Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติสำหรับการดำเนินการป้องกันและจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

คู่มือปฏิบัติสำหรับการดำเนินการป้องกันและจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

Description: บ่อยครั้งที่เราเห็นเด็กในวัยเดียวกันกลั่นแกล้งกันในที่โรงเรียน จนบางครั้งเราอาจมองข้ามเหตุการณ์นั้นไปและกลับมองว่าเป็นเรื่องปกติของเด็กวัยนี้.

Search

Read the Text Version

สิ่งที่ไม่ควร (Don’t)  ปฏิเสธว่า “โรงเรียนน้ีไม่มีการรังแกในโรงเรียน” (เน่ืองจากไม่มี  โรงเรียนที่ใช้วิธีไล่เด็กออกเพ่ือแก้ปัญหา ไม่สามารถทำ�ให้เด็กมี การเอาผดิ หรอื แกป้ ญั หาจรงิ จงั ) ทศั นคตนิ ม้ี าจากการทไี่ มย่ อมรบั ความเห็นอกเห็นใจหรือพัฒนาพฤติกรรมที่ดี และไม่ได้ลด วา่ ในโรงเรยี นมกี ารรงั แกกนั เพราะกลวั ท�ำ ใหโ้ รงเรยี นเสยี ชอื่ เสยี ง การรงั แกกันในโรงเรียนได้ ทัศนคติน้ีทำ�ให้มีการปฏิเสธปัญหาและปัญหาไม่ถูกแก้ไข  “การรงั แกกันเป็นสว่ นหนึ่งของการเตบิ โต เปน็ การเล่นกนั ของวยั เด็ก” เปน็ ปัญหาที่เรอื้ รงั การปล่อยให้เด็กรังแกกัน จะทำ�ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ผิดๆ ว่าผู้ใหญ่  “เราไม่มีเวลาท่ีจะจัดการกับมัน” “บุคลากรเป็นครู ไม่ใช่นักให้ ยอมรบั และเปน็ สง่ิ ทท่ี �ำ ได้ จะยงิ่ ท�ำ ใหเ้ ดก็ ทเี่ ปน็ ผรู้ งั แกมพี ฤตกิ รรมรงั แก การปรึกษาหรอื นกั จิตวิทยา” ท่ีรุนแรงขึน้ หรอื เป็นปัญหาเรอื้ รัง  “เป็นความรับผิดชอบของพ่อแม่ที่จะทำ�ให้เด็กนักเรียน  “เด็กควรเรียนรู้ในการแกไ้ ขปญั หาเอง” เดก็ ส่วนใหญไ่ มร่ ู้วา่ ส่ิงทท่ี ำ�คอื ประพฤติตัวดี” การรังแก หรือเป็นการใช้ความรุนแรงกับเพ่ือน หากครูไม่จัดการ  “ปัญหาเร่ืองการรังแกกันเป็นปัญหาครอบครัวของเด็กไม่ใช่ เดก็ จะเขา้ ใจวา่ การรงั แกกนั เปน็ สงิ่ ทย่ี อมรบั ทกั ษะในการแกป้ ญั หาเปน็ ปัญหาของโรงเรียน” “เรายุ่งเกินไป” มุมมองเหล่าน้ีเป็น สง่ิ ท่ีครอบครวั และโรงเรียนจะต้องส่งเสริมเด็กให้เหมาะสมแต่ละวยั ทศั นคตทิ ท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาการรงั แกกนั ในโรงเรยี นยงั อยตู่ อ่ ไป การท่ีจะแก้ปัญหาการรังแกกัน และมีวัฒนธรรมความ ปลอดภยั ในโรงเรยี น ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื ในการจดั การของ ครูและบุคลากรทกุ คนจะช่วยแกป้ ัญหานีไ้ ด้ 38 คูม่ ือปฏบิ ัติสำ�หรับการด�ำ เนินการปอ้ งกนั และจัดการการรังแกกนั ในโรงเรยี น

ลักษณะของครทู มี่ ีสว่ นสง่ เสรมิ วฒั นธรรมการรังแกกันในโรงเรยี น 01 การสรา้ งวนิ ยั แบบควบคมุ 03 ครทู เ่ี พกิ เฉย (Authoritarian teaching style) (The Disinterested teacher) การสร้างวินัยแบบควบคุมนั้นคือ การใช้อำ�นาจในการควบคุม ครูที่เพิกเฉยและไม่ใส่ใจปัญหา มักมีทัศนคติว่าเด็กที่ถูกรังแกเป็นคน พฤติกรรมเด็ก โดยเชื่อว่าการทำ�ให้เด็กกลัว ยำ�เกรงจะเป็นการควบคุม สร้างปัญหาขึ้นเองและไม่เข้าไปช่วยเหลือทำ�ให้นักเรียนที่ถูกรังแกรู้สึก พฤตกิ รรมเดก็ ได้ มกั จะเหน็ ตวั อยา่ งไดใ้ นการใชว้ นิ ยั เชงิ ลบควบคมุ เดก็ และ หมดหวงั มากข้ึน มักจะทำ�ให้เกิดการรังแกกันมากขึ้น ทำ�ให้เด็กเลียนแบบการใช้อำ�นาจกับ ตัวอย่าง : การที่ครูขาดการส่ือสารและขาดความสัมพันธ์ที่ดีกับ เพื่อน และส่งเสริมความกา้ วร้าวทางตรงและทางอ้อม นกั เรยี น ขาดความใสใ่ จเวลาที่นกั เรยี นเข้าหาเพอื่ ปรึกษาปัญหา 02 ครทู ใ่ี ชค้ �ำ พดู ท�ำ รา้ ยจติ ใจเดก็ 04 ครทู ต่ี ามใจนกั เรยี น (The Active bullying teacher) (The permissive teacher) ครทู ใี่ ชก้ ารต�ำ หนิ ลงโทษ ค�ำ พดู แรงๆในการจดั การพฤตกิ รรมเดก็ การ การที่ครูแสดงความไม่สนใจ ไม่สังเกต ไม่สะท้อนต่อพฤติกรรมของ แสดงออกของครมู กั มคี �ำ พดู ทด่ี หู มนิ่ ถากถาง ไมเ่ คารพในตวั เดก็ หรอื ใชค้ �ำ เดก็ และไมพ่ ยายามสรา้ งความรสู้ กึ ปลอดภยั ใหก้ บั เดก็ หรอื พยายามสรา้ ง พดู แรงๆให้เด็กเสียกำ�ลังใจ ซึง่ ถือวา่ เปน็ การรังแกกันเชน่ กัน ความประนปี ระนอมมากกวา่ ยนื หยดั ในความถกู ตอ้ ง สง่ สญั ญาณใหน้ กั เรยี น ตวั อยา่ ง : 1) ครเู ขียนในหนา้ กระดาษของเด็กนักเรียนด้วยตัวหนังสือ ได้รับรู้ว่าการรังแกกันเป็นเร่ืองที่ยอมรับได้ เป็นความสนุก หรือบทเรียน สีแดงใหญ่ ๆ ว่า “ลายมือแยม่ าก” 2) ครูพดู ถากถางเดก็ นักเรียนเชน่ “มนั เพอ่ื ความอย่รู อด งา่ ยมาก กนกอรยงั ทำ�ได้เลย” 3) ครูพดู ตดิ อา่ งลอ้ เลยี นนกั เรียนทมี่ ปี ัญหา ตัวอยา่ ง : ครูรว่ มหวั เราะกับการแกลง้ กนั ในโรงเรยี น ตดิ อา่ ง 4) ครเู รียกเดก็ อินเดียผู้ชายที่ไวผ้ มยาวว่าเป็นเด็กผูห้ ญงิ ค่มู ือปฏบิ ัตสิ �ำ หรับการด�ำ เนินการปอ้ งกนั 39 และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรยี น

กิจกรรมเพอื่ ปรบั ทศั นคติ ความส�ำ คัญ 1. กิจกรรมหน้าต่างแห่งโอกาส กิจกรรมเน้นให้คุณครูได้สำ�รวจ ความเข้าใจของตนเองเก่ียวกับการรังแกกัน และตระหนักรู้ว่ามุมมอง กจิ กรรมเพอ่ื ปรบั ทศั นคตเิ ปน็ กจิ กรรมเรม่ิ ตน้ กอ่ นทจี่ ะน�ำ คณุ ครเู ขา้ สกู่ าร และการตดั สนิ ใจของตนเองนน้ั มผี ลตอ่ การแกป้ ญั หาและชว่ ยเหลอื เดก็ เรียนรู้ และทำ�ความเข้าใจในเรื่องการรังแกกัน (bullying) โดยมีเป้าหมาย เม่ือเกิดสถานการณ์รังแกกัน โดยกิจกรรมนี้สามารถนำ�ไปปรับใช้กับ เพื่อให้คุณครูมีความเข้าใจพื้นฐานเก่ียวกับกลไกการเกิดปัญหาการรังแกกัน นักเรียนได้ ผ่านการทำ�กิจกรรมที่มุ่งเน้นให้คุณครูได้สำ�รวจ และทบทวนตัวเองต้ังแต่ 2. กจิ กรรมฟังด้วยใจ เปน็ กิจกรรมเพ่ือเตรยี มคณุ ครูใหพ้ ร้อมเปดิ ความเข้าใจเบื้องต้นในเร่ืองการรังแกกันไปจนถึงบทบาทของคุณครูในการ ใจทจ่ี ะรบั ฟงั ปญั หาของเดก็ และมคี วามเขา้ ใจรปู แบบการสอ่ื สารทท่ี �ำ ให้ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารวางแผนปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาการรงั แกกนั เดก็ มีความไวว้ างใจ และกลา้ ท่จี ะเล่าปัญหาใหค้ ุณครฟู งั รวมถงึ มแี นวทางจดั การการรังแกกันในโรงเรยี นได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3. กิจกรรม Power walk (ก้าวเดินแหง่ อำ�นาจ) เปน็ กจิ กรรมท่ี นอกจากน้ีกิจกรรมเพื่อปรับทัศนคติยังช่วยให้วิทยากรมีความเข้าใจ มงุ่ เนน้ ใหค้ ณุ ครเู ขา้ ใจลกั ษณะของเดก็ ทมี่ แี นวโนม้ ถกู รงั แกไดง้ า่ ยเพอ่ื น�ำ ความคิดความรู้สึกของคุณครูมากข้ึนจากการแสดงความคิดเห็นในแต่ละ ไปสูก่ ารวางแผนปอ้ งกันก่อนเกดิ ปัญหาการรงั แกกนั และหาแนวทางใน กิจกรรม อันจะเป็นประโยชน์ในการดำ�เนินกิจกรรมการเรียนรู้ในส่วนต่อไป การชว่ ยเหลือ ใหม้ ีความสอดคลอ้ ง และเหมาะสมกับคุณครมู ากยงิ่ ข้นึ 4. กิจกรรมปรอทความรุนแรง กิจกรรมที่มุ่งเน้นให้คุณครูเข้าใจ ชดุ กจิ กรรมเพอื่ ปรบั ทศั นคตขิ องคณุ ครใู นการปอ้ งกนั และจดั การการรงั แก ความหมายของการรังแกกัน และตระหนักว่าทัศนคติและความเข้าใจ กันในโรงเรียน มีทงั้ หมด 5 กิจกรรม ดังนี้ ท่ีแตกต่าง มีผลกับการให้ระดับความรุนแรงต่อเหตุการณ์การรังแกกัน ท่ีแตกต่างออกไป 5. กิจกรรมเชือกฟางประชาธิปไตย เป็นกิจกรรมเพื่อให้คุณครู สามารถประเมินการปฏิบัติตัวตามบทบาทของตัวเองในเชิงอำ�นาจได้ และตระหนกั ถึงการใชอ้ ำ�นาจของตนเองในทางเหมาะสม 40 คมู่ อื ปฏบิ ตั สิ �ำ หรบั การด�ำ เนินการป้องกนั และจัดการการรงั แกกนั ในโรงเรยี น

กจิ กรรมท่ี 1 หนา้ ตา่ งแหง่ โอกาส วตั ถุประสงค์ เหตุการณต์ ัวอยา่ ง เพ่ือให้คุณครูได้สำ�รวจความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับการรังแกกัน และ 1. ทกุ ครง้ั ท่ีสม้ เดนิ ผ่านแตงโม สม้ จะจ้ีเอวแตงโมทกุ ครง้ั ตระหนกั รวู้ า่ มมุ มองและการตดั สนิ ใจของตนเองนนั้ มผี ลตอ่ การแกป้ ญั หาและ 2. นทั บอกเพ่อื นๆในห้องว่าพอ่ แมข่ องแจนเลกิ กันแล้ว ช่วยเหลือเดก็ เม่อื เกดิ สถานการณ์รังแกกัน 3. แนนแอบถา่ ยรูปนํา้ ตอนหลับและเอาไปโพสตใ์ น Facebook แนวคิดส�ำ คญั ของกจิ กรรม 4. ฟา้ กบั รุ้งไมย่ อมใหน้ ํ้าฝนเลน่ ด้วย คณุ ครไู ดส้ �ำ รวจความเขา้ ใจของตนเองในเรอื่ งการรงั แกกนั ในกลมุ่ นกั เรยี น 5. ตาลไมค่ ุยกบั แบมมาเป็นอาทติ ย์แลว้ และรว่ มรับฟงั ความคดิ เหน็ ของคณุ ครทู ่านอน่ื น�ำ ไปส่กู ารตระหนักรวู้ า่ แต่ละ 6. ฟลคุ๊ บอกไผว่ ่าใหใ้ ช้ยาดับกล่ินกายบ้างนะ บุคคลมีมุมมองความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันเก่ียวกับสถานการณ์การรังแกกัน 7. เพอ่ื นในหอ้ งชอบเรยี กเกศรนิ ทรว์ า่ “กนิ เสลด” แตเ่ ธอไมส่ นใจ และการตดั สินวา่ สถานการณ์นั้นเป็นการรงั แกกันหรอื ไม่ ยอ่ มมีผลตอ่ การแก้ 8. รุ่นพ่ีไม่ยอมให้คนอ่ืนใช้สนามฟุตบอล แม้ในช่วงท่ีตนไม่ได้ ปญั หาและการช่วยเหลือเด็กทงั้ ในด้านบวกและด้านลบ ใช้สนาม รุ่นพีก่ จ็ ะเอาลูกฟุตบอลตดิ ตัวไปด้วย อปุ กรณ์ 9. จอร์ชเลี้ยงไกอ่ ยู่ทบ่ี า้ น เพ่ือนๆจึงเรียกจอร์ชว่าจอ้ ย - ใบเหตุการณต์ ัวอยา่ ง 10. มะมว่ งยืมเงินโจห้ ลายครง้ั และไม่เคยคืนเลย หมายเหตุ : จ�ำ นวนสถานการณท์ นี่ �ำ ไปใชท้ �ำ กจิ กรรมสามารถปรบั เปลยี่ น ให้เหมาะสมกับเวลาท่กี ำ�หนดไว้ในการทำ�กจิ กรรมได้ คมู่ ือปฏบิ ัตสิ �ำ หรับการดำ�เนินการป้องกนั 41 และจัดการการรงั แกกนั ในโรงเรยี น

วิธกี ารดำ�เนินกิจกรรม มุมมองความคิดเห็นต่อสถานการณ์หน่ึงมีท้ังท่ีเห็น 1. จัดทีน่ ง่ั ส�ำ หรับคุณครูทัง้ หมดเปน็ รปู ตวั U เหมือนกัน และเห็นต่างกัน ซึ่งข้ึนอยู่กับการเรียนรู้และ 2. วิทยากรกล่าวทักทายสมาชิก และช้ีแจงแนวทางการทำ�กิจกรรมดังน้ี ประสบการณ์ของแต่บุคคลท่ีได้สัมผัสมาจนนำ�ไปสู่การ “ขอให้คุณครูทุกท่านฟังข้อความที่เป็นสถานการณ์ตัวอย่างทีละ ตัดสินในท่ีสุด ซ่ึงการตัดสินท่ีตัวเด็กและพฤติกรรมว่า ข้อความ จากน้ันขอให้คุณครูตัดสินใจโดยไม่ต้องปรึกษากันว่า เป็นการรังแกหรือไม่ รวมไปถึงตัดสินว่าถูกหรือผิดน้ัน สถานการณ์นั้นเป็นการรังแก หรือไม่รังแกกัน” เมื่อวิทยากรอ่าน มีผลต่อรูปแบบในการช่วยเหลือและส่งผลกระทบต่อตัว สถานการณ์ตัวอย่างจบในแต่ละขอ้ ให้ตามด้วยค�ำ สงั่ ต่อไปน้ที ุกข้อ เด็กทั้งด้านบวกและด้านลบ ดังนั้นหากเกิดสถานการณ์ - “ขอใหค้ ณุ ครยู กมอื ขน้ึ หากคดิ วา่ ขอ้ ความทอ่ี า่ นเปน็ การรงั แกกนั ” รังแกกันขึ้นมา สิ่งสำ�คัญที่ควรทำ�คือเพ่ิมมุมมองการ จากนนั้ ขออาสาสมคั รคณุ ครปู ระมาณ 2 – 3 ทา่ นอธบิ ายเหตผุ ลวา่ รับรู้ของปัญหาท่ีเกิดข้ึนโดยการหาท่ีมา และผลกระทบที่ “เพราะอะไรถึงคิดว่าเป็นการรังแกกัน” จากน้ันวิทยากร เกิดข้ึนก่อนที่จะตัดสิน เพื่อนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาอย่างมี สรุปประเด็นสำ�คัญทคี่ ุณครใู ห้เหตผุ ลอีกคร้งั ประสทิ ธภิ าพ - “ขอให้คุณครูยกมือขึ้น หากเห็นว่าข้อความท่ีอ่านไม่เป็น การรงั แกกนั ” จากนน้ั ขออาสาสมคั รคณุ ครปู ระมาณ 2 – 3 ทา่ น อธิบายเหตุผลว่า “เพราะอะไรถึงคิดว่าไม่เป็นการรังแกกัน” จากน้ันวิทยากรสรปุ ประเด็นส�ำ คัญทีค่ ณุ ครูใหเ้ หตุผลอีกคร้ัง วิทยากรกล่าวสรุปโดยเน้นให้คุณครูเห็นว่าในแต่ละสถานการณ์ บางทา่ นอาจคดิ วา่ เปน็ แคก่ ารเลน่ กนั แตบ่ างทา่ นกค็ ดิ วา่ เปน็ การรงั แกกนั 3. วิทยากรกล่าวสรุปกิจกรรม โดยช้ีให้เห็นว่าคุณครูแต่ละท่านมีความ คดิ เหน็ แตกตา่ งกนั ในเรอื่ งการรงั แกกนั และความเขา้ ใจทแี่ ตกตา่ งกนั น้ี มีผลตอ่ การชว่ ยเหลอื และแก้ปญั หา 42 ค่มู อื ปฏบิ ัติส�ำ หรับการด�ำ เนนิ การป้องกัน และจัดการการรงั แกกนั ในโรงเรียน

วิธีการดำ�เนนิ กจิ กรรม กจิ กรรมที่ 2 ฟังด้วยใจ กิจกรรมหน้าต่างแห่งโอกาสสามารถนำ�ไปปรับใช้กับนักเรียนได้ โดย มีแนวคิดสำ�คัญของกิจกรรมคือให้นักเรียนได้สำ�รวจความเข้าใจของตนเอง เกี่ยวกับการรังแกกัน และชี้ให้เห็นว่าทุกคนมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันใน วัตถุประสงค ์ เรอ่ื งการรงั แกกนั ในสว่ นของการท�ำ กจิ กรรมคณุ ครคู วรมงุ่ เนน้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ เพ่ือเตรียมคุณครูให้พร้อมเปิดใจท่ีจะรับฟังปัญหาของเด็ก และมี ความตระหนักรู้เก่ียวกับมุมมองความคิดเห็นที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล ความเข้าใจรูปแบบการส่ือสารท่ีทำ�ให้เด็กมีความไว้วางใจ และกล้าที่จะเล่า เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารระมดั ระวงั พฤตกิ รรมของตนเองในการปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หา ปัญหาใหค้ ุณครูฟัง การรังแกกัน โดยอธิบายความแตกต่างระหว่างการรังแกกันกับการเล่นกัน แนวคดิ ส�ำ คัญของกจิ กรรม (สามารถศกึ ษารายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ไดใ้ นบทที่ 1 แคไ่ หนทเ่ี รยี กวา่ “รงั แกกนั ”) ให้คุณครูนึกถึงลักษณะของบุคคลท่ีตนเองสามารถพูดคุยเปิดใจได้ เกิด มีผลตอ่ การชว่ ยเหลอื และแก้ปญั หา ความเข้าใจในการแสดงท่าที และเข้าใจรูปแบบการส่ือสารที่ทำ�ให้เด็กมี แนวทางการสรปุ กจิ กรรมสำ�หรบั นกั เรยี น ความไว้วางใจ และกล้าที่จะเล่าปัญหาให้ครูฟัง อีกท้ังได้ตระหนักถึง มมุ มองความคดิ เหน็ ของแตล่ ะคนยอ่ มมคี วามแตกตา่ งกนั เชน่ บางคนคดิ คุณลกั ษณะของคณุ ครูท่ีนกั เรียนไมก่ ล้าเข้าพูดคยุ และเลา่ ปัญหาให้ฟัง ว่าสถานการณ์ท่ียกตัวอย่างนั้นเป็นการรังแกกัน แต่บางคนคิดว่าเป็นแค่การ เล่นกันอย่างสนุกสนานเท่าน้ัน ดังนั้นนักเรียนควรต้องระมัดระวังการกระทำ� อปุ กรณ์ ของตนเองท่ีอาจส่งผลให้เพ่ือนรู้สึกไม่สบายใจ เพราะบางคร้ังสิ่งท่ีเราคิดว่า - กระดาษ A4 ฟลิบชารท์ เป็นแค่การเล่นกับเพ่ือน แต่เพ่ือนนั้นอาจรู้สึกไม่สนุกสนานไปด้วย ซึ่งหากมี - ปากกา ฝ่ายใดฝ่ายหนง่ึ ทเี่ ปน็ ผู้ถูกกระท�ำ รสู้ ึกไมส่ นกุ แล้ว นน่ั แสดงว่าสถานการณน์ ัน้ คอื การรังแกกนั ค่มู ือปฏบิ ัตสิ �ำ หรบั การด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั 43 และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรยี น

วิธีการด�ำ เนินกิจกรรม 1. แจกกระดาษใหค้ ณุ ครทู กุ ท่านๆ ละ 1 แผ่น 7. วิทยากรเปิดประเด็นคำ�ถามดังนี้ “ขอให้ทุกท่านนึกถึงลักษณะของ 2. วทิ ยากรช้ีแจงดงั น้ี “ขอใหค้ ณุ ครูทกุ ทา่ นลองนึกย้อนไปในช่วงวยั เดก็ คนทเ่ี ราไมอ่ ยากเขา้ ไปปรกึ ษาหรอื เลา่ ปญั หาใหฟ้ งั ” และสมุ่ ถามคณุ ครู ในช่วงเวลาที่มปี ญั หา ตนเองมักจะไปปรกึ ษากับใครมากทส่ี ุด และให้ ประมาณ 3 – 4 ทา่ น นึกถึงคุณลักษณะของบุคคลน้ันที่ทำ�ให้ตนเองกล้าที่จะพูดคุยเปิดใจ 8. วทิ ยากรกลา่ วสรปุ ความคิดเห็นคุณลกั ษณะของคนท่ไี มอ่ ยากพดู บอก และกลา้ ทจ่ี ะเลา่ ปญั หาใหฟ้ งั มาทา่ นละ 3 – 5 ขอ้ ใหเ้ ขยี นใสก่ ระดาษ” ปัญหาให้ฟัง และกล่าวเช่ือมโยงลักษณะของคุณครูท่ีนักเรียน 3. วิทยากรขออาสาสมัครมาเล่าให้คุณครูท่านอื่นๆ ฟังเป็นตัวอย่าง ไม่กลา้ เข้ามาปรึกษาหรอื ขอความช่วยเหลือเม่ือถูกรงั แก ประมาณ 3 – 4 ท่าน 9. วทิ ยากรกล่าวสรปุ กิจกรรม 4. วทิ ยากรช้แี จงดงั น้ี “ขอใหท้ กุ ท่านจับกลมุ่ ๆ ละ 6 – 7 ทา่ น เพอ่ื รว่ ม พูดคุย และสรุปคุณลักษณะของบุคคลที่ตนเองสามารถพูดคุยเปิดใจ กล้าท่ีจะเล่าปัญหาให้ฟัง โดยให้เขียนสรุปใส่กระดาษฟลิปชาร์ท กลมุ่ ละ 1 แผ่น 5. วิทยากรใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนนำ�เสนอสิง่ ทีเ่ ขยี นสรุปได้ 6. วิทยากรกล่าวเชื่อมโยงลักษณะของคุณครูที่นักเรียนกล้าเล่าเร่ือง ทา่ ทีของคุณครูทพ่ี ร้อมจะรับฟัง มีการ การถกู รังแก/หรือขอความช่วยเหลือได้ จากสง่ิ ทคี่ ุณครูไดน้ �ำ เสนอ ซกั ถามทม่ี าของเรอ่ื งราว โดยไมด่ ่วนสรปุ แนวคดิ สำ�คญั ทคี่ วรได้ ตดั สินวา่ ใครผิดหรอื ถูกน้นั มสี ว่ นทำ�ให้ - มที ่าทีรับฟงั อยา่ งต้ังใจ นักเรยี นมคี วามกลา้ ท่จี ะเปิดเผย และเล่า - ไม่รบี ตัดสินว่าใครถูกหรอื ผดิ ความจรงิ ใหฟ้ งั 44 คมู่ ือปฏบิ ตั สิ ำ�หรับการดำ�เนนิ การป้องกัน และจดั การการรังแกกันในโรงเรียน

กจิ กรรมที่ 3 Power walk (กา้ วเดนิ แหง่ อำ�นาจ) อุปกรณ ์ - ใบเหตกุ ารณต์ ัวอยา่ ง วตั ถปุ ระสงค ์ เพื่อให้คุณครูเข้าใจลักษณะของเด็กที่มีแนวโน้มถูกรังแกได้ง่ายเพ่ือนำ� เหตกุ ารณ์ตัวอย่าง ไปสู่การวางแผนป้องกันก่อนเกิดปัญหาการรังแกกันและหาแนวทางในการ - ฉนั สามารถส่ังให้เพ่อื นในหอ้ งสนใจฟงั ครูได้ ชว่ ยเหลือ - เม่อื ฉันพดู แลว้ เพื่อนๆมักจะสนใจฟงั ฉนั - ฉนั ชอบทจ่ี ะแทรงควิ เพอื่ นเพือ่ ซ้ืออาหาร แนวคดิ สำ�คญั ของกจิ กรรม - ฉนั จะล้อช่อื พ่อแมใ่ ครกไ็ ดท้ ่ีฉันไม่ชอบ คณุ ครเู ขา้ ใจความแตกตา่ งของอ�ำ นาจทอี่ าจสง่ ผลตอ่ การรงั แกกนั รวมถงึ - ถ้าฉันถกู กีดกันไมใ่ หเ้ ขา้ กลมุ่ ฉันสามารถขอความชว่ ยเหลือ มีความเข้าใจลักษณะของเด็กท่ีมีแนวโน้มถูกรังแกได้ง่าย เพ่ือนำ�ไปสู่การ จากครไู ด้ วางแผนป้องกันก่อนเกิดปัญหาการรังกันและหาแนวทางในการช่วยเหลือ - ฉันหยิบของเพอื่ นไดโ้ ดยไม่ต้องขออนญุ าต ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ - ฉนั สามารถรีดไถเงินจากรุน่ นอ้ งไดเ้ สมอ - ฉนั กลา้ ที่จะฟ้องครูเมือ่ เหน็ เพอื่ นรงั แกกนั ในหอ้ งเรียน - ครมู ักจะใหอ้ ภสิ ทิ ธิ์พเิ ศษฉนั เสมอ - ฉนั กล้าท่ีจะโต้ตอบเพื่อนที่มารงั แกฉัน อปุ กรณ ์ เด็กหลังหอ้ ง (หวั โจก) หวั หน้าห้อง วธิ ีการด�ำ เนินกจิ กรรม - ป้ายชื่อบทบาท เด็กเรยี นอ่อน เด็กเข้าใหม่ 1. จัดท่นี ัง่ สำ�หรับคณุ ครทู ้งั หมดเป็นรปู ตวั U 2. วทิ ยากรขอตวั แทนคณุ ครู 6 ท่านตามความสมคั รใจ เดก็ เรยี นเก่ง 3. วทิ ยากรกำ�หนดบทบาทใหค้ รูแตล่ ะท่าน ประกอบด้วย เด็กพเิ ศษ 3.1 เดก็ เรยี นเก่ง 3.2 เดก็ หลังหอ้ ง (หวั โจก) 3.3 หวั หน้าหอ้ ง 45 3.4 เด็กพเิ ศษ 3.5 เดก็ เรียนอ่อน 3.6 เดก็ เขา้ ใหม่ คู่มือปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั การดำ�เนนิ การปอ้ งกนั และจัดการการรงั แกกนั ในโรงเรยี น

4. วทิ ยากรจดั ต�ำ แหนง่ ใหค้ ณุ ครทู ง้ั 6 ทา่ น ยนื เปน็ แถวหนา้ กระดาน และ 9. วิทยากรให้คุณครตู ัวแทนทัง้ 6 ทา่ น กลับไปนง่ั ที่เดมิ และเปิดโอกาส กล่าวน�ำ เกี่ยวกับบทบาทท่ีแตล่ ะท่านไดร้ บั ดงั นี้ “ขอใหค้ ุณครูตวั แทน ใหค้ ุณครทู ่านอน่ื ๆ (ประมาณ 4 – 5 ท่าน) ที่เปน็ ผ้สู ังเกตการณ์แสดง ทั้ง 6 ท่านทำ�ความเข้าใจบทบาทท่ีตัวเองได้รับ และสวมบทบาทน้ัน ความคิดเห็นในประเด็นดังต่อไปน้ี “หากนักเรียนแต่ละกลุ่มใน จนจบกิจกรรมน”ี้ หอ้ งเรียนมีอ�ำ นาจแตกตา่ งกนั แบบน้ี จะมขี อ้ ดี และขอ้ เสยี อยา่ งไร” 5. วิทยากรช้ีแจงคุณครูดังนี้ “ขอให้คุณครูตัวแทนท้ัง 6 ท่านฟังโจทย์ โดยวิทยากรอาจช้ีชวนให้คุณครูแสดงความคิดเห็นจาก ต่อไปน้ี และพจิ ารณาวา่ บทบาทที่ทา่ นได้รบั นั้น สามารถท�ำ ตามโจทย์ ประสบการณ์ท่ีคุณครูพบในช้ันเรียนของตนเองเพ่ือให้เห็น ได้หรือไม่ ถ้าทำ�ได้ให้ตัดสินใจก้าวไปข้างหน้า 1 ก้าว แต่หากคิดว่า ภาพชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ และกลา่ วสรปุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของขอ้ ดี และ ทำ�ไม่ได้ ให้หยุดอยู่กับที่ ส่วนคุณครูท่านอื่นๆ ที่น่ังอยู่ขอให้สังเกต ข้อเสียจากการแสดงความคิดเหน็ ของคณุ ครอู ีกครง้ั ต�ำ แหน่งทยี่ นื อยู่ของคุณครทู งั้ 6 ทา่ น” 10. วิทยากรกล่าวสรุปกิจกรรม โดยชี้ให้เห็นว่าความแตกต่างทาง 6. เมื่อวทิ ยากรอ่านโจทยค์ รบทุกข้อ ใหช้ แี้ จงคุณครูต่อดงั นี้ “ขอให้ทา่ น อำ�นาจของนักเรียนในแต่ละห้องเรียนที่มีไม่เท่ากันซ่ึงอาจนำ�ไปสู่ หยุดอยู่ที่ตำ�แหน่งเดิมของตัวเอง และสังเกตตำ�แหน่งท่ียืน การรังแกกนั ได้ ของทา่ นอน่ื ๆ” 7. วิทยากรตัง้ ประเด็นคำ�ถามคุณครูทเี่ ปน็ ตวั แทนทีละทา่ น ดงั น้ี การรงั แกกันทเี่ กดิ ขึน้ ระหวา่ งนกั เรียนสัมพนั ธ์กบั ความแตกต่างหรือ - “เมอ่ื เปรยี บเทยี บต�ำ แหนง่ ทท่ี า่ นยนื อยกู่ บั ต�ำ แหนง่ ยนื ของทา่ นอน่ื ๆ ไมเ่ ทา่ เทยี มระหว่างอำ�นาจของแตล่ ะคน ซง่ึ นักเรยี นที่มีอำ�นาจเหนือกว่า ทา่ นมคี วามคดิ เหน็ และรูส้ ึกอยา่ งไรบา้ ง” เช่น มรี า่ งกายแข็งแรงกว่า หรือสถานะทางสงั คมเหนอื กวา่ มแี นวโนม้ - “เพราะอะไรถงึ คิดวา่ ตนเองจึงอย่ใู นตำ�แหน่งน”ี้ ท่ีจะเปน็ ผ้รู งั แกคนท่มี ีอ�ำ นาจนอ้ ยกวา่ ได้ ดงั น้นั การที่คุณครสู ามารถ โดยวทิ ยากรพยายามชวนใหค้ ณุ ครคู ดิ วเิ คราะหแ์ ละตอบค�ำ ถาม สงั เกตเห็นเดก็ ท่ีมแี นวโนม้ ทจ่ี ะถูกรังแกไดง้ า่ ยไดอ้ ย่างรวดเรว็ อาจช่วย ตามบทบาทท่ีได้รับมากกว่าตอบตามบทบาทของความเป็น ปอ้ งกนั การรังแกกนั รวมไปถงึ สามารถชว่ ยเหลือเดก็ กลุ่มนี้ได้อยา่ งมี คุณครู เพ่ือให้เข้าใจความคิด / ความรู้สกึ ของนกั เรียนมากทส่ี ุด 8. วทิ ยากรกลา่ วสรปุ เชอื่ มโยงระหวา่ งต�ำ แหนง่ ทยี่ นื กบั อ�ำ นาจทางสงั คม ประสิทธิภาพเมือ่ เกิดเหตกุ ารณข์ ้นึ จริง ดงั น้ี “ต�ำ แหนง่ ทที่ า่ นยนื นน้ั มคี วามส�ำ พนั ธก์ บั อ�ำ นาจทางสงั คม ทา่ นที่ ยืนอย่หู น้าสุด แสดงถึงการมีอำ�นาจทางสงั คมมากท่ีสดุ ส่วนท่านทยี่ ืน อยู่หลังสุดนั้น แสดงถึงการมีอำ�นาจทางสังคมน้อยท่ีสุด ซ่ึงในแต่ละ หอ้ งเรยี นยอ่ มมนี กั เรียนที่มีอำ�นาจทางสงั คมแตกตา่ งกนั ” 46 คมู่ ือปฏิบัตสิ �ำ หรับการด�ำ เนนิ การปอ้ งกัน และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรยี น

กิจกรรมที่ 4 ปรอทความรุนแรง วัตถุประสงค ์ วิธกี ารดำ�เนนิ กจิ กรรม เพื่อใหค้ ุณครเู ข้าใจความหมายของการรังแกกัน และตระหนักว่าทัศนคติ กิจกรรมนำ� และความเขา้ ใจทแี่ ตกตา่ ง มผี ลกบั การใหร้ ะดบั ความรนุ แรงตอ่ เหตกุ ารณก์ าร 1. วิทยากรกล่าวทักทายคุณครู และชี้แจงดังนี้ “ขอให้ทุกคนเดินซ้อน รงั แกกันที่แตกต่างออกไป กันเปน็ วงกลม ให้ใช้สว่ นตา่ งๆ ของร่างกายสัมผสั กันเพื่อการทกั ทาย แนวคิดส�ำ คญั ของกจิ กรรม อีกฝ่ายหน่ึงโดยไม่พูดกัน และไม่บอกล่วงหน้า เช่น เอามือตีกัน คณุ ครมู คี วามเขา้ ใจความหมายของค�ำ วา่ “การรงั แกกนั ” และตระหนกั วา่ เอาไหล่ชนกัน” ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั สถานการณ์การรงั แกกัน ทศั นคติ และประสบการณ์เดมิ 2. วทิ ยากรสุม่ ถามคุณครูประมาณ 3 – 4 ทา่ น ดังนี้ ของแตล่ ะบคุ คลนน้ั มผี ลตอ่ การใหร้ ะดบั ความรนุ แรงของสถานการณร์ งั แกกนั - “รสู้ ึกอย่างไรที่มคี นมาสัมผัส” ซึง่ จะมผี ลตอ่ รปู แบบในการช่วยเหลอื เด็กตอ่ ไป - “ชอบไหมหากอกี ฝา่ ยสัมผสั รุนแรง” อุปกรณ ์ - “โกรธไหมหากอีกฝ่ายสัมผัสรุนแรง” - กระดาษ A4 หากสมาชกิ บอกวา่ โกรธ ใหถ้ ามตอ่ วา่ “เพราะอะไรถงึ โกรธ” แตห่ าก - ปากกา / ดนิ สอ ปากกาเมจิก สมาชิกบอกวา่ ไม่โกรธถามตอ่ วา่ “เพราะอะไรถงึ ไมโ่ กรธ” - ฟลปิ ชารท์ วิทยากรกล่าวสรุปคำ�ตอบและความคิดเห็นของคุณครู และเชื่อมโยงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงกับผลลัพธ์ที่ตามมา ดังน้ี “เมื่อมีการกระทบกระทั่งกัน ไม่ว่าจะทำ�ด้วยเจตนาหรือไม่ อาจส่งผล ต่อความรู้สึกของผู้ถูกกระทำ� ซึ่งจะรู้สึกอย่างไรก็ข้ึนอยู่กับมุมมอง การรับรู้ จากประสบการณ์เดมิ ของตนเอง” คู่มอื ปฏบิ ตั ิส�ำ หรบั การด�ำ เนินการปอ้ งกัน 47 และจัดการการรังแกกนั ในโรงเรียน

ตัวอย่าง สถานการณ์การรงั แกกัน กิจกรรมหลัก 1. วิทยากร ให้คุณครจู ับกลุม่ กลมุ่ ละ 6 – 7 ท่าน 2. วิทยากรให้คำ�ช้ีแจง “อยากให้ทุกท่านย้อนกลับไปช่วงวัยเด็ก กลุ่มท่ี 1 กลุ่มท่ี 2 กลุม่ ที่ 3 ชั้นเรียนไหนก็ได้ ท่านเคยมีประสบการณ์ถูกรังแก หรือมี 5 5 5 ความเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การรังแกกันแบบใดบ้าง ให้เขียนถึง 4 4 4 สถานการณน์ ้ันแบบสั้นๆ ใส่กระดาษ โดยองคป์ ระกอบของข้อความ 3 3 3 ท่ีเขียน คอื มีผ้กู ระท�ำ พฤตกิ รรม และผู้ถกู กระทำ�” 2 2 2 3. วิทยากรให้แต่ละกลุ่มแบ่งปันเร่ืองราวของตนเองภายในกลุ่มทุกคน 1 1 1 ประมาณ 10 นาที 4. วทิ ยากรให้แต่ละกล่มุ คัดเลือกสถานการณ์ที่นา่ สนใจ 1 สถานการณ์ และเล่าให้กลมุ่ อื่นฟัง จากนนั้ วทิ ยากรอธบิ ายค�ำ จ�ำ กดั ความของการ รังแกโดยสรุปดังนี้ “การรังแกกัน (bullying) ประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1. มงุ่ รา้ ย ตงั้ ใจท�ำ รา้ ยจติ ใจหรอื รา่ งกาย เชน่ ตงั้ ใจ 6. เมอื่ ทกุ กลมุ่ ใหค้ ะแนนความรนุ แรงทกุ สถานการณแ์ ลว้ วทิ ยากรกลา่ ว ท�ำ รา้ ยผูอ้ ืน่ 2. พฤติกรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ ซํา้ ๆ 3. มักมพี น้ื ฐานมาจากการ สรุปส้นั ๆ ดงั นี้ “ในสถานการณ์การรังแกเดยี วกัน คุณครแู ต่ละท่าน มีอำ�นาจเหนือกว่า เช่น ร่างกายแข็งแรงกว่า หรือสถานะทางสังคม อาจจะมคี วามร้สู ึก หรือความคดิ เห็นตอ่ สถานการณ์แตกตา่ งกันได”้ เหนอื กวา่ ” 7. วิทยากรสุ่มถามคุณครูประมาณ 2 – 3 ท่าน ในประเด็นดังน้ี 5. วทิ ยากรเขยี นสถานการณท์ แี่ ตล่ ะกลมุ่ เลอื กบนฟลปิ ชารท์ และชแ้ี จง - “ท่านคิดว่า คนที่ให้คะแนนความรุนแรงในระดับตำ่� เช่น 0 - 1 สมาชกิ ดงั น้ี “ขอใหค้ ณุ ครปู รกึ ษากนั ภายในกลมุ่ และสง่ ตวั แทนออกมา เขาจะแสดงออก หรือปฏิบัติต่อเหตุการณ์การรังกันต่างจากผู้ให้ ระบายสีความรุนแรงในปรอทความรุนแรงของเหตุการณ์นั้นตาม คะแนนความรุนแรงในระดับทสี่ งู เช่น 4 – 5 อยา่ งไร” ความรู้สึกว่าอยู่ในระดับเท่าไร จาก 0 – 5 โดย 0 คือรู้สึกว่าไม่มี ความรนุ แรงเลย และ 5 คอื รู้สึกว่ามคี วามรนุ แรงมากทส่ี ุด ขอให้ทำ� - “ทา่ นคดิ วา่ ความรนุ แรงของการรงั แกกนั ระดบั ใดทท่ี า่ นคดิ วา่ ควร จนครบทกุ สถานการณ”์ (วทิ ยากรวาดปรอทความรนุ แรงตามจ�ำ นวน จะเข้าไปช่วยเหลอื จาก 0 – 5” กลุม่ ทมี่ ีท้ังหมดในแต่ละสถานการณ์) 8. วิทยากรกล่าวสรุปกิจกรรม 48 คูม่ อื ปฏิบตั สิ �ำ หรับการดำ�เนินการป้องกัน และจดั การการรงั แกกันในโรงเรยี น

กจิ กรรมที่ 5 เชอื กฟางประชาธปิ ไตย กลมุ่ บัตรสถานการณท์ แี่ สดงถงึ การเป็นคุณครูเจา้ อำ�นาจ (Authoritarian teaching style) วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้คุณครูสามารถประเมินการปฏิบัติตัวตามบทบาทของตัวเอง ตีโจท้ ่หี น้าเสาธง เพราะโจม้ าสาย ส่ังใหจ้ อรช์ ขอโทษแดนทนั ที ในเชงิ อำ�นาจได้ และตระหนกั ถงึ การใช้อ�ำ นาจของตนเองในทางเหมาะสม เมอ่ื เหน็ จอร์ชเดนิ ชนแดน แนวคดิ ส�ำ คญั ของกจิ กรรม คุณครูได้ทบทวนการปฏิบัติตัวของตนเองต่อนักเรียน มีความเข้าใจ ตดั สนิ วา่ มะม่วงผดิ ทนั ที เมื่อเห็น แดนกับฟล๊คุ ต่อยกนั ในหอ้ งเรยี น การแสดงอ�ำ นาจในรปู แบบตา่ งๆ เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ติ วั ตอ่ นกั เรยี นไดอ้ ยา่ ง วา่ มะม่วงหยบิ ของเพ่ือนไป จงึ ตที ง้ั คูท่ นั ที เหมาะสม อปุ กรณ์ ออกกฎให้นกั เรียนท�ำ ตามโดยไมถ่ ามความสมัครใจของนกั เรยี น - เชือกฟาง - ไม้หนีบบัตรค�ำ กลุ่มบัตรสถานการณ์ท่ีแสดงถึงการเป็นคุณครูที่ไม่แสดงอำ�นาจอะไรเลย - บัตรสถานการณ์ และยอมตามเสมอ (The permissive teacher) ปลอ่ ยให้แมนพูดล้อชอ่ื พอ่ แม่ฟลุ๊ค ปลอ่ ยใหส้ ม้ โอกดี กันแนน เพราะเห็นเพอื่ นๆ ในหอ้ งข�ำ ไม่ให้เขา้ กล่มุ เชือ่ ท่ีไผ่บอกว่าไม่ได้ตอ่ ยนัท โดยไมถ่ าม ปล่อยให้มะม่วงพดู แซวแนน นทั กอ่ นและไม่ได้จัดการอะไรเลย อย่างสนกุ สนาน เห็นตใี๋ หญ่เดนิ ชนไอซแ์ รงๆ แตไ่ มไ่ ด้จดั การอะไรเพราะคิดว่า เป็นการทกั ทายกนั คูม่ ือปฏิบัติสำ�หรับการดำ�เนนิ การปอ้ งกนั 49 และจัดการการรังแกกนั ในโรงเรียน

กลุ่มบัตรสถานการณ์ทแ่ี สดงถงึ การเปน็ คุณครปู ระชาธปิ ไตย วา่ บตั รสถานการณน์ สี้ มควรอยใู่ นต�ำ แหนง่ น”ี้ หากคณุ ครสู ว่ นใหญเ่ หน็ ถามเหตกุ ารณท์ เี่ กิดขึน้ เม่อื เหน็ ใหฟ้ า้ อธิบายเหตผุ ล ว่าบัตรสถานการณ์ควรอยู่ในตำ�แหน่งน้ี ให้วิทยากรหยิบบัตร แมนกบั แบงค์ทะเลาะกัน ทีไ่ มย่ อมใหฝ้ นเล่นดว้ ย สถานการณ์อันต่อไปและถามคำ�ถามเดิม แต่หากคุณครูส่วนใหญ่ ไม่เห็นด้วยให้ถามต่อว่า “บัตรสถานการณ์น้ีควรเลื่อนไปตำ�แหน่งใด รับฟังเหตุผลของโจ้ที่ ก่อนลงโทษถามเหตผุ ลของไผ่ และเพราะเหตุใด” ทำ�จนครบทุกอัน โดยหากคุณครูวางในตำ�แหน่ง บอกวา่ มาสาย ท่ีเอาของเพ่ือนไปและไม่คนื ไม่ถูกต้อง ให้วิทยากรเฉลยและอธิบายเหตุผล และนำ�ไปวางใน รว่ มหาทางออกกับนักเรียนเพ่ือไม่ให้ลอ้ เลยี นชอื่ พอ่ แม่กัน ตำ�แหน่งทถี่ ูกต้อง 4. วิทยากรกล่าวนำ�ให้คุณครูได้ทบทวนตัวเอง และสุ่มถามคุณครู วธิ กี ารด�ำ เนนิ กิจกรรม ประมาณ 4 – 5 ทา่ นดงั นี้ “ขอใหท้ กุ ทา่ นพจิ ารณาวา่ ตวั เองอยใู่ นจดุ ใด 1. วทิ ยากรขออาสาสมคั รคณุ ครู3ทา่ นและชแ้ี จงดงั น้ี“ขอใหค้ ณุ ครู2ทา่ น บนเชอื กฟาง และคิดวา่ ตำ�แหนง่ ดังกลา่ ว ชว่ ยลดหรอื เพิ่มปญั หาการ ถือปลายเชือกฟางแต่ละด้านและขึงในทิศทางทแยงมุมห้อง ขอให้ รงั แกกนั ในโรงเรียนเพราะเหตใุ ด” คณุ ครูทอ่ี ยู่ปลายขา้ งหนึ่ง เป็นผู้มบี คุ ลิกของการเป็นคุณครเู จา้ อำ�นาจ 5. วิทยากรกล่าวสรุปลักษณะของคุณครูที่มีส่วนส่งเสริมวัฒนธรรมการ (Authoritarian teaching style) ส่วนปลายอีกข้างหน่ึง เป็นครูท่ี รงั แกกนั ในโรงเรยี น เพอ่ื ใหค้ ณุ ครมู คี วามเขา้ ใจและไดท้ บทวนตวั เองวา่ ไมแ่ สดงอ�ำ นาจอะไรเลย และยอมตามเสมอ (The permissive teacher) อยูใ่ นลกั ษณะใด สว่ นจุดกึง่ กลางของเชอื กฟาง เปน็ คณุ ครูท่ีมีลักษณะเปน็ ประชาธิไตย 6. วิทยากรกล่าวสรปุ กจิ กรรม คอื รับฟังความคดิ เหน็ ของนักเรยี นและครคู นอน่ื ” 2. วิทยากรชี้แจงแนวทางการทำ�กิจกรรมดังนี้ “ต่อไปจะแจกบัตร สถานนการณ์ให้คุณครูท่านอื่นๆ ท่านละ 1 ใบ และขอให้คุณครู ความสัมพนั ธร์ ะหว่างครแู ละนักเรยี น ท่ีมคี วามเป็นประชาธปิ ไตย โดย อยตู่ รงกลางระหวา่ งการมีอ�ำ นาจมาก และการยอมตามน้นั จะช่วย พิจารณาบัตรสถานการณ์ที่ได้รับ จากน้ันนำ�บัตรสถานการณ์น้ันไป ใหค้ รูเปน็ แบบอย่างทีด่ ตี ่อนักเรียน ในการใชอ้ �ำ นาจอยา่ งเหมาะสม คล้องบนเชอื กฟางในตำ�แหน่งทีเ่ หมาะสม” และสามารถจัดการกบั ปญั หาการรงั แกกนั ของนกั เรยี นไดอ้ ยา่ งมี 3. เม่ือคุณครูคล้องบัตรสถานการณ์จนครบแล้ว วิทยากรหยิบบัตร สถานการณข์ นึ้ มาทลี ะอนั และตงั้ ค�ำ ถามดงั นี้ “ทกุ ทา่ นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ ประสิทธภิ าพยงิ่ ข้ึน 50 คูม่ ือปฏบิ ตั สิ �ำ หรบั การดำ�เนินการป้องกัน และจดั การการรงั แกกันในโรงเรียน



5บทท่ี ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียนรวมถึงความรู้สึกเช่ือใจ ได้รับ การสนับสนนุ และได้รบั การยอมรบั และมกี ารควบคุมพฤตกิ รรมเชิงบวกนนั้ ควากมารสสัมร้าพง ันธ์ สง่ ผลเปน็ พนื้ ฐานส�ำ คญั ของการปอ้ งกนั การรงั แกกนั ในโรงเรยี น การอบรมเดก็ น้ันแบง่ ได้ 3 ประเภทคอื ระหว่างครกู ับนักเรียน 1. การสอนด้วยความเอาใจใส่ (Authoritative Teaching Style) คอื การที่ครมู ีความชดั เจนเก่ียวกบั พฤติกรรมทีย่ อมรับไดแ้ ละยอมรบั ไม่ได้ มี ความคงเสน้ คงวาและตดิ ตามผล ครใู หค้ วามเอาใจใสเ่ กย่ี วกบั นกั เรยี นแตล่ ะคน ไมท่ �ำ ให้นักเรียนเปน็ ตัวตลกและถากถาง 2. การสอนอย่างควบคมุ (Authoritarian Teaching Style) การท่ี ครูออกค�ำ สงั่ ใหเ้ ด็กเกรงกลัว บางครงั้ ใชค้ ำ�พดู ในการถากถางเพอื่ ทจี่ ะควบคมุ ช้ันเรียน 3. การสอนแบบตามใจ (Permissive Teaching Style) ไมค่ งเสน้ คงวา ไม่ชดั เจนเกย่ี วกบั สิ่งทที่ �ำ ไดแ้ ละทำ�ไม่ได้ ค่มู ือปฏบิ ตั ิสำ�หรบั การด�ำ เนนิ การป้องกัน 51 และจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

พน้ื ฐานส�ำ หรบั การสอนดว้ ยความเอาใจใส่ (Authoritative Teaching Style) Authoritative Teaching สิง่ ทคี่ วร (Do) Style นนั้ ทำ�ให้เกิดส่งิ แวดลอ้ มที่ปลอดภัยและ มีการจัดการท่ีดี มแี ผนการสอนและจุดประสงค์ในการสอนทช่ี ดั เจน สิ่งทไ่ี มค่ วร (Don't) เกิดการเรยี นรู้ท่ดี ีข้นึ โดย  ปรบั วิธีการสอนไดต้ ามความถนดั และลกั ษณะในการเรียนของเดก็  มีอคติ หรอื มเี ด็กนักเรียนคนโปรด ช่วงแรกของปีครูเน้นในการ  สนใจ ช่ืนชอบในวชิ าทีส่ อน  ถากถางหรือทำ�ให้เดก็ เสียกำ�ลังใจ สรา้ งความสัมพนั ธ์และ  ตอบสนองอยา่ งเหมาะสมและไวตอ่ พฤตกิ รรมตอ่ ตา้ นสงั คมของเดก็  พยายามเปน็ สว่ นหนึ่งในกลมุ่ เดก็ เช่ือมโยงกับเดก็ มากกว่า  มองหาข้อดีของเดก็ ของเดก็ เพ่ือทจี่ ะชน่ื ชมและใหก้ ารสนบั สนุน หรอื โอนออ่ นผอ่ นตามมากเกินไป หลกั สตู รการเรียนซึ่งจะมา  ท�ำ ให้ห้องเรยี นปราศจากการเยาะเย้ยถากถาง  มีความคาดหวังท่ีเหมาะสมกับเด็กแต่ละคน เพื่อให้เด็กสามารถ เนน้ ชว่ งหลงั พัฒนาตวั เองได้ Authoritative  สามารถจดั การความขดั แยง้ และแกไ้ ขปญั หาไดด้ ี Teaching Style นั้น  มกี ารสอื่ สารท่ีเป็นบวก จ�ำ เปน็ ท่คี รจู ะตอ้ งรู้สกึ  ให้ feed back เดก็ เพอ่ื สร้างความกระตอื รอื รน้ ในการเรียน ปลอดภยั และถกู สนับสนนุ  กระตุ้นให้เดก็ คิดและมสี ่วนร่วมและมีความสมั พันธท์ ด่ี รี ะหว่างกัน จากระบบในโรงเรยี น  มคี วามรูเ้ รอื่ งพัฒนาการตามวยั ของเดก็ เชน่ เดียวกันกบั  เป็นตวั อยา่ งท่ีดใี นการช่วยเหลือคนอน่ื สิ่งทนี่ กั เรียนได้รับ 52 คู่มอื ปฏบิ ตั สิ ำ�หรับการด�ำ เนินการปอ้ งกัน และจดั การการรังแกกันในโรงเรียน

ตัวอย่างวธิ กี ารสร้างความสมั พันธท์ ่ดี ีกบั นกั เรียน 04 ใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ของชน้ั เรยี น 01 วงกลมกลั ยาณมติ ร - มชี ่วงเวลาท่ีช้นั เรียนไดม้ าพูดคุยกนั ทกุ วัน - ตั้งแต่เร่ิมต้นช้ันปี ให้เด็กนักเรียนได้ออกความเห็นและมีส่วนร่วม - เลือกเหตุการณ์มาสนทนาแลกเปลี่ยนความเห็นกัน ต่อกระบวนการในช้ันเรียน เช่น การทำ�เวร การกำ�หนดการเลือก - ครเู ปน็ ตวั อย่างในการรับฟัง ชวนให้เด็กคิด แกป้ ญั หา ไมต่ ดั สิน หวั หนา้ ห้อง การจดั ตารางชั้นเรียนบางอยา่ ง - ครสู ามารถแลกเปลยี่ นมมุ มอง ความคดิ ความรสู้ กึ ของครู - ให้นักเรียนบอกความต้องการของตนเอง อย่างเช่น ต้องการที่จะ ตอ่ เหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ข้ึนร่วมกับเดก็ ถูกปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรจากครแู ละเพอ่ื นนักเรยี น และเขียนติดไวท้ ่บี อรด์ - ใหค้ ุณคา่ กบั ความรว่ มมอื กันมากกวา่ การแขง่ ขนั ในห้องเรียน - สรา้ งทัศนคติกบั นกั เรยี นวา่ คนเราสามารถทำ�ผิดพลาด 05 ใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มกบั โรงเรยี นและชมุ ชน และเรียนรู้จากความผดิ พลาดได้ - สนบั สนนุ ใหน้ ักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมนอกหลกั สตู รในโรงเรียน 02 สรา้ งความสนใจในตวั เดก็ เชน่ ดนตรี กีฬา ศลิ ปะ - สนับสนุนให้นักเรียนทำ�กิจกรรมอาสาช่วยเหลือโรงเรียนและชุมชน - หาโอกาสท�ำ ความรู้จกั ตัวเด็ก หรอื เข้าร่วมกจิ กรรมนอกโรงเรยี น เชน่ อนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม ชว่ ยเหลือการเรยี นรุ่นนอ้ ง เชน่ การแสดงดนตรขี องเดก็ การแข่งฟุตบอลของเด็ก - ส่ือสารกับครอบครัวอย่างสม่ําเสมอถึงแนวทางท่ีสามารถ - ทกั ทายเรียกชอ่ื เดก็ เวลาท่เี จอ ชว่ ยพฒั นานกั เรียนได้ 03 คาดหวงั อยา่ งเหมาะสมในตวั นกั เรยี น และแสดงออกถงึ ความหวงั ในตวั นกั เรยี นเสมอ - สอ่ื สารทง้ั ทางภาษาพดู และภาษากายวา่ มคี วามหวงั กบั นกั เรยี นอยเู่ สมอ - เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเอง เพื่อให้เกิด ความภาคภมู ิใจในตนเอง - ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการบรรลุเป้าหมายของนกั เรียน คูม่ อื ปฏิบัตสิ �ำ หรับการด�ำ เนินการปอ้ งกัน 53 และจดั การการรังแกกันในโรงเรียน

ตวั อย่างกจิ กรรม ท่ีสามารถใช้ในช่วั โมงโฮมรูม ในช่ัวโมงโฮมรูม ครูให้นักเรียนใช้เวลาอยู่กับตัวเองประมาณ 5 นาที หลงั จากนน้ั ให้ตวั แทนนักเรียนประมาณ 4-5 คนออกมาแสดงท่าทางทีแ่ สดง ถึงส่ิงท่ีตัวเองรู้สึกอยู่ แล้วให้เพ่ือนทำ�ท่าตาม ถามนักเรียนเล็กน้อยเกี่ยวกับ ทา่ ทางทเี่ ด็กแสดงออกมาเท่าท่เี ดก็ อยากจะเล่าใหฟ้ งั 54 คูม่ อื ปฏิบตั สิ ำ�หรับการด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั และจัดการการรังแกกนั ในโรงเรียน



6บทที่ การจดั บรรยากาศและส่ิงแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน ซงึ่ รวมถึงการสร้างระเบียบวินยั กฎกตกิ าในห้องเรยี น เพื่อรกั ษาสภาพบรรยากาศในห้องเรียน เอ้ือต่อการเรยี นรขู้ องนักเรียน ช่วยใหน้ ักเรียนเกดิ ความร่วมมอื ใน การจัดการ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการปอ้ งกนั การรงั แกกัน ชน้ั เรยี น ระหวา่ งครูกับนกั เรยี น ตารางแสดงการเปรียบเทียบความหมายของการสรา้ งวนิ ยั กับการลงโทษ การสร้างวินยั การลงโทษ การสร้างวินัยเชิงบวก  พดู คยุ ตกลงกนั ถงึ กฎระเบยี บทคี่ วรปฏบิ ตั ิ  ขม่ ขูห่ รือบอกห้ามทำ�สง่ิ ใด โดยไมบ่ อก  ปลกู ฝังการมวี นิ ยั ในตนเอง สามารถคดิ เหตุผล คือ การปลูกฝังเด็กให้มีพฤติกรรมท่ีดีโดยผู้ใหญ่ ได้ว่าสง่ิ ใดควรหรอื ไมค่ วรทำ�  สอนเดก็ ใหท้ �ำ ดีเฉพาะตอนทีอ่ าจจะ ไม่ใช้ความรุนแรง และเคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์  เคารพในเดก็ และมองในดา้ นบวก ถกู จบั ได้ว่าทำ�ผิด ของเด็ก เพ่ือเสริมสร้างความสามารถ ความเชื่อม่ัน  เปิดโอกาสให้เดก็ ทุกคนได้แสดง  ไม่เคารพเดก็ และมองในดา้ นลบ ในตนเอง เข้าใจพฤติกรรมของตนเอง ปลูกฝังให้เด็ก ความคดิ เห็นและมสี ว่ นรว่ ม  การใหค้ วามส�ำ คญั กบั เด็กเฉพาะกลุ่ม มีกระบวนการคิดเชิงบวกและปฏิบัติตามกฎระเบียบ  คุณครูคอยรับฟงั ปญั หาของเด็กและเปน็  คอยจบั ผดิ เรอื่ งเลก็ ๆน้อยๆอยู่ตลอดเวลา ไดด้ ว้ ยตนเองทงั้ ในระยะสน้ั และระยะยาว ซ่ึงตา่ งจาก ตัวอยา่ งท่ีดี จนท�ำ ให้เดก็ เมินเฉย และไมย่ อมรบั ฟัง การลงโทษทมี่ งุ่ เนน้ เพยี งแคค่ วบคมุ พฤตกิ รรมของเดก็  กระท�ำ ต่อเดก็ โดยปราศจากความรนุ แรง คุณครูอกี ตอ่ ไป ในขณะน้ัน ทัง้ ทางวาจาและการกระท�ำ  คณุ ครูแสดงความก้าวรา้ วรุนแรง  บอกถึงผลเสียเม่อื เด็กพูดคุยกนั ในห้อง หรอื มพี ฤติกรรมโกรธเก้ยี วตอ่ เด็ก วา่ จะเป็นการรบกวนสมาธิเพอื่ นคนอนื่  บังคบั ใหเ้ ดก็ ทานหรืออมในสง่ิ ท่ไี มช่ อบ (เชน่ บอระเพด็ หรอื มะระ) คู่มอื ปฏบิ ตั ิส�ำ หรับการดำ�เนินการป้องกัน 55 และจดั การการรังแกกันในโรงเรียน

กจิ กรรม รกั ฉันรกั เธอ ใบงาน รักฉนั รกั เธอ วตั ถปุ ระสงค์ ให้นักเรียนวาดรูปตนเองพร้อมทั้งเขียนบอกความดีที่เคยได้ช่วยเหลือ เพ่ือปลูกฝังให้เด็กรู้จักชื่นชมตนเอง เกิความมั่นใจในความสามารถของ เพอ่ื นๆ และวาดรูปเพอ่ื นพรอ้ มเขียนบอกความดที ี่เพอ่ื นๆเคยช่วยเหลือเรา ตนเองท่มี ีอยู่ รสู้ ึกวา่ ตนเองมคี ุณค่าและมีความภาคภูมิใจในตนเอง ตลอดจน การฝึกให้เด็กชื่นชมและเคารพบุคคลอื่น เป็นการสร้างพ้ืนฐานวินัยเชิงบวก รกั ฉนั รกั เธอ ให้เดก็ สามารถอย่รู ว่ มกบั ผ้อู ืน่ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ อุปกรณ์ 1. เอกสารใบงานรักฉนั รกั เธอ 2. ดนิ สอและดินสอสี วธิ ีการดำ�เนนิ กิจกรรม ความดีทีฉ่ นั ภูมใิ จ ขอชืน่ ชมเธอทีค่ อยชว่ ยเหลือ 1. คณุ ครกู ลา่ วใหเ้ ดก็ นกั เรยี นไดท้ บทวนตนเองวา่ ตนเองนนั้ มคี วามดหี รอื ท่ไี ด้ชว่ ยเหลือเพ่ือนๆ ฉนั มาตลอด มคี วามภมู ใิ จอยา่ งไรบา้ งทเ่ี คยไดช้ ว่ ยเหลอื เพอื่ นรว่ มชน้ั ในทางกลบั กนั ใหน้ กั เรยี นคดิ วา่ แลว้ มเี พอ่ื นคนไหนทเี่ คยใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตนเองบา้ ง ให้เด็กวาดรูปตนเองและเพ่ือนท่ีตนเองชื่นชม พร้อมเขียนสิ่งที่ ภาคภูมิใจในตนเองและเพ่ือน 2. คุณครูแจกอุปกรณ์ประกอบด้วยใบงานรักฉันรักเธอและดินสอสีให้ นักเรียนทกุ คน 3. จับเวลาในการทำ�กิจกรรมประมาณ 20 นาที 4. เม่ือเสร็จแล้ว เปิดโอกาสให้เด็กในการนำ�เสนอผลงาน เพื่อให้เพ่ือน ร่วมช้ันเรยี นได้รว่ มกนั ชน่ื ชมในความดีของเพือ่ นแต่ละคน 5. ให้คุณครูกล่าวชื่นชมเด็กนักเรียนทุกคน พร้อมกล่าวสนับสนุนในสิ่ง ที่นกั เรียนไดท้ �ำ ดแี ล้วและขอใหเ้ ด็กได้ท�ำ ความดตี อ่ ไป 56 คูม่ ือปฏิบตั ิส�ำ หรบั การดำ�เนนิ การป้องกัน และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรยี น

กิจกรรม สร้างนางฟ้า วัตถปุ ระสงค์ วธิ กี ารด�ำ เนนิ กจิ กรรม ใหเ้ ด็กไดต้ ระหนักรูว้ า่ พฤติกรรมใดเปน็ พฤตกิ รรมท่ไี ม่พึงประสงค์ พร้อม 1. คณุ ครูให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 5-7 คน ทง้ั ใหเ้ ดก็ ไดร้ ว่ มกนั เสนอแนะวธิ กี ารจดั การ หาทางออกของพฤตกิ รรมทไี่ มพ่ งึ 2. คุณครูบอกกติกาการเล่น โดยจะมีการแจกบัตรคำ�พฤติกรรม ประสงค์นั้นๆ เป็นการปลูกฝังให้เด็กมีวินัย ปฎิบัติตามกฎระเบียบและรู้วิธี ไมพ่ งึ ประสงคใ์ หก้ ลมุ่ ละค�ำ การแนะนำ�เม่อื เพอ่ื นมีพฤติกรรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์ 3. ให้แต่ละกล่มุ ออกมาแสดงบทบาทสมมุติตามบัตรค�ำ พฤตกิ รรม ไม่พึงประสงคท์ ่กี ลุ่มตนเองไดร้ ับ อปุ กรณ์ 4. เมื่อกลมุ่ หนง่ึ แสดงเสรจ็ ให้เพอื่ นๆกลุม่ อืน่ ร่วมกนั ทายวา่ บตั รค�ำ 1. บัตรค�ำ พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ประกอบด้วย พฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ไ่ี ดร้ บั คอื ค�ำ วา่ อะไร พรอ้ มทง้ั ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ ควรจะจดั การกบั พฤตกิ รรมดังกลา่ ว ชอบรังแกเพอื่ น ท�ำ ลาย/ค้นสิ่งของ/ลักขโมยของเพ่ือน อย่างไร 5. จากนัน้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกนั โหวตว่าวธิ กี ารจัดการกับพฤติกรรม กา้ วรา้ ว แสดงทา่ ทางไมพ่ อใจครู สง่ เสยี งดังพูดคุยในห้องเรยี น ไมพ่ ึงประสงค์ของกลุ่มใดสามารถจัดการกับปญั หาได้ดีท่สี ดุ แซวครู พดู จากวนครดู ว้ ยถอ้ ยคำ�หยาบ ลุกเดนิ ไป-เดินมาขณะครูสอน กลไกของกล่มุ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการรงั แกกนั ตามปกตแิ ลว้ การรงั แกกนั มกั จะไมเ่ กดิ ขน้ึ จากคนจ�ำ นวนมากทเี่ กาะกลมุ่ นำ�อุปกรณเ์ สรมิ สวยมาแตง่ ในโรงเรียน ท้งิ ขยะในท่ีหา้ มทิ้ง กันเป็นอย่างดี แต่จะเกิดจากคนจำ�นวนเพียงสองสามคน โดยจะมีผู้นำ�คอย บงการอยู่ แต่การรงั แกกนั นถ้ี อื ว่าเป็นพฤตกิ รรมกลุ่มแน่นอน และมีอิทธิพล นำ�ขนมมาทานในห้องเรยี น ไมร่ ว่ มกจิ กรรมของโรงเรยี น ต่อนักเรยี นคนอ่ืน ๆ ในทศิ ทางต่าง ๆ กัน ตอ่ ไปนเี้ ป็นรายละเอียดของกลไก กลุ่มบางแบบ ซึง่ จะมีผลต่อพฤตกิ รรมการรังแกกันของนักเรยี น ไม่รบั ผิดชอบงาน ไมช่ ว่ ยเพอ่ื นท�ำ เวรความสะอาดหอ้ งทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย คมู่ อื ปฏิบตั ิสำ�หรับการด�ำ เนินการปอ้ งกัน 57 และจดั การการรังแกกันในโรงเรียน

- การแพร่เช้ือทางสังคม นักเรียนบางคนอาจได้รับอิทธิพลให้เข้าร่วม Bystander คอื กลมุ่ นกั เรยี นทอี่ ยใู่ นเหตกุ ารณร์ งั แกกนั จะมี ในการรังแกเพื่อนหากคนทีร่ งั แกปน็ คนท่ีมีคน พฤติกรรมตา่ งกนั ดังน้ี ชนื่ ชอบมาก หรือเปน็ คนที่เขานยิ มนับถือ นกั เรียนที่ “ตดิ เชื้อ” ของการ 1. เข้าร่วมรังแกผถู้ ูกรังแกด้วยกนั รงั แกกนั น้ี มกั จะเปน็ คนทไ่ี มค่ อ่ ยมนั่ ใจในตนเอง และอยากแสดงออกใหค้ นอนื่ 2. สนกุ ที่ได้ดูเหตกุ ารณ์ แต่ไม่ได้ชว่ ยเหลอื เหน็ และยอมรับดว้ ย ผถู้ กู รงั แก - หากครหู รอื นกั เรยี นคนอนื่ ๆ ไมพ่ ยายามปอ้ งกนั การรงั แกกนั นกั เรยี น 3. ไม่ชอบการรังแกกันแต่ไม่ทราบว่าจะช่วยเหลือ ที่รังแกเพอ่ื นอาจได้รางวลั ทางใจจาก “ชยั ชนะ” อยา่ งไร ที่เขาได้รับจากการรังแกเพื่อน และมีส่วนสนับสนุนให้นักเรียนที่ 4. ข้าไปชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ถี ูกรงั แก “เป็นกลาง” ลดการยับย้ังความก้าวร้าวของตนเองลง และเร่ิมลงมือรังแก เพอ่ื นดว้ ย - หากมีคนจำ�นวนมากขึ้น ร่วมกันทำ�พฤติกรรมบางอย่างเช่น การ รังแกกันนี้ คนแตล่ ะคนจะร้สู ึกผิดหรือมสี ว่ นรบั ผิด ชอบน้อยลงเร่อื ย ๆ ในสถานการณเ์ ชน่ นี้ นกั เรียนทตี่ ามปกติเปน็ คนใจดีก็ อาจได้รับอิทธิพลจากการรังแกท่ีตนเองพบเห็นและเริ่มลงมือรังแกเพื่อนบ้าง โดยไมไ่ ดร้ ูส้ กึ อะไร - การรบั รเู้ กยี่ วกบั ตนเองของผกู้ ระท�ำ ทคี่ อ่ ย ๆ เปลย่ี นแปลงไป หากเดก็ ที่ถูกรงั แกต้องเผชญิ กบั การถกู ท�ำ ร้ายและดูถกู เหยยี ดหยามอยตู่ ลอดเวลา การรบั รตู้ นเองจะเปลย่ี นไป เรม่ิ มองวา่ ตนเอง “เกอื บจะเหมอื นคนทรี่ อ้ งขอใหค้ นอน่ื มารงั แก” หรอื เปน็ คนไรค้ า่ ลกั ษณะเชน่ น้กี จ็ ะยงิ่ ทำ�ใหค้ นท่รี ังแกลดความรูส้ ึกผดิ ลงไปอกี 58 คมู่ ือปฏบิ ัติส�ำ หรบั การด�ำ เนินการป้องกนั และจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

กิจกรรม เขา้ ใจกนั มากขึน้ วตั ถปุ ระสงค์ 1.3 กลมุ่ เดก็ ผหู้ ญงิ ป.3 เปน็ เพอ่ื นกนั ตง้ั แตส่ มยั ป.1 อยมู่ าวนั หนง่ึ เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของ Bystande หรือกลุ่มนักเรียนท่ีอยู่ใน นาํ้ คา้ งบอกเพอ่ื คนอน่ื ไมใ่ หเ้ ปน็ เพอื่ นกบั นา้ํ ฝน เดก็ ผหู้ ญงิ คนอน่ื เหตุการณร์ ังแกกัน ว่าส่งผลทำ�ใหก้ ารรงั แกกันยังมีผลต่อเนอื่ งอยู่อย่างไร ตกลงและเลิกไปกินข้าวและไม่เล่นกับนํ้าฝน นํ้าฝนไม่ทราบ อุปกรณ์ เหตุผลและรอ้ งไห้ด้วยความเสียใจ (การรงั แกกนั ) 1. บัตรค�ำ 1.4 ระหว่างทางกลับบ้าน เจมส์ถูกโตโต้ซึ่งเป็นเด็กผู้ชายตัวใหญ่ 2. ฟลิปชาร์ต หรอื กระดานดำ� ผลักใส่ถังขยะและให้เจมส์เอาขนมมาให้พรุ่งนี้ โตโต้ขู่ว่า 3. ปากกาเมจกิ หรือ ชอลก์ หา้ มบอกใครถ้าไม่อยากมเี รอ่ื งว่นุ วายมากข้ึน (การรังแกกัน) 2. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมาน�ำ เสนอคำ�ตอบของกลมุ่ ตนเอง วิธดี ำ�เนนิ กจิ กรรม 3. บรรยายใหน้ กั เรยี นฟงั สน้ั ๆ เกย่ี วกบั เรอ่ื งการรงั แกกนั และแนะน�ำ ให้ 1. แบง่ นกั เรยี นในชนั้ เรยี นออกเปน็ 5 กลมุ่ ใหน้ กั เรยี นสนทนาแลกเปลย่ี น นักเรยี นฟงั ถงึ การแสดงบทบาท 5 แบบ ดงั น้ี สถานการณต์ อ่ ไปนวี้ า่ เปน็ การรงั แกกนั หรอื ไม่ ถา้ เปน็ ในฐานะผเู้ หน็ เหตกุ ารณ์ 3.1 ผ้รู งั แกคนอ่นื จะสามารถทำ�อยา่ งไรเพ่อื ชว่ ยเดก็ นกั เรียนที่ถกู รงั แก 3.2 ผู้ถกู รงั แก 1.1 แซลลี่กับลินดากำ�ลังน่ังเล่นชิงช้า เด็กผู้ชายสองคนมาขอว่า 3.3 Bystander ( กลุ่มนักเรยี นท่อี ยใู่ นเหตุการณร์ งั แกกัน) อยากจะเลน่ บา้ งแตแ่ ซลลแ่ี ละลนิ ดาตอบวา่ ไมแ่ ละเลน่ ชงิ ชา้ ตอ่ 3.4 นักเรยี นท่ีช่วยเหลอื ผรู้ ังแก เด็กผ้ชู ายสองคนโกรธ โวยวายและไปฟอ้ งครู (ความขดั แย้ง) 3.5 นกั เรยี นทอ่ี ่อนโยนและกลา้ หาญ 1.2 ปอ้ มท�ำ ดนิ สอหายและเหน็ จมิ มกี่ �ำ ลงั ใชอ้ ยู่ ปอ้ มขอคนื แตจ่ มิ มี่ 4. แบ่งนักเรียนเป็นห้ากลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มรับบทบาท ผู้รังแกคนอ่ืน บอกว่าเป็นของตนเองเพราะว่าเห็นอยู่ท่ีพ้ืน ป้อมเลยเอา ผถู้ ูกรงั แก Bystander ผชู้ ่วยเหลอื ผ้รู ังแก นักเรยี นท่ีอ่อนโยนและกลา้ หาญ ยางลบของจิมมี่ไปทิง้ ถังขยะ (ความขัดแยง้ ) คมู่ อื ปฏิบตั ิสำ�หรบั การดำ�เนินการปอ้ งกัน 59 และจดั การการรังแกกันในโรงเรยี น

5. น�ำ บตั รค�ำ คณุ ลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนว้ี างไวห้ นา้ หอ้ ง ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ 7. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอบตั รค�ำ ทกี่ ลมุ่ ของตนเองเลอื ก พรอ้ มกบั ค�ำ ตอบ สลับกันสง่ ตัวแทนออกมาเลอื กบตั รค�ำ ทตี่ รงกบั บทบาทของกลมุ่ ตนเอง ของกลุ่มจากทไ่ี ด้ระดมความเห็น 8. หลงั จากท่ีได้สนทนาแลกเปลี่ยนกันแล้ว ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มเขยี น มนษุ ยสัมพนั ธ์ดี เคารพคนอืน่ เหนบ็ แนมคนอน่ื เหตุการณ์การรังแกกันเพ่ิมข้ึนอีกกลุ่มละ 1 เรื่องและให้แสดงบทบาทโดย มีผู้รังแก ผู้ถูกรังแก นักเรียนผู้ช่วยเหลือผู้รังแก นักเรียนท่ีเห็นเหตุการณ์ ปลอ่ ยข่าวลอื ยนื หยัดอย่ขู ้างเพ่อื น ยืนหยดั อยูข่ า้ งเพอ่ื น ให้นักเรียนหาทางออกต่าง ๆ ท่ีนักเรียนผู้เหน็ เหตุการณ์จะสามารถช่วยเหลอื นักเรียนท่ีถูกรังแกได้ โดยครูอาจมอบหมายให้เด็กแต่ละกลุ่มออกมาแสดง ท�ำ รา้ ยคนอน่ื ไมใ่ หเ้ ขา้ กลมุ่ ตอ้ งการชว่ ยเหลอื บทบาทสมมติในคาบเรียนครง้ั ถดั ไป 9. สรปุ ความชว่ ยเหลอื ทนี่ กั เรยี นเสนอมาในชนั้ เรยี น รวมถงึ ขอ้ คดิ วา่ การ รู้สึกแย่กับการรังแกกัน กลัวแตไ่ มก่ ล้าช่วย ทผี่ อู้ ยใู่ นเหตกุ ารณไ์ ดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลอื สถานการณเ์ ปลย่ี นไปได้ และนกั เรยี น สามารถหยดุ การรงั แกกันได้ สบั สนเวลาเจอเหตกุ ารณร์ ังแกกัน สนกุ ที่ไดด้ ูเหตกุ ารณ์ รังแกคนอ่ืนตามทถี่ กู บอก ชว่ ยผู้รงั แก มีความกลวั รบั โทษแทนเพอ่ื นไมม่ นั่ ใจ เงียบๆ เพื่อนนอ้ ย ร้องไห้งา่ ย ไมค่ อ่ ยบอกความต้องการ นกั เรยี นท่ีรู้สกึ ว่าตนเองมคี วามมั่นใจในความสามารถของ ตนเองและมีความสมั พันธ์ที่ดกี บั ครู จะกลา้ เข้าไปช่วยเหลือ 6. ครใู ห้แตล่ ะกลุ่มระดมความเหน็ ในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี ในเหตกุ ารณ์รังแกกันไดม้ ากกวา่ นักเรียนท่ขี าดความม่นั ใจ  บอกเกย่ี วกบั เพอื่ นทดี่ ขี องเราและคณุ ลกั ษณะทเี่ ราชอบในตวั เขา และขาดความสัมพันธท์ ด่ี กี บั ครู จึงควรใหค้ วามส�ำ คญั กบั  บอกถงึ การกระทำ�ทเ่ี ป็นการรงั แกกนั  บอกถึงวธิ กี ารท่ีชว่ ยให้เพ่อื นทีเ่ ศรา้ เสียใจรูส้ ึกดขี น้ึ ความสัมพนั ธ์ของครกู ับนักเรยี นรวมถงึ สง่ เสรมิ จดุ ทด่ี ี  บอกถงึ สง่ิ ทน่ี กั เรยี นสามารถท�ำ ไดเ้ วลาทเ่ี จอการรงั แกกนั ในโรงเรยี น และความภาคภมู ใิ นในตัวเองของเดก็ นักเรยี น  บอกถงึ ความรสู้ กึ คบั ขอ้ งใจ หรอื ปญั หาทเี่ คยพบจากการรงั แกกนั 60 คูม่ อื ปฏิบตั สิ �ำ หรบั การด�ำ เนินการป้องกัน และจัดการการรงั แกกันในโรงเรียน



7บทท่ี  ทกั ษะชวี ติ คอื ความช�ำ นาญ ในการใชค้ วามสามารถทางจติ วทิ ยาหรอื พฤติกรรมในทางบวกในการที่จะเผชิญชีวิตทุกๆวัน มีการกล่าวถึงโดยทั่วไป ทักษะชวี ิต หลากหลายทักษะ เช่น ความอดทนและการฟันฝ่าอุปสรรค ความยืดหยุ่น ปรบั ตัวไดต้ ามสถานการณ์ ความมีวินัย ความพอเพียง ความปลอดภัย เป็น พ้ืนฐานในการ ผู้รักการอ่าน ความซ่ือสัตย์ ความกตัญญู ความสามัคคีแบ่งปัน การอดออม ป้องกันการรงั แกกนั ความขยัน การรักษาสิทธิตนเอง บอกความต้องการตนเอง และการให้อภัย แตอ่ าจแบ่งเปน็ กลุ่มเพื่องา่ ยตอ่ ความเข้าใจได้ดังนี้ คอื  ในปัจจุบันมีการพูดถึงเด็กๆ ในยุคสมัยน้ีที่อยู่ในสมัยที่เร่งรีบ  IQ intelligence quotient คอื ความฉลาดทางสตปิ ญั ญา โดยใช้ค�ำ ว่า the hurried child syndrome หมายถงึ ภาวะทเี่ ดก็ ๆ ถกู เร่ง  EQ emotional quotient คือความฉลาดทางอารมณ์ รีบในหลายๆ เร่ือง เร่งรีบ ถูกผลักดันในเรื่องการเรียน อาจแสดงพฤติกรรม  adversity quotient คือความสามารถในการจดั การกบั ปัญหา เกินวัย พฤติกรรมเลียนแบบผูใ้ หญ ่ ทง้ั การพูดจา แตง่ หน้า แต่งตัว เนื่องดว้ ย และฟันฝ่าอปุ สรรค เดก็ ยคุ นมี้ สี ง่ิ ตา่ ง ๆ เชน่ สอ่ื ออนไลน ์ เครอ่ื งโทรศพั ทส์ มารท์ โฟน เกมออนไลน์  moral quotient คือความมีคณุ ธรรม รวมไปถึงการส่ือสารในบ้านท่ีเร่งรีบในท่ีส่งผลให้เด็กวัยเรียน และบุคคลรอบ  social quotient คอื ทกั ษะทางสงั คม การใชช้ วี ติ อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ตัวเด็ก มีความสะดวกสบายในชีวิตมากขึ้นแต่ก็อาจส่งผลต่อการปรับตัว ทกั ษะต่างๆ เหลา่ น้ีล้วนส�ำ คญั สำ�หรบั เดก็ วยั เรยี นทั้งส้นิ เปน็ ทักษะสำ�คญั ในการใช้ชีวิตเช่น การเกิดกรณีสังคมก้มหน้าเพราะแต่ละคนจะมีโทรศัพท์ ทเ่ี ดก็ ๆ จะเอาตวั รอดในสงั คมปจั จบุ นั ได้ ทงั้ นคี้ รแู ตล่ ะทา่ นสว่ นใหญม่ พี น้ื ฐาน สว่ นตวั คนละเครอื่ งและสอ่ื สารผา่ นหนา้ จอของตนเอง(หทั ยา ด�ำ รงผล 2560) และความเข้าใจเกี่ยวกับเร่ืองการสอนทักษะชีวิตของนักเรียนตามกลุ่มสาระ ส่งผลทำ�ให้เด็กอาจขาดการเรียนรู้ทักษะการดำ�เนินชีวิตผ่านผู้ใหญ่ในบริบท การเรียนรตู้ ามหลักสตู รของกระทรวงศึกษาธิการ ของสงั คมปจั จุบัน ค่มู ือปฏิบตั สิ �ำ หรบั การดำ�เนินการปอ้ งกัน 61 และจดั การการรงั แกกันในโรงเรยี น

 ทักษะชีวิตสามารถเรียนรู้ได้ตามธรรมชาติของการดำ�เนินชีวิตใน  โดยทวั่ ไปครสู ามารถจดั กจิ กรรม/สง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ ของเดก็ นกั เรยี น ครอบครัวของเด็กแต่ละคน และการสามารถสอนผ่านการช้ีแนะระบบการ ในชนั้ เรียนได้อย่างไร เรียนการสอนของครูในช้ันเรียน และการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น  ครเู ขา้ ใจในความแตกตา่ งทงั้ นสิ ยั ความสามารถ ความถนดั ของ กิจกรรมชมรมต่างๆ รวมถึงกิจกรรมการสอนเฉพาะเร่ืองผ่านระบบดูแลช่วย เด็กแตล่ ะคน และควรมีทัศนะคตทิ ี่ดตี ่อการส่งเสรมิ ทักษะชวี ติ เหลือนกั เรยี น ของนักเรยี นนอกเหนอื จากทกั ษะดา้ นวิชาการ  ทกั ษะชีวติ ท่สี ำ�คญั ตอ่ พฤติกรรมการรงั แกกัน ตามความคดิ เห็นของ  ครเู ปน็ แบบอยา่ งทส่ี �ำ คญั ใหเ้ ดก็ และปฏบิ ตั ติ ามทงั้ ในดา้ นการพดู คณะท�ำ งาน 3 ลำ�ดบั แรก ไดแ้ กก่ ารควบคมุ อารมณ์ การเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ กริ ยิ ามารยาท พฤตกิ รรมการแสดงออกทด่ี ี ใหเ้ หน็ ถงึ การกระท�ำ และ การแก้ไขปัญหาและหาทางเลือก ส่วนทักษะอ่ืนๆน้ันก็สำ�คัญในการ ท่ีน่ายกย่องดีงาม ตลอดจนเสริมแรง และชักนำ�ให้เด็กปฏิบัติ ส่งเสรมิ พฤตกิ รรมนักเรียนโดยรวม ตามทดี่ ตี ่อไป ไมเ่ น้นใชค้ ำ�สง่ั  การที่ครูนำ�ทักษะชีวิตไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิผลจะทำ�ให้  ค้นหาลักษณะที่เด็กภูมิใจ ช่ืนชมเด็กให้เกิดความภาคภูมิใจใน เด็กรู้จักและเข้าใจตนเองรับรู้และเข้าใจคนอ่ืน ทักษะชีวิตจะช่วยสนับสนุน สงิ่ ทีเ่ ดก็ ทำ�ได้ดี ฝกึ ใหเ้ ด็กคิดดา้ นบวก มองตวั เองในแงด่ ี ครูจดั การรบั รเู้ กย่ี วกบั ความสามารถแหง่ ตน (Self- efficacy) ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง กจิ กรรมท่สี นุกสนาน ชืน่ ชม ขอโทษ ขอบคณุ ใหก้ ำ�ลังใจ (Self-confidence) และการเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) ซ่ึงช่วย  สร้างกิจกรรมให้เด็กได้ทำ�กิจกรรมร่วมกัน ในกลุ่มบ่อยๆ โดย ส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาพฤติกรรมเส่ียงสุขภาพต่าง ๆ นักเรียน ประยุกต์ใชค้ วามร้ใู นชน้ั เรียนในการท�ำ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ท่ีได้รับการส่งเสริมทักษะชีวิตจะช่วยลดพฤติกรรมการรังแกและส่งเสริม เชน่ คา่ ยหรอื วนั ส�ำ คญั โครงงานหรอื โครงการ กจิ กรรมอาสา ฯลฯ พฤติกรรมที่เหมาะสมตามความคาดหวงั ทางสังคมตอ่ ไป  ในการเรียน การสอน ครูควรเปิดโอกาสให้เด็กแสดงความคิด เหน็ ของตนเอง ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ เหน็ ใจผอู้ นื่ ฝกึ ให้ เด็กให้อภยั และขอบคณุ ท้งั ตนเองและผอู้ ืน่ 62 คูม่ อื ปฏบิ ัตสิ ำ�หรับการด�ำ เนินการป้องกนั และจดั การการรงั แกกนั ในโรงเรียน

 การประเมินพฤติกรรมเด็ก เน้นรายบคุ คล เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี นให้ การแก้ไขปญั หาการรงั แกกนั มีพัฒนาการที่ดีตรงตามความต้องการ ของสงั คม โดยประเมนิ (Problem Solving) ความสามารถหรือแนวทางในการเผชิญการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง ผู้ประเมินอาจเป็น ครู เพ่ือน ผู้ปกครอง หรืออาจให้ผู้เรียน ความสามารถในการแก้ไขปัญหา ความสามารถการแก้ไข เปน็ คนประเมนิ ตนเอง และการคิดหาทางเลือก ปญั หา และการคิดหา  สำ�หรับเด็กเล็กระดับประถมต้น ครูสามารถฝึกทักษะชีวิตจาก (Problem Solving) ทางเลอื ก (Problem กจิ กรรมงา่ ยๆทวั่ ไป เชน่ กจิ กรรมเลา่ ขา่ ว ตอนเชา้ เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะ หมายถึง การรับรู้สาเหตุของ Solving)มีประโยชนก์ ับ ชวี ติ ดา้ น คดิ วเิ คราะห์ กจิ กรรมงานเลก็ ๆนอ้ ยๆในหอ้ งเรยี น ลบ ปัญหา วิธีการผ่อนคลายปัญหา เด็กอย่างไร กระดาษด�ำ เกบ็ สมดุ การบา้ น เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะรบั ผดิ ชอบ กจิ กรรม แนวทางการแก้ไขปัญหา เพื่อให้ เด็กสามารถวิเคราะห์ปัญหา ทกั ทาย สวัสดี ขอบคณุ ขอโทษ เพื่อฝกึ ทักษะสงั คม กิจกรรม เกิดพฤติกรรมการเบี่ยงเบนไปใน ด้วยได้ตนเอง วิเคราะห์ผลที่ เขา้ แถว เขา้ คิว เพอ่ื ฝึกทักษะการรอคอยยบั ย้งั ชัง่ ใจ ทางที่ถูกต้อและเหมาะสม และไม่ จะเกดิ ขนึ้ ได้ สามารถวางแผน  สำ�หรับเด็กประถมปลายอาจเพิ่มเติมการสอนกิจกรรม เกิดปญั หา แก้ไขปญั หา ใช้ขอ้ มูลที่มี เสริมทักษะชวี ิต ผา่ นกิจกรรมเฉพาะไดม้ ากขน้ึ ครูช่วยให้เด็กเกิดความสามารถการแก้ไขปัญหา และการคิดหาทางเลือก (Problem Solving) ได้อยา่ งไร ให้โอกาสเด็กได้คิดแก้ไขปัญหาอิสระ และให้คิดหลายวิธี ให้คำ�แนะนำ� ที่ถูกต้อง แลกเปล่ียนวิธีการแก้ไขปัญหา ช้ีให้เห็นทางเลือก สอนจากปัญหา ในชวี ิตประจำ�วัน คู่มอื ปฏิบัตสิ ำ�หรับการดำ�เนนิ การปอ้ งกัน 63 และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรียน

กิจกรรมปัญหามีทางแก้ วตั ถปุ ระสงค ์ วธิ กี ารด�ำ เนินกิจกรรม การแกไ้ ขปญั หาเปน็ ทกั ษะท่สี ำ�คัญ สง่ ผลต่อการใชช้ วี ิต โดยเฉพาะเดก็ ๆ 1. ครแู บง่ กลมุ่ เดก็ 5 – 7 คน แลว้ ใหเ้ ดก็ หาปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั จ�ำ เปน็ ตอ้ งมคี วามสามารถการแกไ้ ขปญั หาทดี่ ี พอ่ แมส่ ว่ นใหญจ่ ะแกไ้ ขปญั หา 2. ครูให้เด็กเขียนปัญหาท่ีได้บนกระดาษฟลิปชาร์ทของกลุ่มตนเอง ให้ลูก บางคร้ังเมื่อเผชิญปัญหาโดยไม่มีพ่อแม่ก็จะแก้ไม่เป็น หรือใช้วิธีท่ีไม่ ใหเ้ ห็นเด่นชดั เหมาะสม เพอ่ื ใหเ้ ด็กหาสาเหตแุ ละวิธีแกป้ ัญหาได้หลายวิธี 3. ครชู วนใหเ้ ดก็ แตล่ ะกลมุ่ คดิ หาสาเหตทุ ท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาในปญั หาของ อุปกรณ์ กลมุ่ ตัวเอง 1. กระดาษฟลปิ ชาร์ท 4. ครูให้เด็กสรุปสาเหตุของปัญหาและเขียนบนกระดาษฟลิปชาร์ทของ 2. ปากกาเคมี กลมุ่ ตนเอง 5. คณุ ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั คดิ แกไ้ ขปญั หาจากสาเหตทุ งั้ หมด ที่ได้ 6. คุณครูให้นักเรียนสรุปวิธีแก้ปัญหาทั้งหมดและเขียนบนกระดาษ ฟลิปชารท์ ของกลุ่มตนเอง 7. คุณครูให้นักเรียนเลือกวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับตนเอง และถาม นักเรียนว่า เพราะอะไร จึงเลือกวธิ แี กป้ ญั หาน้ี 8. คุณครูสรุปให้นักเรียน ปัญหาทุกปัญหามีสาเหตุ หลายอย่าง แต่ละ สาเหตกุ ม็ หี ลายวิธีแก้ เลอื กวธิ ีแกป้ ัญหาใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง 64 คูม่ อื ปฏิบัติส�ำ หรับการดำ�เนินการปอ้ งกัน และจัดการการรงั แกกันในโรงเรียน

การควบคุมอารมณ์ วธิ ดี ำ�เนินกิจกรรม 1. คณุ ครูถามนกั เรยี นวา่ รู้จกั อารมณ์ไหม อารมณ์ มีอะไรบ้าง (Emotional Control) 2. คุณครใู ห้นักเรยี นเขียนอารมณ์ในกระดานดำ�หรือฟลิปชาร์ท 3. คุณครูชใี้ หน้ ักเรยี นเห็นว่า อารมณ์มหี ลายอย่าง คอื การเรยี นรทู้ จ่ี ะจดั การกบั อารมณข์ องตนเองอยา่ งเหมาะสม 4. คณุ ครอู อกมาขดี เสน้ ใตอ้ ารมณท์ ที่ �ำ ใหม้ คี วามสขุ และวงกลมอารมณ์ สรา้ งสรรค์ และเปน็ ที่ยอมรบั ของสงั คม ทที่ �ำ ให้มคี วามทกุ ข์ 5. คุณครูใหน้ ักเรียนดภู าพความโกรธ (ภาพท่1ี ) กิจกรรมช่ืออารมณข์ องฉนั 6. คณุ ครูถามนกั เรยี นว่ารู้ได้อยา่ งไรว่าโกรธ 7. คณุ ครแู บง่ กลุ่มนักเรยี น 4-5 คน แลว้ ให้นักเรียนช่วยกนั ตอบค�ำ ถาม วัตถปุ ระสงค์ วา่ ดังน้ ี การรับรู้และเรียนรู้อารมณ์ รวมถึงเข้าใจว่าอารมณ์ต่างๆท่ีเกิดข้ึนนั้น - ความโกรธดีหรือไม่ดี มีหลายรูปแบบและหลายที่มา จะทำ�ให้นักเรียนมีการแสดงออกทางอารมณ์ - ความโกรธมผี ลเสียอะไรบ้าง ที่เหมาะสม รวมท้ังการจัดการอารมณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ได้อย่างดี ไม่ส่งผล - จะควบคมุ ความโกรธไดอ้ ยา่ งไร กระทบต่อผ้อู ่นื - เราจะไมท่ ำ�ให้เพื่อนโกรธไดอ้ ยา่ งไร อุปกรณ์ โดยให้เขยี นลงกระดาษฟลปิ ชาร์ท 1. กระดาษฟลปิ ชารท์ และปากกาเคมี 8. คุณครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอหน้าชัน้ 2. รปู ภาพประกอบ 9. สรปุ การจัดการความโกรธให้นักเรยี นอกี ครง้ั ภาพท่1ี ค่มู อื ปฏิบตั สิ �ำ หรับการดำ�เนนิ การป้องกนั 65 และจัดการการรงั แกกันในโรงเรยี น

การสง่ เสรมิ ให้เดก็ มคี วามเขา้ ใจและเห็นใจผู้อืน่ คุณครูช่วยให้เด็กเกิดความเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ไดอ้ ย่างไร (Empathy)  คุณครูเป็นแบบอยา่ งใหเ้ ด็กไดเ้ ห็น และเรยี นรู้ ความเห็นอกเห็นใจ หมายถึง การรับรู้และเข้าใจในความรู้สึกนึกคิด  คณุ ครใู หโ้ อกาสเด็กได้ชว่ ยเหลือเพ่อื น อารมณแ์ ละความตอ้ งการของผอู้ น่ื ทก่ี �ำ ลงั ประสบเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ซง่ึ ความ ในหอ้ งเรยี นหรอื คนอื่นๆ เหน็ อกเหน็ ใจ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ในการปลกู ฝงั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ควรพฒั นา  คุณครูให้เด็กเรียนรู้และเข้าใจความรู้สึก และส่งเสริมตั้งแต่วันเด็ก เด็กที่มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นจะมีความเข้าใจ ของตัวเอง เร่ิมจากความรสู้ ึกตัวเองก่อน ผ้อู นื่ กจ็ ะช่วยเหลอื ผอู้ ่นื มนี ํ้าใจเผอ่ื แผ่ แบง่ ปัน และไมร่ ังแกคนอ่นื ส่วน  คุณครูสะทอ้ นความรู้สึกของเดก็ เดก็ ทชี่ อบรงั แกเพอ่ื นจะขาดทกั ษะในเรอ่ื งความเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ น่ื ขาดการ ในสถานการณต์ ่างๆ เป็นคำ�พูด รับรู้ความรู้สกึ ของผอู้ น่ื  ใหเ้ ดก็ ฝึกคดิ ในมุมมองของผ้อู ื่น หรอื อยู่ ในสถานการณเ์ ดยี วกันกับผู้อืน่ เดก็ ทม่ี คี วามเห็นอกเห็นใจผอู้ ่นื เดก็ ทข่ี าดความเห็นอกเหน็ ใจผ้อู นื่ ให้รับผิดชอบการกระท�ำ ของตัวเอง  เกดิ คุณธรรมความเมตตา  เห็นแกต่ วั ไม่เกรงใจคนอน่ื ให้เด็กรูจ้ ักควบคมุ ตวั เอง  เกดิ พฤตกิ รรมการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ทำ�อะไร เอือ้ เฟื้อ เผื่อแผ่ การแบ่งปนั  ไม่ค�ำ นึงถึงความรู้สึกคนอ่ืน  เกดิ ความเกรงใจผู้อนื่  ไม่รับร้คู วามรู้สกึ คนอ่นื คิดกอ่ นท�ำ 66 ค่มู อื ปฏบิ ตั ิส�ำ หรบั การด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั และจดั การการรงั แกกันในโรงเรียน

กิจกรรมเช่อื ใจเขาใจเรา วตั ถปุ ระสงค ์ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอภาพและผลการระดมความคิดของ การสอนให้เด็กรู้จักเห็นอกเห็นใจคนอื่นนั้น ทำ�ให้เด็กเข้าใจอารมณ์และ กลุ่มตนเองในกลมุ่ ใหญ่ ความรู้สึกของผู้อื่น ในเหตุการณ์ท่ีเขาประสบพบเจอ ทำ�ให้มีความคิดและ 5. คุณครสู รปุ กจิ กรรม การที่เรามีความเข้าใจ หรอื ความรูส้ ึกร่วมกบั พฤตกิ รรมเปล่ียนไป สว่ นหนงึ่ ท�ำ ให้เดก็ อยรู่ ว่ มกับสังคมได้ดี คิดถงึ ความรู้สกึ คนอื่น เรยี กวา่ ความเหน็ อกเหน็ ใจ คนอน่ื ก่อนทจ่ี ะทำ�อะไร เพอ่ื ฝกึ การคิดถงึ ความรู้สึกของผู้อน่ื ในสถานการณท์ ี่ 6. คุณครูถามนักเรียนในกลุ่มใหญ่ในประเด็น ในชีวิตประจำ�วันเรา เขาเผชิญและบอกข้อดขี องการเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน มีความเหน็ อกเหน็ ใจใครบ้าง เรื่องอะไร (ขอเป็นเพอื่ นๆ ในชัน้ เรียน ) อปุ กรณ์ 7. คณุ ครถู ามนกั เรยี นในกลมุ่ ใหญใ่ นประเดน็ ขอ้ ดขี องการเหน็ อกเหน็ ใจ 1. ภาพแสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ในสถานการณ์ตา่ งๆ มีอะไรบา้ ง 2. กระดาษฟลปิ ชาร์ทและปากกาเคมี วิธกี ารดำ�เนนิ กจิ กรรม 1. คุณครูชวนนักเรยี นท�ำ กจิ กรรมโดยแบ่งกลมุ่ เด็กออกเปน็ กลุม่ กล่มุ ละ 5 – 7 คน 2. คณุ ครูให้นกั เรยี นดภู าพ ทีค่ ณุ ครเู ตรียมมาให้ 3. เม่ือดูภาพแล้ว ให้ตั้งคำ�ถามนักเรียนและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดม ความคิดในประเด็นค�ำ ถามต่อไปน้ี - คนในภาพนัน้ มคี วามรู้สึกอย่างไร - เรารู้ได้อยา่ งไรว่าเขามีความร้สู กึ นั้น - เรารู้สกึ อยา่ งไรกบั คนในภาพ คมู่ อื ปฏิบัตสิ �ำ หรบั การด�ำ เนินการปอ้ งกัน 67 และจัดการการรังแกกนั ในโรงเรยี น

รปู ภาพภาพแสดงอารมณค์ วามรู้สกึ ในสถานการณต์ า่ งๆ 68 คมู่ ือปฏิบัติส�ำ หรับการดำ�เนินการปอ้ งกัน และจัดการการรงั แกกันในโรงเรยี น



8บทท่ี ผู้ปกครองควรได้รับความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติท่ีถูกต้องต่อปัญหา การรังแกกัน รวมถึงบทบาทของครอบครัวที่มีส่วนทำ�ให้เกิดปัญหาและ การประสานความร่วมมอื กบั ผูป้ กครอง มสี ่วนชว่ ยในการแก้ไขปัญหา ผ่านชอ่ งทางต่างๆ เช่น การใหค้ วามรู้ผ่านการ ประชุมผู้ปกครอง การจดั กจิ กรรมประชมุ ผปู้ กครองในช้นั เรียน (Classroom เพื่อปอ้ งกนั meeting ) กิจกรรมตามบริบทโรงเรียนที่มีอยู่ แผ่นพับ จดหมายข่าว เวปไซตข์ องโรงเรยี น ฯลฯ และแก้ไขการรงั แกกัน ความร้แู ละเนื้อหาสำ�คญั ที่ผูป้ กครองควรได้รับ ในโรงเรียน  นโยบายและการจัดการของโรงเรียนต่อปัญหาการรังแกกัน ชอ่ งทางสอ่ื สารระหวา่ งโรงเรยี นกบั ครอบครวั เพอื่ ใหผ้ ปู้ กครองมสี ว่ น การใหผ้ ปู้ กครองเขา้ มามบี ทบาทและสว่ นรว่ มตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ การด�ำ เนนิ งาน ดแู ลและแกไ้ ขพฤตกิ รรมเดก็ โดยเฉพาะเดก็ กลมุ่ เสยี่ งทใ่ี ชค้ วามรนุ แรง ป้องกันและแก้ไขการรังแกกันในโรงเรียน จะช่วยให้เกิดความร่วมมือ เพิ่ม  ความเข้าใจ ทัศนคติที่ถกู ตอ้ งตอ่ ปัญหาการรงั แกกนั และความรอู้ ่ืนๆ ความรู้สึกมีสว่ นร่วม และเป็นเจ้าของ ซ่งึ มีความสำ�คัญในการลดและปอ้ งกนั ทเ่ี กี่ยวข้อง เชน่ ความรเู้ กีย่ วกบั สทิ ธเิ ดก็ การรงั แกกนั ในโรงเรียนอยา่ งชดั เจน  บทบาทของครอบครัวท่ีสำ�คัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตัวอย่างเช่น การเปิดพื้นที่ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน รงั แกกัน ได้แก่ ทกั ษะการเลี้ยงดู (Parent training) : การเลยี้ งดทู ี่ การด�ำ เนนิ งาน เสนอความคดิ เหน็ และตดิ ตามตรวจสอบ มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม เหมาะสม วนิ ยั เชงิ บวก เพอื่ ลดความรนุ แรงในครอบครวั วธิ กี ารลงโทษ ต่างๆ มีการประชุมกับผู้ปกครองและตัวแทนเป็นระยะ เพื่อให้ข้อมูลความรู้ เด็กที่ไม่เกินกว่าเหตุ ความสัมพันธ์ในครอบครัว (child parent และรับเอาความคดิ เห็นขอ้ เสนอแนะต่างๆ มาใช้ interaction) และบรรยากาศในครอบครวั เพอื่ ชว่ ยเสรมิ ภมู คิ มุ้ กนั ให้ เด็กได้ดี  การดแู ลชว่ ยเหลอื และบทบาทครอบครวั เมอ่ื ลกู เปน็ ผรู้ งั แก ผถู้ กู รงั แก และ/หรือผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณร์ งั แกกนั คมู่ ือปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั การดำ�เนินการปอ้ งกนั 69 และจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

ข้อควรระวงั  ระมดั ระวังการส่ือสาร และการพูดคยุ ตดิ ต่อประสานกบั ผู้ปกครองท่ี  การประชุมส่ือสารกับผู้ปกครอง ควรมุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจ อาจท�ำ ใหเ้ กดิ ความไมร่ ว่ มมอื และตอ่ ตา้ น เชน่ การท�ำ ใหผ้ ปู้ กครองรสู้ กึ อบั อาย ส่งเสริมความร่วมมือ รับฟัง และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองร่วมแสดงความคิด เสยี หน้า การเขา้ ข้างฝ่ายหนง่ึ ฝา่ ยใด เหน็ และรว่ มหาแนวทางปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา เพอ่ื ลดการวจิ ารณก์ ารจดั การ ของโรงเรียน แหลง่ ขอ้ มูลส�ำ หรับประชาสมั พนั ธ์ คู่มือรับสถานการณ์เด็กรังแกกันในโรงเรียน คลปิ วิดโี อ และส่อื สารกับผู้ปกครอง สำ�หรับพ่อแม่ท่ีลูกถูกรังแก : ลูกฉันถูกรังแกทำ� เรอื่ ง “ครอบครวั มสี ว่ นตอ่ การรงั แกกนั ” อยา่ งไรดี จาก website http://stopbullying. แผ่นพบั จาก website http://resource.thaihealth. lovecarestation. com/video-clip/ เรื่อง พ่อแม่ ผปู้ กครองชว่ ยได้อย่างไร... or.th/library/11161 เมอ่ื มกี าร...รังแกกันในโรงเรยี น หรือ จาก (ภาคผนวก) หรอื ภาพ Infographic คมู่ อื สถานการณเ์ ดก็ รงั แกกนั ในโรงเรยี น ส�ำ หรบั พอ่ แมท่ ลี่ กู ถกู จาก website รงั แก : ขอคุยกบั ครเู มอื่ ลกู ถูกรังแก จาก website http://resource.thaihealth.or.th/li- หรือ www.smartteen.net brary/11152 Fabebook page ชอ่ื การเปดิ พื้นท่ใี หผ้ ูป้ กครองและชมุ ชนเขา้ มามสี ่วนร่วม STOP Bullying เลิฟแคร์ ไมร่ ังแกกนั ในการด�ำ เนินงานป้องกันและแกไ้ ขการรังแกกนั ในโรงเรยี น คอื ปัจจัยสำ�คญั ในการลดและป้องกันการรังแกกนั ในโรงเรยี นทสี่ �ำ คญั 70 คูม่ ือปฏิบัติส�ำ หรับการด�ำ เนินการป้องกนั และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรียน



9บทท่ี การจัดกิจกรรมในการช่วยเหลอื เด็กพิเศษ กิจกรรมควรมุ่งเน้นให้ทุกคนรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง เข้าใจและ เด็กทมี่ ี ยอมรับความต่าง มีทักษะการเข้าสังคมท่ีดีขึ้น ผู้บริหารต้องทำ�ความเข้าใจ กบั ครู นกั เรยี นปกตแิ ละผปู้ กครองของนกั เรยี นปกตใิ หเ้ ขา้ ใจถงึ ลกั ษณะอาการ ควาพมตเิ ศ้อษงการ และพฤติกรรมของเด็กพิเศษดว้ ย การถกู กลน่ั แกลง้ /รงั แก ส�ำ หรบั เดก็ พเิ ศษอยา่ งมาก เดก็ ไดร้ บั ความกดดนั แนวทางในการจัดกจิ กรรม และ เกบ็ ความกดดนั เกดิ ความตงึ เครยี ดท�ำ ให้ไม่อยากไปโรงเรยี น เกิดความ ระดับอนบุ าล จดั กจิ กรรมสรา้ งการรบั รเู้ บอื้ งตน้ เชน่ การเลา่ นทิ านตา่ งๆ หวาดกลวั ขาดความม่นั ใจ เสยี ปฏิสมั พันธก์ ับเพือ่ นเสยี การเรยี น เด็กไดร้ ับ โดยสอดแทรกความหมายของการรังแกกันให้เด็กเล็กเข้าใจว่าการรังแกกัน ความกดดันและเก็บความกดดันน้ันไว้จนบางครั้งอาจเกิดการตอบโต้อย่าง เป็นสงิ่ ทไ่ี มด่ ี เป็นเพ่อื นกนั ตอ้ งรกั กัน รนุ แรงที่คาดไม่ถงึ ก็ได้ ระดับประถม จดั กจิ กรรมสรา้ งการรบั รู้ การตระหนกั ถงึ ผลกระทบตอ่ การถูกรังแกของเด็กพิเศษท่ีอยู่ในสถานศึกษา มักส่งผลต่อการเรียนรู้ การรงั แกกนั เชน่ จดั นทิ รรศการรณรงคย์ ตุ กิ ารรงั แกกนั จดั การประกวดเขยี น และการอยใู่ นสงั คมโรงเรยี น มกั สง่ ผลรนุ แรง เชน่ เคยี ดแคน้ ซมึ เศรา้ ลาออก เรยี งความ ทกั ษะการเปน็ เพือ่ น และการแกป้ ัญหาด้วยกนั หรือแม้แต่ลุกขึ้นมาทำ�ร้ายคนอ่ืน เผาโรงเรียนดังข่าว หลายกรณีพบว่า ระดบั มธั ยม จดั กจิ กรรมเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ใหน้ กั เรยี นไดม้ บี ทบาทในการ เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษเป็นผู้รังแกเอง เพราะมักเป็นกลุ่มที่มีทักษะทาง ชว่ ยเหลอื ตอ่ ตา้ นการรงั แกกนั และชว่ ยเหลอื ผทู้ มี่ แี นวโนม้ เปน็ เหยอื่ ของการ สงั คมหรือการจดั การอารมณไ์ มส่ มวัย ถูกรังแก ตัง้ กลอ่ งรับขอ้ ความ “แจ้งเหตุการณ์การรังแกเพอื่ น” คู่มือปฏบิ ัตสิ ำ�หรบั การดำ�เนนิ การปอ้ งกัน 71 และจดั การการรงั แกกันในโรงเรยี น

การเลือกเพอื่ นช่วยเพอ่ื น การเลือกเพื่อนช่วยดแู ลเด็กทมี่ ีความตอ้ งการพเิ ศษ (Buddy) การสอนดว้ ยวธิ กี ารใหเ้ พอ่ื นชว่ ยเพอื่ นเปน็ วธิ กี ารทมี่ งุ่ ใหน้ กั เรยี นเกดิ แรงจงู ใจตอ่ การเรยี นมากขนึ้ โดยมเี พอื่ นชว่ ยเหลอื และคอยกระตุ้น เพื่อใหส้ ามารถเรียนรหู้ รอื รว่ มกิจกรรมกบั เพ่ือนคนอ่นื ๆได้ หลักการเลือกค่เู พอื่ นชว่ ย - มคี วามสามารถทางการเรียนท่สี ูงกวา่ เพือ่ น (Buddy)สำ�หรับเดก็ - มีความสมคั รใจ พร้อมจะชว่ ยเหลือเพอ่ื น - เขม้ แขง็ กลา้ พูด กลา้ แสดงออก พิเศษ - สามารถรับผดิ ชอบตนเองไดด้ ี ข้อควรระวัง - มีความอดทน ใจเย็น การน�ำ วิธกี ารสอนแบบเพ่อื นช่วยเพือ่ นมาใช้ในการแก้ปัญหา ผูส้ อนตอ้ งสร้างแรงจูงใจแกเ่ พอื่ นนักเรยี นท่ีชว่ ยสอน อาจต้องใช้หลายเทคนิคสำ�หรบั เดก็ เลก็ อยา่ ลืมชื่นชม หรอื แสดงให้เหน็ ถงึ ความเสียสละเปน็ สง่ิ ทีค่ รูยกยอ่ ง 72 คู่มือปฏบิ ตั สิ �ำ หรบั การด�ำ เนินการป้องกัน และจดั การการรงั แกกันในโรงเรียน

ลักษณะปัญหาทวั่ ไป เดก็ บกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ (แอลด)ี ลักษณะ 1. อวยั วะตา่ ง ๆ เคลื่อนไหวไมป่ ระสานงานกนั ที่จะทำ�ใหถ้ กู รงั แก 2. จดจำ�ตวั เลขท่ีคลา้ ยกันไมไ่ ด้ เชน่ 6 และ 9, 3 และ 5 กิจกรรมการช่วยเหลือ 3. แก้โจทยป์ ัญหาพน้ื ฐานทางคณติ ศาสตร์ไดช้ ้าหรอื ทำ�ไมไ่ ด้เลย 4. เขยี นหนงั สือกลบั ดา้ น การสะกดค�ำ ไม่สามารถคดิ และเขยี นไปพร้อมกันได้ 5. อ่านหนงั สอื ไม่ไดห้ รอื อ่านไดช้ า้ เน่อื งจากต้องสะกดเป็นคำ� ๆ 6. จบั ใจความเร่อื งท่อี ่านไม่ได้ อา่ นแลว้ ไมส่ ามารถสื่อสารให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจได้ 7. ไมใ่ ส่ใจรายละเอยี ดของส่ิงต่าง ๆ รอบตวั หรอื อาจชา่ งสงั เกตและใหค้ วามสนใจตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ มากเกนิ ไป 1. หลกี เลี่ยง ไม่ชว่ ยท�ำ งานกลมุ่ เนอื่ งจากตนเองอา่ น เขียนไมค่ ลอ่ ง 2. ปฏิเสธทกุ ครง้ั เมอ่ื สนทนากับเพอ่ื น “ทำ�ไม่ได”้ “ไมร่ ้”ู 3. หงดุ หงิด ก้าวรา้ วได้ง่าย 1. ผู้สอนมอบหมายหนา้ ท่ที ี่ไมเ่ น้นทักษะการอา่ น เขยี น ในกิจกรรมงานกลุม่ 2. จบั คเู่ พื่อนช่วยเพ่อื น (Buddy) 3. จดั ท�ำ หนงั สอื เสียงเพื่อใช้กับเด็กท่ีขาดทักษะทางการอา่ น สอนเสริมในทกั ษะท่ีเด็กยังบกพร่อง เช่น การสะกดคำ� การอ่าน หรือการเขียน 4. จดั กิจกรรมทที่ �ำ ให้เด็กเกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง เช่น ดนตรี กฬี า ศิลปะ 5. กจิ กรรมปรบั อารมณ์ - ผูส้ อนให้เด็กจบั ค่กู นั นกึ ถึงเหตุการณ์ทท่ี �ำ ให้เครยี ดและมีวธิ ีจัดการความเครียดอย่างไร? - แต่ละค่เู ลือกวธิ ีท่นี า่ สนใจและทำ�ไดผ้ ล นำ�เสนอ 1 วิธี - จากนน้ั ใชเ้ พลง “ดง่ั ดอกไมบ้ าน” ดคู ลปิ ฝึกหายใจการผอ่ นคลายความเครียดพร้อมปฏิบตั ติ าม จาก QR Code คู่มือปฏิบตั ิส�ำ หรับการด�ำ เนินการปอ้ งกนั 73 และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรยี น

ลักษณะปญั หาทัว่ ไป เด็กออทิสตกิ ลกั ษณะ 1. การสร้างความสมั พนั ธก์ ับคนและสิง่ ท่ีอยรู่ อบตัว ทีจ่ ะทำ�ใหถ้ ูกรังแก 2. การพูดและภาษา มกั ใชภ้ าษากายมากกวา่ ภาษาพูด กจิ กรรมการชว่ ยเหลอื 3. พฒั นาการไมส่ มวัย เช่น เลน่ กับใคร ไม่เปน็ อย่ใู นโลกของตัวเอง 4. การแสดงพฤตกิ รรมตอ่ สง่ิ ที่อยู่รอบตวั เชน่ การแสดงพฤติกรรมซํา้ ๆ เปล่ยี นแปลงได้ยาก 1. เด็กเล่นกบั เพ่ือนไม่เป็น เล่นรนุ แรง 2. ไมร่ จู้ ักการรอคอย แย่งของเพอื่ น 3. พดู สะทอ้ น พดู เลียนแบบ พูดแต่เรือ่ งของตนเอง (เรอื่ งทีต่ นเองสนใจ) 4. การเคลือ่ นไหวงมุ่ ง่าม หรือรวดเร็วเกินไป ไม่ระวงั ท�ำ ใหเ้ กิดการกระทบกระทัง่ 5. โมโห ฉุนเฉียว เมอ่ื มีการเปลี่ยนแปลง 1. จดั กจิ กรรมให้เดก็ ออทสิ ตกิ ไดเ้ ล่นกบั เพอื่ น มี Buddy คอยน�ำ และแนะ เข้าใจความคดิ อารมณ์เพอ่ื น ฝกึ การรอคอย ฝึกการฟงั และการรบั รูอ้ ารมณ์ 2. กิจกรรมระบายพลงั ในทางที่สรา้ งสรรค์ เช่น ออกก�ำ ลังกายแสดงทา่ ทางประกอบเพลง 3. กจิ กรรมเกมพนั หนา้ - ผสู้ อนใหเ้ ดก็ จับค่รู ูปภาพตามสหี นา้ ทีผ่ ู้สอนแสดงออกมา - ใหเ้ ด็กทำ�สีหน้าและแสดงอารมณต์ ามท่ีผสู้ อนกำ�หนดให้ - ผู้สอนสรุป โดยการสอบถามแลกเปลยี่ น เกีย่ วกบั การแสดงสีหนา้ และอารมณ์ พร้อมทง้ั บอกวิธกี ารจัดการตนเอง ในสถานการณ์นั้น ๆ 74 คู่มอื ปฏบิ ตั ิสำ�หรบั การดำ�เนนิ การป้องกัน และจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

ลกั ษณะปญั หาทัว่ ไป เดก็ บกพร่องทางสตปิ ญั ญา ลักษณะ 1. การดูแลตัวเองใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะในชีวิตประจ�ำ วัน ที่จะทำ�ใหถ้ ูกรังแก 2. การส่อื ความหมาย ไมเ่ ข้าใจภาษาทซ่ี บั ซ้อน ไม่สามารถตอบโตไ้ ด้ กิจกรรมการช่วยเหลือ 3. การเรียนรู้ทกั ษะทางวิชาการ 4. การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ 5. การเรยี นรูเ้ ก่ยี วกบั กฎ ระเบียบของสังคม 1. การดแู ลสขุ อนามยั ไม่ดี ไมส่ ะอาด ทำ�ให้ถกู รังเกยี จ ล้อเลียน 2. ไมเ่ ข้าใจความหมายท่คี นอ่ืนพดู ดว้ ยหรอื เขา้ ใจไม่ถกู ตอ้ ง 3. ถูกชักจูง หรือถูกหลอกไปในทางทผี่ ดิ ไดง้ า่ ย เชน่ หลอกให้แสดงพฤตกิ รรมที่ไม่ดี หรอื พดู ภาษาไมด่ ี (ค�ำ หยาบ) 1. สอนทกั ษะการช่วยเหลอื ตนเอง สุขอนามัยทดี่ ี ฝกึ ใหเ้ ดก็ ท�ำ เปน็ นสิ ยั เชน่ การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย อาบน้าํ ลา้ งหน้า แปรงฟนั โดยใชเ้ ทคนคิ task analysis เชน่ การแปรงฟนั ขน้ั ท่ี 1 ลา้ งแปรงสีฟัน และบีบยาสีฟันเพียงเลก็ น้อยลงบนแปรงสฟี นั บ้วนปากดว้ ยน้าํ เปล่า 1 ครง้ั ขั้นที่ 2 วางหวั แปรงสฟี นั ไวก้ บั ฟันแล้วเอยี งปลายขนแปรงกบั เหงอื ก ขั้นท่ี 3 แปรงเบา ๆ บริเวณผวิ ด้านนอกของฟนั แต่ละซท่ี กุ ซี่และบนของเหงือกลา่ ง ใชเ้ วลาประมาณ 12 ถึง 15 วนิ าที ในแต่ละจดุ ขน้ั ที่ 4 แปรงเบา ๆ บรเิ วณผิวแปรงด้านในของฟันแต่ละซ่ีทกุ ซีแ่ ละบนของเหงอื กลา่ ง ใชเ้ วลาประมาณ 12 ถงึ 15 วินาทใี นแตล่ ะจดุ ขั้นที่ 5 แปรงฟันหน้า ค่มู อื ปฏิบัตสิ �ำ หรบั การด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั 75 และจดั การการรังแกกันในโรงเรียน

เดก็ บกพรอ่ งทางสติปญั ญา ขนั้ ท่ี 6 แปรงลิ้น โดยวางแปรงใกล้กับโคนล้นิ แล้วปัดออก จ�ำ นวน 3 คร้งั ขั้นท่ี 7 บว้ นปากด้วยนํ้าเปล่า 3 – 5 คร้ัง ขั้นที่ 8 ลา้ งทำ�ความสะอาดแปรงสฟี นั เก็บใหเ้ รยี บรอ้ ย ใหค้ วามรู้เพ่ือน ๆ หรือบคุ คลรอบขา้ งให้เขา้ ใจและตระหนักถึงการช่วยเหลอื และสอนส่ิงดๆี ท่ถี กู ตอ้ งให้กบั เด็ก บกพรอ่ งทางสติปญั ญา เพราะเด็กกลุ่มนีไ้ มส่ ามารถแยกแยะถกู หรือผดิ ได้ ลกั ษณะปญั หาท่วั ไป เด็กสมาธิสัน้ 1. ไม่ท�ำ ตามขน้ั ตอน ชอบท�ำ อะไรง่าย ๆ รวบลัด 2. ไมม่ ีสมาธใิ นการท�ำ งานนาน ๆ เปลยี่ นกจิ กรรมบ่อย ๆ ทำ�งานไมส่ ำ�เร็จ หลกี เลี่ยง ไมชอบงานทีต่ ้องใช้ความพยายาม 3. ลมื งา่ ย ๆ ลมื ส่งิ ทต่ี อ้ งท�ำ หรอื ส่งิ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 4. วอกแวกงา่ ย เมอ่ื มีส่ิงเร้ามากระตุ้น 5. นัง่ เหม่อ ใจลอย ท�ำ ของหายบ่อย ๆถะ 6. พดู แทรก โต้ตอบสวนกลางคัน พดู รบกวน 76 คู่มือปฏิบัติส�ำ หรับการดำ�เนนิ การป้องกนั และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรยี น

ลกั ษณะ เดก็ สมาธสิ ้นั เดก็ สมาธิสน้ั ที่จะทำ�ให้ถูกรังแก 1. ไม่รอคอยตามลำ�ดับ แซงคิวเพือ่ น มกั พบเปน็ กล่มุ ที่มีพฤตกิ รรม กิจกรรม 2. หลกี เลี่ยงการทำ�งาน ไม่ชว่ ยงานเพื่อน (งานกลุ่ม) การชว่ ยเหลือ 3. ยมื ของเพ่อื น หยิบใช้ของผู้อืน่ โดยไม่ขออนุญาต แกล้งรังแกผู้อ่นื ไดบ้ ่อย 4. ถกู ชกั จงู ในการกระทำ�ผดิ ได้ง่าย เพ่ือให้ตวั เองเป็นทยี่ อมรบั เชน่ ทา้ ตี – ตอ่ ย เพราะเลน่ แรง 1. หากจิ กรรมทีท่ �ำ ใหเ้ ด็กจดจ่อหรอื อยนู่ ง่ิ ได้นาน โดยเลือกให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของเด็ก โดยเฉพาะกิจกรรมเคลอ่ื นไหว เชน่ กระโดดเชอื ก ควบคุมพลงั ไม่ได้ ว่ายนํ้า ฟุตบอล 2. มอบหมายหนา้ ทใี่ นห้องเรยี นให้รบั ผดิ ชอบอย่างชัดเจน โดยจัดทำ�ตารางงาน ยับยั้งตนเองไม่ได้ ทชี่ ดั เจนและให้รางวลั โดยการสะสมดาว (สมุดสะสมแตม้ ) 3. จัดตารางกจิ กรรมชวี ติ ประจ�ำ วนั เพือ่ ให้เด็กท�ำ ตามอยา่ งเปน็ ระบบ ทุกๆ วนั เหมือนเดิม 4. สอนให้เดก็ จดั โต๊ะเรยี นทกุ วนั กอ่ นกลบั บา้ น และใหจ้ ดั กระเปา๋ นกั เรยี นของตนเอง ทุกวันก่อนนอน เลอื กใช้กลอ่ งดนิ สอ, กระเป๋านกั เรยี นที่แบง่ เปน็ ชอ่ งๆ ไวแ้ ลว้ อยา่ งเป็นระเบียบ 5. จัดสง่ิ แวดล้อมในห้องเรยี นให้เหมาะสม จดั หอ้ งเรียนให้เป็นระเบยี บ โดยลด ส่งิ เรา้ หรอื สง่ิ รบกวนที่มีตอ่ เด็ก คมู่ อื ปฏบิ ัติสำ�หรับการดำ�เนนิ การป้องกนั 77 และจัดการการรงั แกกนั ในโรงเรียน

กิจกรรมการตระหนักรู้โดยครูนำ�ภาพเหตุการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไม่ดี เช่น การยกพวกตีกัน การสูบบุหรี่ ยาเสพติด การช่วยพ่อแม่ ทำ�งานบ้าน การไปวัด การชว่ ยเหลอื คนแก่ขา้ มถนน ฯลฯ และให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับภาพและช่วยกันสรุปว่า ภาพใดเปน็ สง่ิ ไมด่ ีไม่ควรทำ� ภาพใดเปน็ ส่ิงดีสมควรทำ� หลังจากน้ันครูสรุปผลดี ผลเสียของพฤติกรรมน้ัน 78 คูม่ ือปฏิบัตสิ �ำ หรบั การด�ำ เนินการป้องกนั และจัดการการรังแกกนั ในโรงเรยี น



10บทที่ เด็กทุกคน มีโอกาสเป็นผถู้ กู รังแก ผูร้ ังแก และผู้เห็นเหตกุ ารณ์ แนวทางการจดั การ และไดร้ บั ผลกระทบทางจติ ใจ รา่ งกาย อารมณ์ ปัญหา และปัญหาพฤตกิ รรมอืน่ ๆ ได้ไม่ตา่ งกัน เมื่อพบการรงั แกกัน  ผูร้ ังแก เด็กกลุ่มนีอ้ าจมีปญั หาการเรียน สมาธสิ นั้ ปัญหาอารมณแ์ ละพฤติกรรม ลักษณะทีพ่ บในเดก็ ผูถ้ ูกรังแก เด็กมักต้องการได้รับการยอมรับ อยากเป็นหัวหน้าเพื่อน หรืออยากได้รับ ผู้รังแก และผเู้ หน็ เหตุการณ์ ความสนใจจากเพ่ือน เพื่อให้ตัวเองมีตัวตน มีอำ�นาจ หากเด็กท่ีเป็นผู้รังแก ไมไ่ ด้รับคำ�แนะน�ำ ช่วยเหลอื ทถ่ี ูกต้อง หรือไม่ได้รับการรกั ษาหรือแกไ้ ขสาเหตุ  ผูถ้ กู รังแก ท่ีทำ�ให้มีพฤติกรรมแกล้งคนอ่ืน เช่น โรคสมาธิส้ัน การถูกใช้ความรุนแรง มักจะหวาดกลัว ไม่มั่นใจทจ่ี ะเล่าใหผ้ ู้ใหญฟ่ งั เพราะถกู ฝ่ายที่แกล้งขม่ ขู่ ในครอบครัว เด็กมักมีแนวโน้มที่จะแกล้งคนอื่นไปเรื่อยๆ ใช้วิธีแกล้ง ไม่ให้บอกใคร หรือเด็กเองคิดว่าเรื่องนี้ไม่มีใครช่วยได้ ทำ�ให้เก็บเร่ืองนี้ไว้ ที่รุนแรงหรือไม่เหมาะสมมากขึ้น หรือมีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงอ่ืนๆ คนเดียว ผลทตี่ ามมาทำ�ใหเ้ ดก็ ไม่มน่ั ใจ มองคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) ตามมา เช่น การใชส้ ารเสพติด โดดเรยี น ใชก้ ำ�ลัง ทะเลาะวิวาท ไม่ดี เครียดกังวล ซึมเศร้า ไม่ยอมไปโรงเรียน อาจเก็บกดหรือระบาย  ผูเ้ ห็นเหตกุ ารณ์ ความเครียดของตัวเองออกมาที่บ้าน หากรุนแรงมาก อาจพยายามทำ�ร้าย เด็กที่พบเห็นความรุนแรงจากการแกล้งกัน จะเกิดการเรียนรู้ว่าการไป ตัวเอง หรือคิดฆ่าตวั ตายได้ แกลง้ คนอนื่ นน้ั เปน็ เรอ่ื งสนกุ รสู้ กึ สะใจทเ่ี หน็ ฝา่ ยโดนแกลง้ รอ้ งไห้ หวาดกลวั และคิดว่าเด็กท่ีแกล้งเพื่อนดูเจ๋ง มีอำ�นาจ ได้รับการยอมรับนับถือจากเพื่อน คนอื่น เด็กอาจเปล่ียนเป็นคนท่ีไปแกล้งเพื่อนบ้างเพราะกลัวว่าตัวเองอาจ โดนแกล้ง เลยตอ้ งท�ำ ตัวเป็นพวกเดยี วกับฝ่ายทีแ่ กล้ง หรอื เพราะอยากรสู้ กึ ดี กบั การที่ทำ�ใหค้ นอื่นกลัวได้ คู่มือปฏบิ ัติสำ�หรับการดำ�เนนิ การป้องกัน 79 และจัดการการรังแกกันในโรงเรียน

หลกั สำ�คัญ ในการจดั การปญั หาหรือจดั กิจกรรม เป้าหมายทกั ษะ ของที่เดก็ ควรไดร้ ับการสง่ เสรมิ เมือ่ พบการรังแกกนั  การปรบั ทศั นคตแิ ละความเชือ่ ท่ีถกู ต้องเก่ยี วกบั การรงั แกกัน  ยดึ หลกั ไมต่ �ำ หนซิ าํ้ “Noblameapproach” ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรงในการ  การส่งเสริมทักษะชีวิต ทักษะการเข้าสังคม การจัดการอารมณ์ แก้ปญั หา พูดคุย จดั การปญั หาหรอื จัดกจิ กรรมเม่ือพบการรังแกกัน เช่น การฝึกทักษะการจัดการอารมณ์โกรธ ความคิดลบ ทักษะการสื่อสาร  การแกป้ ญั หาทไ่ี ดผ้ ลเนน้ การสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจและกจิ กรรมส�ำ หรบั เชงิ บวก เปน็ ต้น เดก็ ทกุ คน (universal program) ไดผ้ ลดกี วา่ การจดั การเฉพาะคกู่ รณที ร่ี งั แกกนั  การเสริมสร้างคุณค่าในตนเอง (self-esteem) และค้นหาจุดแข็ง  กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ งเดก็ ใน หอ้ งเรยี น และนอก ให้เป็นประโยชน์ หอ้ งเรยี น จะช่วยลดความรุนแรงของปญั หา  แนวทาง/ข้ันตอนการจัดการเม่ือถูกรังแกหรือเม่ือพบเห็นการรังแก กนั ทเ่ี หมาะสม การจดั การปญั หาเม่อื พบการรกั แกกนั เด็กควรไดร้ บั ความมัน่ ใจจากครูถึงความ ทักษะส�ำ คัญท่ีเดก็ ควรได้รบั การสง่ เสริมพัฒนา* ปลอดภยั และการชว่ ยเหลอื ผ้ถู กู รังแก ผู้รังแกผู้อ่นื ของครูเม่ือมีปญั หา การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) เพราะเด็กมัก ทกั ษะการจดั การความโกรธ (Anger management) * ครูควรมีการประเมินเด็กตั้งแต่ต้นปี รู้สึกถูกท�ำ รา้ ย ไมม่ ั่นใจ จัดการอารมณใ์ ห้เหมาะสม การศกึ ษา ว่าเดก็ ยังขาดทักษะในด้านใด (กEาmรเpสoริมwพeลrmังใeหnเ้ ดt)็กเกดิ ความม่ันใจในตนเอง ทกั ษะการเอาใจเขามาใสใ่ จเรา เรียนรแู้ ละเขา้ ใจ บา้ ง เพอื่ จะเสรมิ ทกั ษะในดา้ นนน้ั ใหแ้ ขง็ ทกั ษะในการแกป้ ญั หา (Problem solving skill) สง่ เสรมิ ความรู้สึกคนที่ถูกรังแก แรงขึ้น ซ่ึงสามารถประเมินได้จากการ ทกั ษะแกไ้ ขปญั หาทหี่ ลากหลาย เนน้ คดิ วเิ คราะห์ ใชเ้ หตผุ ล ทักษะในการแก้ปญั หา (Problem solving skill) ควรส่งเสรมิ พูดคุยรายบุคคล ร่วมกับแบบประเมิน/ เรียนรู้จากผลกระทบท่ีเกิดขึ้น ทกั ษะแกไ้ ขปญั หาทหี่ ลากหลาย เนน้ การคดิ วเิ คราะห์ ใชเ้ หตผุ ล (ถา้ มี) เรียนรจู้ ากการกระทำ�ของตนเอง 80 คู่มอื ปฏิบัติสำ�หรบั การดำ�เนินการปอ้ งกัน และจดั การการรังแกกนั ในโรงเรียน

การจัดการปัญหา แบง่ เป็น 2 กรณี ดังนี้ หากเดก็ ไม่กลา้ เลา่ ให้ครชู วนพดู หรอื ชวนคุย 1. กรณีทีค่ รพู บเห็นการรงั แกกนั ด้วยตนเอง เพื่อสรา้ งความไวว้ างใจแก่เด็กกอ่ น ครทู พี่ บเหน็ ควรเขา้ ไปหยดุ เหตกุ ารณใ์ นทนั ทแี ละสอบถามเหตกุ ารณ์ และให้ความเช่อื ม่นั วา่ ครสู ามารถ จากทกุ คนทอี่ ยใู่ นเหตกุ ารณไ์ มใ่ หก้ ารรงั แกนน้ั ด�ำ เนนิ ตอ่ ไปได้ และเปน็ โอกาส ชว่ ยเหลอื หรอื ชว่ ยจดั การปญั หาได้ ทจ่ี ะทำ�ใหเ้ ดก็ ผรู้ งั แกได้ฟงั ความรูส้ กึ จากเพื่อนๆ ในเหตุการณ์ จากนนั้ ให้ครทู ี่ พร้อมทั้งดลู ักษณะวา่ เข้าขา่ ยของเด็ก ดูแลและรู้จักเด็กคู่กรณี เรียกเด็กเข้าไปคุยเพ่ือทำ�ความเข้าใจปัญหา และหา แนวทางแก้ปัญหาร่วมกันระหว่างผู้ถูกรังแกและผู้รังแก หากพบกรณีมีเด็กที่ ท่ีมักถกู รงั แกหรือไม่ เป็นผู้เห็นเหตุการณ์จำ�นวนมาก แต่ไม่ช่วยเหลือเพื่อน หรือรังแกซํ้าด้วยการ เพ่อื เสรมิ ทกั ษะไมใ่ ห้ตกเปน็ ผ้ถู ูกรงั แก ถา่ ยรปู หรือซํ้าเตมิ ครูควรจัดกิจกรรมส�ำ หรับเด็กท้งั ชัน้ เรยี น หรอื มกี ิจกรรม รณรงคเ์ พอ่ื ให้เขา้ ใจการรังแกกันร่วมกันในโรงเรยี น ในครง้ั ต่อไป 2. กรณที ี่ครไู ม่ได้พบเหน็ การรงั แกกนั ด้วยตนเองแต่มี วธิ จี ดั การต่อจากทง้ั สองกรณี ผูม้ ารายงานใหท้ ราบ  เรียกพอ่ แมห่ รอื ผ้ปู กครองของเดก็ ทัง้ สองฝ่ายเข้ามาพดู คยุ 2.1 รับฟังข้อเท็จจริง - ผ้ถู ูกรังแก เพื่อให้ผู้ปกครองรับทราบว่าเกิดอะไรขึ้นและแนะวิธีใน เมอ่ื ไดร้ บั รายงานการรงั แกกนั ไมว่ า่ จะมาจากผพู้ บเหน็ เหตกุ ารณห์ รอื การเสริมทักษะไม่ให้ลูกตกเป็นผู้ถูกรังแกอีกในคร้ังต่อไป เช่น การฝึกทักษะ มาจากเด็กผถู้ กู รังแก ใหค้ รูใช้เวลารวบรวมขอ้ เทจ็ จริง ค้นหาสาเหตทุ ่เี ด็กถกู การป้องกนั ตนเอง ทักษะในการแกป้ ญั หา ฯลฯ รงั แก และดวู า่ เดก็ คนไหนเกีย่ วขอ้ งบ้าง - ผู้รงั แก เพอ่ื ใหผ้ ปู้ กครองรบั ทราบวา่ เกดิ อะไรขน้ึ ใหท้ ราบวา่ การ 2.2 เขา้ ไปคยุ กับเดก็ ทงั้ สองฝา่ ย โดยแยกคุยทีละฝา่ ย รงั แกผอู้ น่ื เปน็ สงิ่ ทยี่ อมรบั ไมไ่ ด้ และแนะแนวทางดแู ลลกู อยา่ งไรไมใ่ หไ้ ปรงั แก เพ่ือหาข้อเท็จจริงเก่ียวกับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน และทำ�การประเมิน ผู้อื่น สอนให้ลูกมีทักษะในการจัดการความโกรธ และให้ทราบว่าเด็กและ เบื้องต้นว่าเด็กแต่ละฝ่ายยังขาดทักษะในด้านไหน ทำ�ไมเหตุการณ์การรังแก ผู้ปกครองต้องรบั ผิดชอบอยา่ งไรหากมีการรงั แกซ้ํา กันจึงเกิดขึ้น แล้วหาวิธีเสริมทักษะหรือวิธีจัดการเพื่อไม่ให้เกิดการรังแกกัน ในคร้ังต่อไป ค่มู ือปฏิบัตสิ ำ�หรับการด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั 81 และจัดการการรงั แกกันในโรงเรียน