Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก

Description: คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก.

Search

Read the Text Version

www.dtam.moph.go.th สมุนไพรประจำบ้าน 1. กะเพราแดง ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Ocimum tenuiflorum L. ชอื่ วงศ์ : LAMIACEAE สรรพคุณ : ใบกะเพรา มีรสเผ็ดร้อน สรรพคุณแก้ปวดท้อง ท้องอืด แก้ลมจุกเสียดแน่นท้อง ขบั ลมทำให้เรอเหมาะสำหรบั เดก็ วธิ เี ตรยี ม : ใช้ใบกะเพราและยอด 1 กำมือ (ใบสดหนัก 25 กรัม, ใบแหง้ หนัก 4 กรัม) ต้มเอาน้ำดืม่ นอกจากใช้เป็นยาแล้วใบกะเพรายังเหมาะสำหรับปรุงเป็นอาหารเพ่ือช่วยลดอาการท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ เช่น แกงจืดใบกะเพรา ตม้ ยำนำ้ ใส ผัดกะเพรา

คมู่ ือการดแู ลสุขภาพ ดว้ ยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พน้ื บา้ น และการแพทยท์ างเลอื ก 2. ขิง ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Zingiber officinale Rosc. ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE สรรพคุณ : ขงิ มรี สเผ็ดรอ้ นหวาน สรรพคณุ บรรเทาอาการทอ้ งอืด ขับลม แนน่ จุกเสยี ด ปอ้ งกนั และ บรรเทาอาการคล่ืนไสอ้ าเจยี น จากอารการเมารถ เมาเรือ วิธีเตรยี ม : ใชเ้ หง้าแกส่ ดขนาดเทา่ หวั แม่มือ (ประมาณ 5 กรมั ) ทบุ ใหแ้ ตก ตม้ เอานำ้ ดื่ม ขิงยังสามารถประกอบอาหารหลายชนิดท้ังคาวและหวาน เช่น ไก่ผัดขิง มันต้มขิง เต้าฮวย น้ำขิง

www.dtam.moph.go.th 3. ตะไคร้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Cymbopogon citratus (DC.) Stapf ชอ่ื วงศ์ : POACEAE สรรพคณุ : ตะไคร้ มรี สปร่า กลิ่นหอม ขบั ลมในลำไส้ เจรญิ อาหาร ขบั ปสั สาวะ วิธีเตรียม : ใช้ลำต้นและเหง้าแก่สดๆ ประมาณ 1 กำมือ (40-60 กรัม) ทุบพอแหลก ต้มกับน้ำ ประมาณครึง่ ลติ ร เอานำ้ ดืม่ ต่างน้ำเมือ่ มีอาการท้องอดื ตะไคร้เปน็ สมุนไพรที่มีตดิ บ้านทกุ ครัวเรือน สามารถนำมาดบั กลนิ่ คาวในอาหารประเภท เน้ือสัตว์ได้ดี และสามารถแปรรูปเป็นชาตะไคร้ง่าย ๆ สำหรับชงดื่มระหว่างวัน เพียงแค่ห่ันหรือซอย ตะไคร้บาง ๆ กับใบเตยหอม ตากใหแ้ ห้ง นำมาค่ัวไฟออ่ น ๆ ให้หอมเกบ็ ไว้ในภาชนะปดิ ใชช้ งน้ำร้อน จิบเป็นชาช่วยขบั ลม และขบั ปัสสาวะ 4. ชา้ พลู ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Piper sarmentosum Roxb. ชือ่ วงศ์ : PIPERACEAE สรรพคุณ : ใบช้าพลูมีรสเผ็ดเล็กน้อย สรรพคุณช่วยเจริญ อาหาร ขบั ลม แกท้ อ้ งอดื ทอ้ งเฟ้อ วิธีการเตรียม : นำช้าพลูท้ังห้า (ท้ังต้นจนถึงราก) 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 3 ส่วน เคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน รับประทานครั้งละ ครง่ึ แกว้ กาแฟ กอ่ นอาหาร 3 มอ้ื ภาคใตน้ ยิ มนำใบชา้ พลมู าใช ้ ขับลม แกไ้ อ ขับเสมหะ ช้าพลูเป็นผักพ้ืนบ้านท่ีคนนิยมมารับประทานสด ๆ เป็นส่วนประกอบของเมี่ยงคำ เช่ือกันว่าเป็นอาหารบำรุงธาตุ และปรบั ธาตใุ ห้สมดลุ ชว่ ยยอ่ ยอาหาร

คู่มือการดแู ลสขุ ภาพ ด้วยการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้นื บา้ น และการแพทยท์ างเลือก 5. บวั บก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Centella asiatica (L.) Urb. ชือ่ วงศ์ : APIACEAE สรรพคุณ : ตำรายาไทยใช้บัวบกเป็นยาแก้ไข้, ร้อนใน, แก้ช้ำใน ใช้เป็นยาภายนอกรักษาแผล ทำให้ แผลหายเร็ว และกล่าวว่าบัวมีรสเฝื่อน ขมเย็น เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ลม แก้อ่อนเพลีย เม่ือยล้า เปน็ ยาบำรงุ และยาอายวุ ฒั นะ ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยในคนพบว่าบัวบกมีฤทธิ์รักษาความผิดปรกติของหลอดเลือดดำ ช่วยใหค้ ลายกังวล รักษาแผลทีผ่ วิ หนัง รักษาแผลในทางเดินอาหาร วธิ ีเตรยี ม l รักษาความผดิ ปกตขิ องหลอดเลอื ดดำ ใชบ้ ัวบกสด 1 กำมือ (10–20 กรัม) ตำแล้วคั้นเอาแต่น้ำเติมน้ำตาลทรายเล็กนอ้ ยด่ืม วันละ 3 คร้งั ติดตอ่ กัน 1–2 วนั l รกั ษาแผลไฟไหม้ นำ้ รอ้ นลวก ใช้ใบสด 1 กำมือ (10-20 กรัม) ตำให้ละเอียด ค้ันเอาแต่น้ำ ทาบริเวณแผลบ่อยๆ ใชก้ ากพอก บัวบกสามารถรับประทานเป็นผักสดๆ เพ่ือเป็นยา โดยรับประทาน 1-2 ใบทุกวัน เพอื่ บำรงุ สมอง

www.dtam.moph.go.th 6. ฟ้าทะลายโจร ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall. Ex Nees ช่อื วงศ์ : ACANTHACEAE สรรพคณุ : ฟ้าทะลายโจรมีรสขม สรรพคณุ แก้ไข้ บรรเทาอาการเจบ็ คอ บรรเทาอาการของโรคหวัด วิธีเตรยี ม : l ใชส้ ด ใบฟา้ ทะลายโจรสด 3-5 ใบ เคี้ยวแล้วกลืน รับประทาน 3 เวลา ก่อนอาหาร l ใช้ต้ม นำใบฟ้าทะลายโจรสด ประมาณหนึ่งหยิบมือ ต้มกับน้ำสะอาด 1 แก้ว รบั ประทาน 3 เวลา ก่อนอาหาร สำหรบั ผทู้ ่ีมีอาการมาก ให้ตม้ จนเหลือปรมิ าณน้ำเพียง 1 ใน 3 แกว้ แลว้ นำมารบั ประทาน ข้อควรระวงั : หากใชฟ้ ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วนั แลว้ อาการไมด่ ีขึ้น หรือมีอาการรุนแรงข้ึนระหวา่ ง ใช้ยา ควรหยดุ ใชแ้ ละปรกึ ษาแพทย์

คู่มอื การดแู ลสุขภาพ ด้วยการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ น้ื บ้าน และการแพทยท์ างเลือก 7. มะกรดู ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC. ชื่อวงศ์ : RUTACEAE สรรพคุณ : สรรพคุณยาไทยว่ามะกรูดมีรสเปรี้ยว ผิวมะกรูด แก้อาการหน้ามืด วิงเวียน, น้ำมะกรูด แก้ไอ ขบั เสมหะ วธิ เี ตรียม : ยากนิ l บำรุงหัวใจ ช่วยแก้อาการเป็นลม หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ นำผิวมะกรูดฝานสดประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ มาผสมกับพมิ เสนเลก็ นอ้ ยชงในน้ำเดือดแล้วแช่ท้ิงไว้สักครูแ่ ลว้ นำมาดม่ื l ขับลมในลำไส้ แก้อาการจุกเสียด ท้องอืด แน่นท้องได้ ช่วยแก้อาการไอ ขับเสมหะ โดยการนำมะกรูดผ่าคร่ึงและนำไปลนไฟให้น่ิม แล้วค่อย ๆ บีบน้ำมะกรูดลงคอทีละนิด จะช่วยทำให้อาการบรรเทาลงได้ วิธีการเตรยี ม : ใช้บำรงุ ผม l ผลมะกรูดผ่าครึ่งลูก ปิ้งไฟให้สุก ผ่าซีกแล้วนำมาสระผม ทำให้ผมดกดำเป็นเงางาม นม่ิ สลวย แกร้ ังแค แก้คัน l นำมะกรูดผ่าครงึ่ ต้มกบั นำ้ เล็กน้อย สัดสว่ น น้ำ : มะกรูด คือ 2 : 1 ตง้ั ไฟ ต้มจนเดือด ยกลง ปิดฝาทง้ิ ไว้ จากนน้ั นำมาค้ันกรองด้วยผ้าขาวบาง นำน้ำมะกรดู ทีไ่ ดม้ าชโลมใหท้ ั่ว เส้นผมและหนังศีรษะ ใช้ทำความสะอาดเส้นผมแทนแชมพู หรือใช้เคลือบเส้นผมแทน ครีมนวดผมกไ็ ด้

www.dtam.moph.go.th 8. มะระขีน้ ก ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Momordica charantia L. ชอ่ื วงศ์ : CUCURBITACEAE สรรพคณุ : สรรพคณุ ยาไทยวา่ มะระขีน้ กมรี สขมจัด สรรพคณุ เแก้ไข้ แกร้ ้อนใน เจรญิ อาหาร ผลมะระอ่อน ใช้รบั ประทานเปน็ ยาเจรญิ อาหารโดยการตม้ ให้สุกรับประทานรว่ มกบั นำ้ พรกิ วธิ ีเตรียม : l นำ้ ค้นั สด นำผลมะระขนี้ กสด 8-10 ผล เอาเมล็ดในออก ใส่น้ำลงไปเล็กนอ้ ย ปั่นค้ันเอาแตน่ ้ำใหไ้ ด้ คร้งั ละประมาณ 100 มลิ ลิลิตร (หรือรบั ประทานทงั้ กากกไ็ ด)้ รับประทานวันละ 3 เวลา ก่อนอาหารทุกวนั l ชาชง นำผลมะระขี้นกสดผ่าเอาแต่เน้ือห่ันเป็นช้ินเล็ก ๆ ตากแดดให้แห้ง แล้วเอามาชงกับ นำ้ เดอื ดโดยใชม้ ะระแหง้ ครง้ั ละ 1-2 ชนิ้ ตอ่ นำ้ 1 ถว้ ย ชงดมื่ เปน็ นำ้ ชา ดมื่ ครงั้ ละ 2 ถว้ ยชา วันละ 3 เวลา หรอื จะต้มเอานำ้ ดื่มกไ็ ด ้ มะระขี้นกเป็นผักพื้นบ้านท่ีนิยมนำมาลวกจิ้มกับน้ำพริก ร่วมกับผักอ่ืน หรือนำไปแกงแทน มะระจนี นอกจากผลของมะระขนี้ กแล้ว ภาคใต้นิยมนำใบหรอื ยอดมาลวก หรอื ต้มกะทิ ผลสุกสีเหลอื งหา้ มรบั ประทาน เพราะทำให้มอี าการคล่นื ไสอ้ าเจยี น

คู่มือการดูแลสขุ ภาพ ด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้าน และการแพทยท์ างเลือก 9. ว่านหางจระเข้ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe vera Linn. ชอื่ วงศ์ : ALOACEAE สรรพคณุ : วุ้นของวา่ นหางจระเข้ มีรสเยน็ จดื สรรพคณุ รักษาแผลไฟไหม้ น้ำรอ้ นลวก วิธีเตรยี ม : ใช้วุ้นจากใบโดยเลือกทีอ่ ยู่ลา่ งสุดของตน้ ปอกเปลือกสเี ขียวออก ลา้ งยางให้สะอาดด้วย นำ้ ตม้ สกุ หรอื นำ้ ดา่ งทบั ทมิ ขดู เอาวนุ้ ใสมาพอกบรเิ วณแผลใหช้ มุ่ ชน่ื อยตู่ ลอดเวลาในชว่ั โมงแรก จากนน้ั ทาวนั ละ 3-4 ครั้งจนแผลหาย ชว่ ยทำใหแ้ ผลหายเรว็ และลดการเกดิ แผลเปน็

www.dtam.moph.go.th 10. สะระแหน่ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Metha cordifolia Opiz ex fresen ช่ือวงศ์ : LAMIACEAE สรรพคุณ : บรรเทาอาการวงิ เวยี น หนา้ มดื ขับลม วิธีเตรียม : นำมาปรุงรสอาหารไทยจำพวกยำ ลาบ ต้มยำ นำไปแต่งหน้าเคร่ืองดื่มบางชนิด และใช้ เป็นส่วนผสมของไอศกรมี ได ้ เรยี บเรียงข้อมูลโดย จริ าภรณ์ บุญมาก ภาพประกอบ นพรัตน์ ทูลมาลย์

คู่มือการดูแลสขุ ภาพ ดว้ ยการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ น้ื บ้าน และการแพทยท์ างเลอื ก ยาสมนุ ไพรประจำตยู้ า กลมุ่ 1 อาการ ท้องอดื ทอ้ งเฟ้อ ชอ่ื ยา ยาขม้ินชัน ข้อบง่ ใช้ บรรเทาอาการแนน่ ทอ้ ง จกุ เสียดท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ กลุ่ม 2 อาการ ทอ้ งผูก ชอ่ื ยา ยามะขามแขก ขอ้ บง่ ใช้ บรรเทาอาการทอ้ งผกู

www.dtam.moph.go.th กลมุ่ 3 อาการ ทอ้ งเสยี ชอ่ื ยา ยาเหลอื งปิดสมทุ ร ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการ ท้องเสีย กลุ่ม 4 อาการ ไข ้ ชอ่ื ยา ยาจันทลลี า ขอ้ บง่ ใช้ แก้ไข้เปล่ยี นฤดู ไขป้ วดศีรษะ แก้ไขท้ ับระดู

ค่มู ือการดูแลสขุ ภาพ ดว้ ยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลอื ก กล่มุ 5 อาการ ลมวิงเวียน ชอ่ื ยา ยาหอมเทพจติ ร ข้อบ่งใช้ แกล้ มวงิ เวียน หนา้ มดื คลื่นไส้ ตาพร่ามวั กลุ่ม 6 อาการ ไอ ชื่อยา ยาน้ำแก้ไอมะขามปอ้ ม ขอ้ บ่งใช้ แก้ไอ ขับเสมหะ

www.dtam.moph.go.th กลุ่ม 7 อาการ เจ็บคอ ช่อื ยา ฟา้ ทะลายโจร ขอ้ บง่ ใช้ บรรเทาอาการ เจ็บคอ กล่มุ 8 อาการ รดิ สีดวงทวารหนัก ชอื่ ยา ยาผสมเพชรสงั ฆาต ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการรดิ สดี วงทวารหนกั

ค่มู ือการดแู ลสุขภาพ ด้วยการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ นื้ บา้ น และการแพทย์ทางเลือก กล่มุ 9 อาการ ปวดประจำเดือน ชือ่ ยา ยาประสะไพล ขอ้ บง่ ใช้ บรรเทาอาการปวด ประจำเดอื น แกป้ ระจำเดอื น มาไมป่ กติ กลมุ่ 10 อาการ ผน่ื คัน ชอ่ื ยา คาลาไมนพ์ ญายอ (ยาสำหรบั ใชภ้ ายนอก) ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการผน่ื คนั

www.dtam.moph.go.th กลมุ่ 11 อาการ ปวดเม่ือย ชือ่ ยา ครมี ไพล / บาลม์ ไพล (ยาสำหรบั ใช้ภายนอก) ข้อบง่ ใช้ บรรเทาอาการปวด เม่อื ยกลา้ มเนือ้ กลมุ่ 12 อาการ แผลไฟไหม้ นำ้ รอ้ นลวก ชือ่ ยา เจลว่านหางจระเข้ (ยาสำหรับใชภ้ ายนอก) ขอ้ บ่งใช้ บรรเทาแผลไฟไหม้ นำ้ รอ้ นลวก

คู่มือการดูแลสขุ ภาพ ดว้ ยการแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ น้ื บา้ น และการแพทย์ทางเลอื ก ยาสมุนไพรประจำตัว ยาอมแก้ไอ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ทำให้ชุ่มคอ ยาหม่อง ไพลแท่ง บรรเทาอาการปวดเมือ่ ย ตามร่างกาย ยาดม บรรเทาอาการวิงเวียน ทำให้สดช ่ืน ผ่อนคลาย ยาหอมเทพจิตร แก้ลม บำรุงหัวใจ