ให้มีปัญญา แตกฉานทั้งด้านวิทยาการ ความรู้รอบตัว ความรู้เท่าทันคน ความเมตตา วรรณคดี ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เห็นอกเห็นใจต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เช่น ราชาธิราช ตอน กำ�เนิดมะกะโท นอกจาก หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี มีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ คือ มีศิลปะ จะให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินจากเนื้อเรื่องแล้ว ยังให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องราว ทางภาษา ใช้ถ้อยคำ�อย่างประณีตงดงาม มีความรู้และข้อคิดที่แฝงไว้อย่างหลักแหลม ในประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตของคนไทยในอดีต รวมทั้งข้อคิดต่าง ๆ ที่สามารถน�ำ ไปใช้ อันเป็นเครื่องประเทืองปัญญาแก่ผู้อ่าน วรรณคดีมีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง ในชีวิตจริงได้ ซึ่งบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ๓. คุณค่าด้านอารมณ์ วรรณคดีเป็นเครื่องจรรโลงใจ และสะเทือนอารมณ์ การอ่านวรรณคดีอย่างพินิจพิเคราะห์จะทำ�ให้ประจักษ์ในคุณค่า ประเทืองปัญญา การรอ้ งไหก้ บั ตวั เอกของเรือ่ งหรอื หวั เราะกบั ค�ำ พดู ของตวั ละคร ลว้ นเปน็ ผลทางจติ ใจ ได้รับประโยชน์หลายประการ รวมทั้งความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการอ่าน ซึ่งอารมณ์เหล่านั้น คือ ความสุขและความบันเทิงใจของผู้อ่านวรรณคดี ยิ่งขึ้น คุณค่าที่สำ�คัญของวรรณคดี มีดังนี้ ตัวอย่าง การถ่ายทอดอารมณ์เศร้าเสียใจของตัวละคร ๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความพิถีพิถันในการเลือกสรรคำ�อย่างประณีต ทำ�ให้เกิดความงาม ความไพเราะในการใช้ภาษา ผู้อ่านสามารถรับรสไพเราะของเสียง สวมสอดกอดบาทพระมารดา ซบเกศาพลางทางร้องไห้ ซาบซึ้งในความหมาย สัมผัสอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ที่ผู้แต่งถ่ายทอด แม่ต่อยสังข์แตกแหลกไป ร่ำ�ไรเสียดายไม่วายคิด ออกมาเป็นบทประพันธ์ได้ เหมือนแม่ฆ่าลูกให้ม้วยมรณ์ มารดรไม่รักแต่สักนิด พระแม่ต่อยสังข์ดั่งชีวิต จะชมชิดลูกนี้สักกี่วัน ตัวอย่าง การเลือกสรรคำ�อย่างประณีต บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เหมหงส์เลี้ยงชีพด้วย สาคร ๔. คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม วรรณคดีทำ�หน้าที่สืบต่อวัฒนธรรม ช้างพึ่งพนาดร ป่าไม้ ของชาติจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ผู้แต่งมักจะแทรกความรู้ ข้อคิดเห็น ภุมราบุษบากร ครองร่าง ตนนา ในด้านวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม คติชีวิต คำ�สั่งสอน คุณธรรมและจริยธรรม นักปราชญ์เลี้ยงตัวได้ เพื่อด้วยปัญญา การใช้ถ้อยคำ�ภาษา สภาพความเป็นอยู่ของคนในสังคม ประวัติศาสตร์ การเมือง แม้กระทั่งอาหารการกิน ผสมผสานไปกับการดำ�เนินเรื่อง ทำ�ให้คนรุ่นหลังมีความรู้ โคลงโลกนิติ เกี่ยวกับสังคมในอดีต จึงเข้าใจวิถีชีวิตไทยมากยิ่งขึ้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร 6 วรรณคดีและวรรณกรรม ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ วรรณคดี...สงิ่ สนุ ทรยี แ์ ห่งภาษา 7
ตัวอย่าง การสะท้อนค่านิยมที่ดีงามในการอบรมลูก ๑หนว่ ยการเรียนรู้ที่ บทละครนอก เรื่อง สังขท์ อง ตอน ก�ำ เนดิ พระสังข์ ...แม่สอนขันทองอยู่เสมอ ให้เป็นคนอารีต่อเพื่อน รู้จักเกรงใจผู้อื่น เช่น ไม่หยิบฉวยสิ่งของของคนอื่นก่อนที่เจ้าของอนุญาต ประพฤติตัวเป็น ตวั ชวี้ ดั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย คนสุภาพ อยากได้อะไรเมื่อเขาให้ก็ไม่โลภมาก ขันทองทำาตามแม่สอนจนชิน เป็นนิสัย เป็นที่รักสุดสวาสดิ์ของแม่ สาระสำาคญั กระเช้าสีดา : พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง บทละครนอก เรอ่ื ง สังขท์ อง นอกจากให้ (ท ๑.๑ ป. ๕/๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์แล้ว ยังให้คุณค่า วรรณคดีไทยเป็นภูมิปัญญาและมรดกอันล้ำ�ค่าทางวัฒนธรรม เป็นเครื่อง วเิ คราะห์และแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เรอ่ื งท่ีอา่ น ด้านสังคมและวัฒนธรรม ข้อคิด รวมทั้ง แสดงถึงความเจริญทางอารยธรรมมาแต่โบราณของชาติไทย เปรียบเสมือนกระจก เพ่อื นำาไปใช้ในการดำาเนนิ ชวี ิต (ท ๑.๑ ป. ๕/๕) ความสนกุ สนานเพลิดเพลินจากการอา่ น สะท้อนสังคม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมในแต่ละยุคสมัย แสดงถึงความงดงาม ทางภาษา ให้ข้อคิดที่สามารถนำามาใช้ได้จริงเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในสังคม อ่านหนังสือที่มคี ณุ ค่าตามความสนใจอยา่ งสมาำ่ เสมอ ปัจจุบัน ด้วยเหตุที่วรรณคดีเป็นที่รวบรวมสิ่งดีงามล้ำ�ค่ามากมาย การศึกษาวรรณคดี และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เรอื่ งทอี่ า่ น (ท ๑.๑ ป. ๕/๗) จึงก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้อ่าน และที่สำาคัญ คือ เป็นการอนุรักษ์มรดก สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมทีอ่ ่าน (ท ๕.๑ ป. ๕/๑) ของชาติให้คงอยู่สืบไป ระบคุ วามรู้และข้อคดิ จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรม ที่สามารถนาำ ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ (ท ๕.๑ ป. ๕/๒) 8 วรรณคดีและวรรณกรรม ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (ท ๕.๑ ป. ๕/๓) ท่องจาำ บทอาขยานตามท่ีกาำ หนดและบทร้อยกรอง ทีม่ ีคณุ คา่ ตามความสนใจ (ท ๕.๑ ป. ๕/๔) แผนผังสาระการเรียนรู้ ตวั ละครส�ำ คญั สถ�นท่ี ปญั ห� บทละครนอก เร่อื ง สังข์ทอง ตอน ก�ำ เนิดพระสงั ข์ ขอ้ คดิ เหตุก�รณ์
พระราชประวัติ เนื้อเรื่องย่อของบทละครนอกเรื่องสังข์ทอง ก่อนถึงตอนกำ�เนิดพระสังข์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ท้าวยศวิมลเป็นกษัตริย์ครองเมืองยศวิมล มีพระมเหสี ๒ พระองค์ คือ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรี นางจันท์เทวีและนางจันทาเทวี แต่ไม่มีพระโอรส พระองค์จึงบำ�เพ็ญศีลบนบาน เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า- เทพไทเพือ่ ขอพระโอรส หลงั จากนัน้ ไมน่ านทรงพระสบุ นิ วา่ พระองคฉ์ วยพระอาทติ ย์ จุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระอมรินทรามาตย์บรมราชินี ไว้ได้ในพระหัตถ์ขวา ส่วนพระหัตถ์ซ้ายคว้าได้ดาว โหรทำ�นายว่า พระมเหสี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ทัง้ สองพระองคจ์ ะทรงมคี รรภ์ นางจนั ทเ์ ทวพี ระมเหสฝี า่ ยขวาจะใหก้ �ำ เนดิ พระโอรส พระนามเดิมว่า ฉิม ผู้มีบุญญาธิการ ส่วนนางจันทาเทวีพระมเหสีฝ่ายซ้ายจะให้กำ�เนิดพระธิดา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้น นางจันท์เทวีประสูติพระโอรส แต่เป็นหอยสังข์เนื่องจากกรรมเก่า นางจันทาเทวี เถลิงถวัลยราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๓๕๒ ทรงทำ�นุบำ�รุง ทรงมีจิตริษยา จึงติดสินบนโหร ให้ทำ�นายว่าเป็นกาลกิณีต่อบ้านเมือง บ้านเมืองในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านศิลปะการช่าง และการละคร ท้าวยศวิมลทรงหลงเชื่อจึงขับไล่นางจันท์เทวีและหอยสังข์ออกจากเมือง ทรงปรับปรุงให้มีมาตรฐาน และเนื่องด้วยทรงเชี่ยวชาญในทางอักษรศาสตร์ จึงทรงสนับสนุนการกวีเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นกวีที่มีพระราชนิพนธ์หลายเรื่อง บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง เช่น เสภาเรื่องขุนช้าง-ขุนแผนบางตอน บทละครในเรื่องอิเหนา และรามเกียรติ์ บทละครนอกเรื่องไชยเชษฐ์ คาวี ไกรทอง สังข์ทอง และมณีพิชัย ตอน กำ�เนิดพระสังข์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ทรงได้รับยกย่องจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง ว่าพลางยกเอาลูกน้อย น้ำ�เนตรหยดย้อยดังฝอยฝน สหประชาชาติ หรือ UNESCO ว่าเป็นกวีสำ�คัญของโลกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ ร้องทูลพระองค์ทรงสกล น้องคนมีกรรมจะขอลา ดูรูปจำ�ร่างเสียยังแล้ว พระแก้วจะไม่ได้เห็นหน้า บทนำ�เรื่อง จะไม่คืนคงอย่าสงกา มิได้รองฝ่าพระบาทไป สิ่งใดเมียได้พลาดพลั้ง แต่หลังให้ขัดอัชฌาสัย บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง เดิมเป็นนิทานที่อยู่ในปัญญาสชาดก (ปัน-ยา-สะ- เมียขอสมาอาภัย อย่าได้เป็นเวราเลย ชา-ดก หรือ ปัน-ยาด-สะ-ชา-ดก) ซึ่งมีชาดกทั้งหมด ๕๐ เรื่องที่แต่งพรรณนาการเกิด ให้พ่ออยู่ยืนได้หมื่นปี โรคาอย่ามีพ่อคุณเอ๋ย เพื่อสร้างบารมีของพระโพธิสัตว์ก่อนที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า และนำ�มาแต่ง ไม่เยี่ยมม่านทองดูน้องเลย ทำ�เฉยเสียได้ไม่นำ�พา เปน็ บทละครเพือ่ ใชเ้ ลน่ ละครนอกตัง้ แตส่ มยั อยธุ ยา ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ- นิ่งได้ให้เขามาสั่งเสีย ตัดเมียเสียได้ไม่ดูหน้า เลศิ หลา้ นภาลยั ทรงพระราชนพิ นธบ์ ทละครเรือ่ งสงั ขท์ องขึน้ ใหมเ่ พือ่ ใชเ้ ลน่ ละครนอก ว่าแล้วนางแก้วบังคมลา สาวใช้ซ้ายขวาก็ตามไป ของหลวง บทละครนอก เรอื่ ง สังข์ทอง ตอน ก�ำ เนิดพระสงั ข์ 11 10 วรรณคดแี ละวรรณกรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
คอยอยู่เถิดเจ้านางสาวศรี บุญน้อยแล้วมิอยู่ด้วยได้ เป็นคนหรือจะได้มาเป็นเพื่อน มีเหมือนไม่มีโอรสา ข้าได้เรียกขานวานใช้ อภัยอย่าได้เป็นกรรมกัน ทั้งนี้เพราะอีจันทา กับอ้ายโหรามันรู้กัน ว่าพลางนางอุ้มลูกยา จันทาพยักหน้านางสาวสรรค์ ทั้งอีสาวศรีมันร่วมใจ มันเร่งรัดให้แม่ผายผัน เดินทรงโศกามาพลัน กำ�นัลจันทาก็พาไป ทั้งอ้ายเสนาจะฆ่าฟัน อัศจรรย์ใจแม่นี้แน่แล้ว บัดนั้น เสนีที่ร่วมอัชฌาสัย พระร่วมห้องของน้องยังอาลัย เหตุไรไม่เกรงทูลกระหม่อมแก้ว รับเอาโฉมงามทรามวัย สาวใช้ขึ้นไปยังในวัง พ่อหลงกลมนตร์มันแน่แล้ว เดินพลางนางแก้วก็โศกี กินเหล้าเมาโป้งโฉงเฉง ไม่เกรงไม่ขวยด้วยโอหัง เสียงเสือแรดช้างกวางทราย ใจหายอกสั่นขวัญหนี เชิญแม่มาไปให้พ้นวัง รับสั่งจะช้าอยู่ว่าไร เล็ดลอดกอดลูกเข้าโศกี เทวีอุ้มสังข์ดำ�เนินไป ทำ�ให้คนยากลำ�บากด้วย คราวรวยหาทักรู้จักไม่ เดินมา สุริยาร้อนแรงแสงใส ที่มีปัญญาก็ว่าไป นี่พูดอะไรไม่ต้องการ แลเห็นบ้านป่าพนาลัย โฉมยงดีใจเข้าไปพลัน ว่าพลางเชิญนางลงนาวา มิช้าบ่ายบากจากสถาน พบสองเฒ่าปลูกถั่วงา นางนั่งวันทาขมีขมัน ทางสิบห้าวันกันดาร พ้นบ้านไกลที่ไม่มีคน ฝ่ายว่าสองราดูหน้ากัน ยายถามตานั้นทันใด ครั้นถึงจึงส่งนางเทวี ดูน่าปรานีระเหระหน ตานี่ดีร้ายจะไม่ตรง มั่นคงกูคิดหาผิดไม่ เสนีที่ได้กินสินบน ขัดสนด้วยคนเขามากมาย นัดแนะกันมาหรือว่าไร ตาเอาใจออกนอกกัน จะฆ่าเทวีก็มิได้ มารยาว่าไปดังใจหมาย น้อยหรือนั่นรูปร่างอย่างกินนร ยายค้อนตาผัวจนตัวสั่น ไหนไหนไม่พ้นเป็นคนตาย จะลองดาบกรายเล่มนี้ดู ฝ่ายตาโกรธยายเอาไม้รัน มึงเห็นสำ�คัญด้วยอันใด เพื่อนกันช่วยฉุดยุดไว้ ผิดไปไม่ได้อย่าจู่ลู่ คราวลูกคราวหลานก็ไม่ว่า มันบ้าอย่าถือแม่ข้าไหว้ ตามกรรมตามเวรนางโฉมตรู จู่ลู่จะพากันวุ่นวาย มาแต่ตำ�บลหนใด บอกให้แจ้งใจยายตา ไม่คิดถึงตัวกลัวกรรม เวรามาทำ�เองง่ายง่าย นางเล่าแต่ต้นจนปลาย ตายายพาไปยังเคหา ถึงชั่วดีเล่าเจ้าเป็นนาย จะทำ�ผิดคิดร้ายก็ไม่ดี จัดเหย้าเรือนให้มิได้ช้า ด้วยความเมตตาปรานี กลับไปบ้านเราจะดีกว่า ว่าพลางทางลานางโฉมศรี เมื่อนั้น โฉมจันท์กัลยามารศรี ที่ใจเมตตาปรานี บ้างข้าวของมีก็ให้ทาน อยู่ด้วยยายตาได้ห้าปี ยากแค้นแสนทวีทุกเวลา แล้วออกนาวาคลาไคล ดูไปใจหายน่าสงสาร ครั้นค่ำ�ตักน้ำ�ตำ�ข้าว ครั้นรุ่งเช้าเจ้าเข้าป่า ฝ่ายว่าเสนีที่เป็นพาล งุ่นง่านไม่ไหว้ไม่ลาใคร เก็บผักเที่ยวหักฟืนมา กัลยาค้าขายได้เลี้ยงตัว เมื่อนั้น มเหสีโศกาอยู่ป่าใหญ่ อุ้มเอาลูกน้อยหอยสังข์ สุดกำ�ลังแม่แล้วพ่อทูนหัว ขึ้นมาจากท่าชลาลัย ไม่รู้ที่จะไปแห่งใดเลย เลี้ยงไว้ว่าจะได้เป็นเพื่อนตัว ทูนหัวไม่ช่วยแม่ด้วยเลย เดินพลางทางอุ้มลูกพลาง เห็นทุกข์แม่บ้างพ่อสังข์เอ๋ย เนื้อเย็นเป็นคนนะลูกแก้ว ห้าหกขวบแล้วนะลูกเอ๋ย บุกป่าฝ่าไพรแม่ไม่เคย เพราะกรรมทรามเชยเจ้าเกิดมา กำ�ดัดจะภิรมย์ชมเชย ลูกเอ๋ยจะเบาทุเลาแรง 12 วรรณคดีและวรรณกรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ บทละครนอก เรือ่ ง สงั ข์ทอง ตอน ก�ำ เนิดพระสงั ข์ 13
นางมิได้เอนองค์ลงนิทรา สุริยารุ่งรางสว่างแสง กอบเก็บข้าวหกที่ตกดิน ผันผินลอยลับขยับหนี วางลูกลงไว้ไปจัดแจง ลากแผงออกวางที่กลางดิน เหลียวดูผู้คนชนนี จะหนีเข้าสังข์กำ�บังตน เอาข้าวออกตากแล้วฝากยาย จับหาบผันผายเข้าไพรสิณฑ์ หุงข้าวหาปลาไว้ท่าแม่ ดูแลจัดแจงทุกแห่งหน เที่ยวเก็บผักหญ้าเป็นอาจิณ โฉมฉินซอนซนด้นมา ช่วยขับไก่ป่าประสาจน สาละวนเล่นพลางไม่ห่างดู มาจะกล่าวบทไป เทพไทสิงสู่อยู่พฤกษา เมื่อนั้น พระมารดานึกในพระทัยอยู่ สงสารนางจันท์กัลยา เจ้ามาเหนื่อยยากลำ�บากกาย คิดถึงลูกน้อยหอยปู เดินไปสักครู่แล้วจู่มา เทพบุตรจุติมาบังเกิด กำ�เนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย เก็บได้ฟืนผักเผือกมัน สารพันกินได้ที่ในป่า บุญญาธิการนั้นมากมาย จะล้ำ�เลิศเพริศพรายเมื่อปลายมือ ใส่หาบหาบเดินดำ�เนินมา ไม่ช้าครู่หนึ่งก็ถึงเรือน ถึงจะตกน้ำ�ก็ไม่ไหล ตกในกองกูณฑ์ไม่สูญชื่อ จึงเห็นลูกแก้วแววไว ลูกใครคนนี้ไม่มีเหมือน จะได้ผ่านบ้านเมืองเลื่องลือ อึงอื้อดินฟ้าบาดาล มานั่งเล่นอยู่ประตูเรือน พักตร์ดังดวงเดือนเลื่อนลอย คู่สร้างกับนางรจนา มารดาจะสุขเกษมศานต์ พระสังข์แลเห็นชนนี แล่นหนีตกใจเข้าในหอย นิ่งไว้จะยากลำ�บากนาน กุมารซ่อนตนจะดลใจ ประหวั่นพรั่นใจมิใช่น้อย เศร้าสร้อยคอยฟังพระมารดา จึงบันดาลให้เป็นไก่ป่า กินข้าวมารดาหาช้าไม่ มารดาวางหาบตามติด เห็นผิดเปิดห้องมองหา ขันก้องร้องตีกันมี่ไป คุ้ยเขี่ยข้าวให้กระจายดิน รีบร้นค้นดูกุมารา กัลยาไม่เห็นประหลาดใจ เมื่อนั้น พระสังข์ซ่อนอยู่ก็รู้สิ้น หรือว่าผีเรือนเป็นเพื่อนร้อน แกล้งหลอกหลอนเล่นเป็นไฉน พระแม่ไปป่าเป็นอาจิณ ในจิตคิดถวิลทุกเวลา จึงสาบสูญกายหายไป คิดวนเวียนในพระทัยนาง จะใคร่ออกช่วยพระแม่เจ้า สงสารผ่านเกล้าเป็นหนักหนา ข้าวปลาสุกสรรพเก็บปิด เห็นผิดเร่งคิดอางขนาง เหนื่อยยากลำ�บากกายา กลับมาจนค่ำ�แล้วร่ำ�ไร โฉมตรูมาดูข้าวพลาง แล้วนางมาถามตายาย ไม่ว่าลูกน้อยเป็นหอยปู อุ้มชูชมชิดพิสมัย ไม่กินข้าวปลาอาหาร เยาวมาลย์รำ�พึงคะนึงหมาย พระคุณล้ำ�ลบภพไตร จะออกให้เห็นตัวก็กลัวการ คอยดูให้รู้แยบคาย อุ้มเอาลูกชายไม่สงกา ไก่ป่าพาฝูงมากินข้าว ของพระแม่เจ้าอยู่ฉาวฉาน พินิจพิศดูแล้วทูนเกศ น้ำ�เนตรหลั่งไหลทั้งซ้ายขวา คุ้ยเขี่ยเรี่ยรายทั้งดินดาน พระมารดามาเห็นจะร่ำ�ไร จวนรุ่งพุ่งแสงพระสุริยา ทำ�เป็นไปหาสาแหรกคาน ลงจากกระท่อมแล้วด้อมมอง ค่อยย่องแอบไม้ไม่ไกลบ้าน 14 วรรณคดแี ละวรรณกรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เยี่ยมลอดสอดดูทั้งซ้ายขวา แอบช่องมองดูอยู่ช้านาน นงคราญกลั้นไว้ไม่พูดจา จะเห็นใครไปมาก็หาไม่ ออกจากสังข์พลันทันใด เมื่อนั้น บทละครนอก เร่ือง สังขท์ อง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ 15 ฉวยจับไม้ได้ไล่ตี พระกุมารเยี่ยมหอยแลหา ไม่แจ้งว่าองค์พระมารดา แฝงฝาคอยอยู่ไม่รู้กาย สงัดเงียบผู้คนไม่พูดจา เล็ดลอดออกมาแล้วผันผาย
นั่งที่นอกชานสำ�ราญกาย เก็บกรวดทรายเล่นไม่รู้ตัว นางจันท์เทวีทุบหอยสังข์แตกเพื่อมิให้พระสังข์กลับเข้าไปอยู่ แต่พระสังข์อยู่กับพระมารดา มารดาซ่อนเร้นเห็นพร้อมมูล อุแม่เอ๋ยพ่อคุณทูนหัว ได้ไม่นาน เคราะห์กรรมก็ทำ�ให้พลัดพรากจากกัน พระสังข์ต้องประสบเรื่องราวต่าง ๆ ซ่อนอยู่ในสังข์กำ�บังตัว พ่อทูนหัวของแม่ประหลาดคน มากมายกว่าจะได้พบพระมารดาอีกครั้ง และกลับมาอยู่พร้อมหน้ากันในที่สุด ย่างเข้าในห้องทับจับได้ไม้ ก็ต่อยสังข์ให้แหลกแตกป่น พระสังข์ตกใจดังไฟลน จะหนีเข้าหอยตนก็จนใจ สรุปความรู้ สวมสอดกอดบาทพระมารดา ซบเกศาพลางทางร้องไห้ แม่ต่อยสังข์แตกแหลกไป ร่ำ�ไรเสียดายไม่วายคิด บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ แสดงให้เห็นถึงความรักของแม่ที่มี เหมือนแม่ฆ่าลูกให้ม้วยมรณ์ มารดรไม่รักแต่สักนิด ต่อลูก ไม่ว่าลูกจะเกิดมาเป็นเช่นไรก็ย่อมเป็นที่รักดั่งดวงใจของแม่เสมอ นอกจากนั้นยัง พระแม่ต่อยสังข์ดั่งชีวิต จะชมชิดลูกนี้สักกี่วัน แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีของพระสังข์ที่รู้จักช่วยเหลือแบ่งเบาภาระของแม่เท่าที่เด็ก ฟังเอยฟังลูกว่า พระมารดาเสียวใจไหวหวั่น จะทำ�ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ลูกทุกคนควรประพฤติปฏิบัติตาม กอดจูบลูบเนตรเกศกรรณ ร่วมวันขวัญตาพ่อว่าไย สิ้นเคราะห์สิ้นกรรมทำ�มา ลูกยาอย่าว่าแม่เสียวไส้ เรื่องย่อสังข์ทอง http://www. sangthong.wordpress.com ตกทุกข์ได้ยากลำ�บากใจ เพราะอ้ายหอยสังข์มันจังฑาล มันมาหุ้มห่อเอาพ่อไว้ ทำ�ให้โหรามันว่าขาน เว็บไซต์แนะนำำ บิตุรงค์หลงกลอีคนพาล ไม่ช้าไม่นานจะคืนวัง ยากเย็นเห็นหน้ากันแม่ลูก อย่าพันผูกโศกสร้อยถึงหอยสังข์ ละครนอก รักใคร่มันไยไม่จีรัง หอยสังข์เช่นนี้มีถมไป ว่าพลางนางเรียกยายตา เล่ากิจจาแจ้งแถลงไข ความรู้เพลิ่มะเตคิม รนอกมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เป็นละครที่ใช้แสดงนอกวัง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ตั้งแต่เบื้องต้นจนปลายไป ทั้งสองสงสัยไม่เชื่อนาง ผู้แสดง บัดนั้น ตายายให้คิดอางขนาง ผู้แสดงเป็นชายล้วน สมัยโบราณมีพระราชบัญญัติห้ามมิให้หญิงแสดงละครนอก พากันเข้าไปในทับนาง แลเห็นรูปร่างกุมารา เนื่องจากผู้แสดงละครที่เป็นหญิงใช้สำ�หรับแสดงละครในเท่านั้น ต่อมาสมัยรัชกาลที่ ๔ ตะลึงขึงแข็งไปทั้งตัว ทูนหัวน่ารักเป็นหนักหนา โปรดเกล้าฯ ให้ผู้หญิงแสดงละครนอกได้ พ่อคุณเป็นบุญของยายตา เกิดมายังไม่ได้ยินเลย พึ่งพบพึ่งเห็นเป็นเที่ยงแท้ ลูกของเจ้าแน่หรือแม่เอ๋ย เรื่องที่แสดง บุญหนักศักดิ์ใหญ่กระไรเลย พ่อเอ๋ยรูปร่างช่างสร้างมา เรื่องที่ใช้แสดงละครนอกมีหลายเรื่อง เช่น การะเกด โม่งป่า พิกุลทอง มโนห์รา ชั่วปู่ชั่วย่าตายาย ล้มตายไม่เห็นเป็นหนักหนา มณีพิชัย สังข์ศิลป์ชัย ยกเว้น ๔ เรื่อง ได้แก่ รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลัง และอิเหนา กอดจูบลูบไล้ทั้งยายตา สองราเกษมเปรมปรีดิ์ เนื่องจากเป็นเรื่องที่ใช้สำ�หรับแสดงละครในเท่านั้น ต่อมาสมัยรัตนโกสินทร์มีบท- ละครนอกพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ ได้แก่ สังข์ทอง ไกรทอง ไชยเชษฐ์ คาวี และ 16 วรรณคดีและวรรณกรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ มณีพิชัย บทละครนอก เรอื่ ง สงั ขท์ อง ตอน กำ�เนิดพระสงั ข์ 17
ลักษณะการแสดง ถวิล (ถะ-หฺวิน) คิดถึง ไม่พถิ พี ถิ นั ในการร่ายร�ำ เน้นการนำ�เสนอเรือ่ งราว จังหวะการร้องและการบรรเลงดนตรี ทับ กระท่อม ค่อนข้างเร็ว เน้นความตลกขบขัน ไม่เข้มงวดเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี มักใช้ถ้อยคำ� นงคราญ (นง-คฺราน) นางงาม สามัญชน นอกชาน พื้นเรือนที่ยื่นพ้นชายคาระเบียงออกมา นาวา เรือ ดนตรีประกอบ ประหวั่น รู้สึกหวั่นกลัว ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ ก่อนการแสดงวงปี่พาทย์จะเรียกคนดู ผันผาย กลับไป เดินไป ด้วยการบรรเลงเพลงโหมโรงเย็น ประกอบด้วย เพลงสาธุการ เพลงตระ เพลงรัวสามลา ผ่าน ครอบครอง เช่น ผ่านเมือง เพลงเข้าม่าน เพลงปฐม และเพลงลา พฤกษา (พฺรึก-สา) ต้นไม้ เพริศพราย (เพฺริด-พฺราย) งามระยับ คำ�ศัพท์น่ารู้ เรียนรู้คำ� นำ�ไปใช้ ไพรสิณฑ์ (ไพฺร-สิน) แนวป่า กันดาร (กัน-ดาน) ภพไตร (พบ-ไตฺร) ในทางวรรณคดี หมายถึง โลกทั้งสาม คือ สวรรค์ กำ�ดัด ลำ�บาก แห้งแล้ง โลกมนุษย์ และเมืองบาดาล กินนร (กิน-นอน) กำ�ลังรุ่น ภิรมย์ (พิ-รม) ดีใจยิ่ง ยินดียิ่ง อมนุษย์ในนิยาย มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนก ม้วยมรณ์ (ม้วย-มอน) ตาย ท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกชนิดหนึ่งมีรูปร่าง มี่ อึกทึก เสียงแซ่ เหมือนคน เมื่อจะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีกใส่หางบินไป เยาวมาลย์ (เยา-วะ-มาน) หญิงสาวสวย ในเรื่องนี้เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นว่า มีรูปร่างงดงาม รัน ตี กูณฑ์ (กูน) อรชรอ้อนแอ้น ร่ำ�ไร อ้อยอิ่ง เกษมศานต์ (กะ-เสม-สาน) ไฟ เรี่ยราย กระจายเกลื่อนไป คลาไคล (คฺลา-ไคฺล) โปร่งอารมณ์ ชื่นชมยินดี สกล (สะ-กน) ทั้งหมด ทั้งสิ้น จังฑาล (จัง-ทาน) เดินไป เคลื่อนไป สงกา ความสงสัย จุติ (จุ-ติ) มาจากคำ�ว่า จัณฑาล หมายถึง ต่ำ�ช้า สาแหรก เครื่องใส่ของสำ�หรับหิ้วหรือหาบ เป็นต้น เปลี่ยนสภาพจากกำ�เนิดหนึ่งไปเป็นอีกกำ�เนิดหนึ่ง ปรกติทำ�ด้วยหวาย มี ๔ สาย ตอนบนทำ�เป็นหูสำ�หรับหิ้ว จู่ลู่ (มักใช้แก่เทวดา) หรือสอดไม้คาน ตอนล่างขัดกันเป็นสี่เหลี่ยมสำ�หรับ โฉงเฉง ดูถูก วางกระจาดเป็นต้น ชลาลัย (ชะ-ลา-ไล) เอะอะเอ็ดอึงเป็นทำ�นองเกะกะเกเร อางขนาง (อาง-ขะ-หฺนาง) อาย ขวยเขิน ดินดาน แม่น้ำ� อาจิณ (อา-จิน) เป็นปรกติ เสมอ ๆ ดินที่จับตัวแข็งเป็นชั้น โดยมากเป็นประเภทดินเหนียว เนื้อแน่น ที่น้ำ�ไหลผ่านไม่ได้ เกาะตัวแข็งอยู่ใต้ผิวดิน บทละครนอก เรอื่ ง สงั ข์ทอง ตอน กำ�เนดิ พระสังข์ 19 18 วรรณคดีและวรรณกรรม ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕
ถ้อยคำ�สำ�นวน ล้วนต้องศึกษา เพิ่มพูนปัญญา นานากิจกรรม การเข้าใจความหมายของถ้อยคำ�สำ�นวนในการอ่านวรรณคดีต่าง ๆ จะทำ�ให้เข้าใจ อ่านให้คล่อง ต้องฝึกฝน เรื่องราวได้ละเอียดชัดเจนยิ่งขึ้น ให้นักเรียนฝึกอ่านคำ�ศัพท์และสำ�นวนในหัวข้อ “เรียนรู้คำ� นำ�ไปใช้” ตัวอย่าง ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ ๓-๔ คน ผลัดกันอ่านออกเสียงบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ ทั้ง ๒ วิธี คือ อ่านเสียงปกติและอ่านเป็นทำ�นองเสนาะ เสนีที่ได้กินสินบน ขัดสนด้วยคนเขามากมาย โดยแสดงอารมณ์ตามเนื้อเรื่องในบทละคร จะฆ่าเทวีก็มิได้ มารยาว่าไปดังใจหมาย ไหนไหนไม่พ้นเป็นคนตาย จะลองดาบกรายเล่มนี้ดู สนทนาซักถาม ใจความตามเรื่อง เพื่อนกันช่วยฉุดยุดไว้ ผิดไปไม่ได้อย่าจู่ลู่ ตามกรรมตามเวรนางโฉมตรู จู่ลู่จะพากันวุ่นวาย บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ที่นักเรียนอ่านเป็นบทพระราชนิพนธ์ของใคร สังข์ทองเป็นละครที่เล่นกันมาตั้งแต่สมัยใด หมายความว่า ทหารที่รับสินบนมาให้ฆ่านางจันท์เทวี ไม่สามารถทำ�การได้เนื่องจาก ท้าวยศวิมลทรงพระสุบินว่าอย่างไร มีผู้คนอยู่ด้วยมากมาย จึงแสร้งพูดจาดูถูกและใช้ดาบจะฟันนาง แต่เพื่อนทหารช่วยกัน นางจันทาเทวีใช้อุบายใดเพื่อกำ�จัดนางจันท์เทวี ห้ามปรามไม่ให้ทำ�เกินเลย เนื่องจากเกรงว่าจะทำ�ให้เดือดร้อนกันภายหลัง การที่โหรรับสินบนจากนางจันทาเทวีแสดงว่าโหรขาดคุณธรรมใด จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น นักเรียนคิดว่าท้าวยศวิมลเป็นคนอย่างไร เมื่อนั้น พระกุมารเยี่ยมหอยแลหา นางจันท์เทวีพาพระสังข์ไปอาศัยอยู่กับใคร ไม่แจ้งว่าองค์พระมารดา แฝงฝาคอยอยู่ไม่รู้กาย รุกขเทวดาช่วยเหลือนางจันท์เทวีโดยวิธีใด สงัดเงียบผู้คนไม่พูดจา เล็ดลอดออกมาแล้วผันผาย พระสังข์ช่วยเหลืองานของพระมารดาอย่างไร นั่งที่นอกชานสำ�ราญกาย เก็บกรวดทรายเล่นไม่รู้ตัว นางจันท์เทวีทำ�อย่างไรเมื่อทราบความจริง หมายความว่า ฝ่ายพระสังข์โผล่หน้าออกมาจากหอยสังข์ ชะโงกเหลียวมองดูรอบ ๆ อภิปรายวิเคราะห์เจตนา ค้นหาเหตุผล โดยหารู้ไม่ว่านางจันท์เทวีแอบซุ่มคอยดูอยู่ ครั้นเห็นเงียบสงัดไม่ได้ยินเสียงคนพูดคุยกัน จึงออกมาจากหอยสังข์ เดินไปเก็บกรวดทรายมานั่งเล่นอยู่ที่นอกชานเรือนอย่างสบายใจ ท้าวยศวิมลทำ�ถูกหรือไม่ที่ขับไล่พระมเหสีและพระโอรสออกจากวัง เพราะเหตุใด ถ้าไม่ถูกควรทำ�อย่างไร 20 วรรณคดแี ละวรรณกรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ถ้านักเรียนเป็นท้าวยศวิมล นักเรียนจะเชื่อคำ�ทำ�นายของโหรหรือไม่ เพราะเหตุใด นางจันท์เทวีควรทำ�ลายหอยสังข์หรือไม่ เพราะเหตุใด นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องคำ�ทำ�นายต่าง ๆ อย่างไร นักเรียนจะช่วยแบ่งเบาภาระงานของพ่อแม่ได้อย่างไรบ้าง บทละครนอก เรอื่ ง สังขท์ อง ตอน กำ�เนดิ พระสงั ข์ 21
มาช่วยกันคิด มาช่วยกันหา สิ่งควรทำ� ช่วยย้ำ�เรื่องราว ให้นักเรียนหาคำ�ยากในบทละครเพิ่มเติม เรียงลำ�ดับคำ�ตามพจนานุกรม ค้นหา ให้นักเรียนเลือกตัวละครที่ประทับใจมากที่สุดจากบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ความหมายของคำ�และบันทึกรวบรวมไว้ จัดทำ�เป็นสมุดบันทึกคำ�ศัพท์น่ารู้ ตอน กำ�เนิดพระสังข์ แล้วนำ�มาวาดภาพระบายสีให้สวยงาม พร้อมบอกลักษณะนิสัย ให้นักเรียนช่วยกันหาคำ�ราชาศัพท์จากบทละคร ตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมอธิบาย ของตัวละครนั้น และเหตุผลที่ชอบ ความหมาย ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มอ่านบทละครนอก เรื่อง สังข์ทองตอนอื่น ๆ จากห้องสมุด แล้วนำ�มา ให้นักเรียนช่วยกันค้นหาคำ�ที่มีความหมายว่า ผู้หญิง หญิงงาม ซึ่งในบทละครตอนนี้ เล่าให้เพื่อนฟัง ใช้เมื่อกล่าวถึงนางจันท์เทวี ให้นักเรียนท่องจำ�คำ�ประพันธ์ที่ชอบจากบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิด- พระสังข์ ๓-๔ บท แล้วฝึกท่องเป็นทำ�นองเสนาะ พัฒนางานเขียน เรียนรู้หลากหลาย ให้นักเรียนเลือกคำ�ประพันธ์จากบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ จำ�นวน ๒ บท นำ�มาฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ให้นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ โดยคำ�นึงถึง โครงเรื่อง ดังนี้ วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม น่าชื่นชมลองค้นหา เริ่มเรื่อง ตัวละครสำ�คัญมีใครบ้าง ให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมที่ปรากฏในบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิด- เรื่องเกิดขึ้นที่ไหน เหตุการณ์สำ�คัญของเรื่องคืออะไร พระสังข์ ตามหัวข้อต่อไปนี้ กลางเรื่อง การดำ�เนินเรื่องเป็นอย่างไร วัฒนธรรม ประเพณี ตอนจบเรื่อง เรื่องจบลงอย่างไร ความเชื่อ เรื่องนี้ให้ข้อคิดใดบ้าง ให้นักเรียนเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นเมื่อได้อ่านบทละครนอก เรื่อง ค่านิยม สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ พิจารณาสักนิด ข้อคิดที่ได้ สนุกหรรษา ลีลาสมมุติ ให้นักเรียนเขียนสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มเลือกเหตุการณ์ที่ชอบมากที่สุดจากตอนก�ำ เนิดพระสังข์ กำ�เนิดพระสังข์ พร้อมยกตัวอย่างประกอบให้เห็นชัดเจน น�ำ มาเขยี นบทละครเปน็ รอ้ ยแกว้ แลว้ น�ำ มาแสดงละคร โดยใชเ้ วลากลุม่ ละไมเ่ กนิ ๕ นาที ให้นักเรียนช่วยกันวิจารณ์การแสดงของกลุ่มอื่น ๆ โดยพิจารณาจากเนื้อเรื่อง พินิจคุณค่า นำ�มาประยุกต์ใช้ บทสนทนา และลีลาในการแสดงของตัวละคร ให้นักเรียนศึกษาลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง แล้วร่วมกันอภิปรายว่า 22 วรรณคดแี ละวรรณกรรม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ลักษณะนิสัยที่ดีของตัวละครใดที่สามารถนำ�มาเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำ�เนินชีวิต ให้นักเรียนอภิปรายถึงคุณค่าทางวรรณคดีของบทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ตอน กำ�เนิดพระสังข์ และวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใดจึงเป็นเรื่องที่คนไทยต่างรู้จักกันดี บทละครนอก เรื่อง สังขท์ อง ตอน ก�ำ เนดิ พระสงั ข์ 23
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: