Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการโรคและแมลงศัตรูทุเรียน

การจัดการโรคและแมลงศัตรูทุเรียน

Description: การจัดการโรคและแมลงศัตรูทุเรียน.

Search

Read the Text Version

การจัดการ โรคและแมลงศัตรทู ุเรยี น

คาํ นาํ ทุเรียน เปนผลไมที่คนไทยยกยองใหเปนราชาแหงผลไมทั้งปวง (King of Fruits) นอกจากจะเปน ทนี่ ยิ มรับประทานของคนไทยแลว ยังเปนผลไมท่ีดึงดูดความสนใจของนักทองเท่ียว และชาวตางชาติดวย ทำใหการบริโภคทุเรียนในแตละปมีปริมาณสูง รวมถึงมีการสงออก ทุเรียนไปตางประเทศในปริมาณมาก และความตองการบริโภค ทุเรียนมีแนวโนมเพิ่มขึ้น สงผลใหเกษตรกรหันมาปลูกมากขึ้นใน ท่วั ทุกภาคของประเทศไทย . ปญ หาในการปลกู ทุเรยี นทสี่ ำคัญปญ หาหนึ่งคอื ศัตรูทเุ รยี น โรค และแมลงเปนศัตรูพืชที่ระบาดทำลายทุเรียน บางชนิดทำใหตนทุเรียน ตาย บางชนิดทำใหผลผลิตลดลง และบางชนิดทำใหผลผลิตไมมี คุณภาพหรือผลผลิตเสียหายจนไมสามารถรับประทานได ศัตรูพืช บางชนิดสงผลตอการสงออกทุเรียนไปยังตางประเทศ บางประเทศใช เปนเงื่อนไขในการกดราคา บางประเทศใชเปนเง่ือนไขกีดกันทางการคา เอกสารวิชาการเร่ือง การจัดการโรคและแมลงศัตรูทุเรียน ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใหเจาหนาท่ีสงเสริมการเกษตรใชเปนคูมือสำหรับ สงเสริมใหคำแนะนำเกษตรกรในการจัดการศัตรูทุเรียน ใหเกษตรกร นำความรูไปปรับใชในการผลิตทุเรียนคุณภาพดีใหเหมาะสมกับสภาพ พื้นท่ี คณะผูจัดทำขอขอบคุณแหลงขอมูลและผลงานวิจัยตางๆ รวมถงึ ภาพประกอบท่แี สดงในเอกสารฉบับนี้ หากมีขอ เสนอแนะเพิม่ เติม ขอไดโปรดแจงใหศูนยสงเสริมเทคโนโลยีการเกษตรดานอารักขาพืช จังหวัดสงขลาทราบ เพ่ือนำไปปรับปรงุ ในการจดั ทำคร้งั ตอไป และหวัง เปนอยางย่ิงวาเอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนในการผลิตทุเรียนท่ีมี คณุ ภาพ ปลอดภัยจากศตั รูพืชและสารเคมี . คณะผูจัดทำ มถิ นุ ายน 2562 1

สารบญั หนา เรื่อง 3 5 บทนำ 6 โรคท่ีสำคัญของทเุ รยี น 21 27 โรครากเนา โคนเนา 33 โรคใบติด 34 โรคราสชี มพู 45 แมลงศตั รูทส่ี ำคญั ของทุเรยี น 56 หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน 62 หนอนเจาะผลทเุ รียน 66 ดว งหนวดยาวเจาะลำตน 72 มอดเจาะลำตน 77 เพลี้ยไกแ จ 82 เพล้ียไฟ ไรแดง 83 ปฏิทนิ การจดั การศตั รทู เุ รียน ตามระยะการเจริญเติบโต เอกสารอา งอิง 2

บาํ ทเุ รียน (Durian) มีชอื่ วทิ ยาศาสตรว า Durio zibethinus Murray เปนพืชในวงศ Bombacaceae เปนพืชที่ชอบอากาศรอนชื้น อุณหภูมิ ท่ีเหมาะสมสำหรบั ทเุ รยี นอยใู นชว ง 25-30 องศาเซลเซยี ส ความชน้ื สมั พัทธ 75-85% ปรมิ าณน้ำฝนไมน อ ยกวา 2,000 มิลลลิ ติ ร/ป ชว งแลง ตอ เนอ่ื ง ไมเกิน 3 เดือน ชอบดินรวน หรือรวนปนทราย มีการระบายน้ำไดดี ความเปน กรดเปนดาง 5.5-6.5 . ทเุ รียนเปน ไมผลยนื ตน ลำตน ตรง ไมม กี ารผลัดใบ ทรงพมุ แผก วาง ตนที่ปลูกจากเมล็ด สูง 25-50 เมตร สวนตนที่ปลูกจากการเสียบยอด อาจสูงถึง 8-12 เมตร ทุเรียนเปนพันธุไมท่ีมีรากหาอาหารตามผิวดิน จนถึงระดบั 50 เซนตเิ มตร มีรากพิเศษท่เี กดิ จากบริเวณโคนตนอยมู ากมาย ตามผิวดิน แตกออกมาลักษณะตีนตะขาบเรียกวา “รากตะขาบ” รากแกว ของทุเรียนทำหนาท่ียึดลำตน มีรากฝอยเปนรากหาอาหาร ตนแตกกิ่ง เปนมุมแหลม ปลายกิ่งตั้งกระจายกิ่งกลางลำตนขึ้นไป เปลือกช้ันนอก ของลำตน สเี ทาแก ผิวขรุขระหลุดลอกออกเปนสะเกด็ ไมมียาง ใบเปน ใบเดย่ี ว เกิดกระจายท่ัวก่ิง เกิดเปนคูอยูตรงกันขามระนาบเดียวกัน กานใบกลม ยาว 2–4 เซนติเมตร แผนใบรูปไข ปลายใบเรียวแหลมยาว 8-20 เซนตเิ มตร กวา ง 4-6 เซนติเมตร ผิวใบเรียบล่ืน มีไขนวล ใบดานบน มสี ีเขยี ว ทองใบมสี นี ำ้ ตาล เสนใบดานลา งนนู เดน ขอบใบเรยี บ . 3

ดอกเปนดอกชอ มี 1-8 ดอก บนก่งิ เดยี วกนั มี 3-30 ชอ ลักษณะดอก สมบูรณเพศ ลักษณะดอกคลายระฆัง กลีบเล้ียงอยูช้ันนอกสุดมีสีเขียว อมน้ำตาล หุมดอกไวมิดชิดโดยไมมีการแบงกลีบ เม่ือดอกใกลแยมจึงแยก ออกเปน สองหรอื สามกลบี กลบี รองลกั ษณะคลา ยหมอ ตาลโตนดอยูถ ัดเขาไป จากกลบี เลีย้ ง กลบี ดอกสขี าวนวลมี 5 กลีบ เกสรตวั ผมู ี 5 ชดุ ประกอบดวย กา นเกสร 5-8 อนั โดยท่ัวไปทุเรยี นจะใหผ ลเมอื่ มีอายุ 4-5 ป ผลจะออกตาม กิ่งและจะสุกหลังจากผสมเกสรไปแลว 3 เดือน ผลทุเรียนมีเปลือกหนา มีหนามแหลมแข็งเปนรูปปรามิดตลอดผล เม่ือแกผลมีสีเขียว เม่ือสุกมีสี นำ้ ตาลออน แตกตามแตล ะสว นของผลเรยี กเปน พู เนือ้ ในมีต้งั แตส ีเหลืองออน เหลืองจำปาถงึ แดง เนอื้ ในกง่ึ ออ นกึง่ แขง็ มรี สหวาน เมลด็ มเี ย่ือหมุ กลมรี เปลอื กหมุ สีน้ำตาลผิวเรยี บ เน้อื ในเมล็ดสีขาว รสชาตฝิ าด 4

โรคสำคญั ของทเุ รียน 5

โรครากเนา โคนเนา เกิดจากเชอ้ื ราไฟทอปธอรา Phytopthora palmivora 6

เชื้อรา Phytopthora สรา ง sporangium ภายในมี zoospores ซง่ึ มี Ffl lagella วา ยนำ้ ได เช้ือรา Phytopthora สามารถแพรก ระจาย ไดห ลายชอ งทาง เชน น้ำ ลม ตดิ ไปกบั สงิ่ มีตา งๆ ท่ีสมั ผัสเชื้อ เปน ตน 7

ลกั ษณะอาการ หากทำลายทีร่ ากฝอย ปลายยอดแหง ใบหมอง ไมสดใส หากทำลายทีร่ ากใหญ ใบหมองซีดไมส ดใส แสดงอาการทั้งตน และใบหลุดรวง จากปลายกิง่ เชอ้ื ราเขาทำลายทรี่ าก ทำใหร ากเนาเปนสีนำ้ ตาล เปลอื กรากดงึ ลอกไดง า ย 8

ลกั ษณะอาการ เช้อื โรคลุกลามไปลำตน เกิดจดุ ฉ่ำนำ้ มีเมอื กไหลเยิ้ม เนื้อไมเปน สนี ้ำตาลแดง ใบดาน เหลืองซีด ไมส ดใส จากน้นั ใบรว ง และยืนตน ตาย 9

บางคร้งั เช้ือโรคเขาทำลายท่ีลำตน หรือกงิ่ โดยตรง จะเห็นอาการใบสลด ไมสดใส ใบเหลอื งเปน บางกงิ่ หากเชอ้ื โรคเขา ทำลาย ทีใ่ บโดยตรง ใบดำชำ้ ตายนงึ่ คลายนำ้ รอ นลวก ตอมาใบไหมแ ละ แหงคาตน หากมีการ ตดิ เชื้อทผ่ี ล จะทำใหผ ลเนา 10

การจดั การ 1. ปรบั สภาพสวนไมใ หเอือ้ อำนวยตอ เชือ้ โรค อยา ใหนำ้ ขงั แฉะ บริเวณโคนตน โดยการขุดรอ ง ระบายน้ำ ตัดแตงทรงพุมใหโปรง เพอื่ ใหอากาศถายเท และเกบ็ สวนท่ีเปนโรคนำไปเผาทำลาย 11

กำจดั วชั พืชบรเิ วณโคนตน ไมนำเคร่อื งจักรหรือสัตวเ ลี้ยง ลงเหยยี บย่ำบรเิ วณทรงพุม ปรับ pH ดิน ใหอยรู ะหวาง 5.5-6.5 เชน ใสปูนขาว หรือ โดโลไมท ในดินที่มีความเปน ดาง 12

การจดั การ 2. บำรงุ ตนใหแ ข็งแรง ใหทเุ รียนไดร บั น้ำ อากาศ และธาตุอาหาร อยา งเหมาะสม ออกซเิ จน นำ้ คารบ อนไดออ กไซด NP K Ca Mg S ธาตอุ าหารรอง ธาตอุ าหารหลกั B Zn Fe Cu Mn Cl Mo จลุ ธาตุ 13

การจดั การ 3. สำรวจสถานการณศ ตั รพู ชื อยางสม่ำเสมอ สำรวจตดิ ตามสถานการณศัตรูพืช สปั ดาหละ 1 ครั้งๆละ 10 จุด ตลอดฤดกู าล แปลงสำรวจควรมขี นาด 3 ไร ขึ้นไป สำรวจ ตดิ ตาม ตรวจนับศตั รพู ืช ความเคลื่อนไหว ศัตรูธรรมชาติ และสวนของพชื ของสภาพ ดินฟาอากาศ ทถี่ กู ทำลาย อยางสมำ่ เสมอ ประเมิน วเิ คราะห ประสิทธิภาพ สถานการณ ศตั รธู รรมชาติ ในการควบคุม ศตั รูพืช ศัตรูพืช 14

การจัดการ 4. ลดปริมาณเช้อื โรคในดินและบรเิ วณทีเ่ กิดโรค ใชเ ชื้อราไตรโคเดอรม า (Trichoderma harzianum) ถากบรเิ วณท่เี ปนโรค ใชไ ตรโคเดอรม า 250 กรัม ดนิ แดง กก. น้ำ 1 ลติ ร ผสมกนั ทาบริเวณแผล 15

ใสส วนผสมไตรโคเดอรม า บรเิ วณโคนตน รอบทรงพุม อตั รา 50 กรัม/ตารางเมตร ทกุ 4-6 เดือน 1 กไกต.รโคเดอรมา ปุย1อ0นิ 0ทกรียก. 4 รกำกล.ะเอียด 16

รดไตรโคเดอรม า บรเิ วณโคนตนรอบทรงพุม อตั รา 5-10 ลิตร/ตน ทุก 1-3 เดอื น ฉีดพนไตรโคเดอรม า ท่วั ตน เม่อื สำรวจพบผลเนา ไตรโคเดอรมา 1 กก. น้ำ 200 ลิตร 17

ใชเชอื้ บาซิลลสั ซบั ทลี ิส (Bacillus subtilis : Bs) รด Bs บริเวณโคนตน รอบทรงพุม อัตรา 50 กรมั /นำ้ 20 ลติ ร 5-10 ลิตร/ตน ทกุ 1-3 เดอื น 18

ใชส ารเคมี เม่อื มอี าการรุนแรง เชน เมตาแลกซลิ ฟอสเอทลิ อลูมินัม โพลอี ารฟอส ฉีดสารเคมโี พลีอารฟ อส ผสมนำ้ สะอาด อัตรา 1:1 ฉดี เขาลำตน 20 ซซี ี 19

ราดดนิ รอบทรงพมุ ดว ยสารเคมีเมตาแลกซิล หรือ ฟอสเอทลิ อลูมนิ ัม หรือออกซาไดซลิ +แมนโคเซบ 2-3 ครัง้ หา งกัน 15 วนั ถากบรเิ วณที่เปนโรค ใชส ารเคมีเมตาแลกซลิ หรอื ฟอสเอทลิ อลมู นิ ัม ทาบริเวณแผล ฉดี พน ท่วั ตน ดวยสารเคมีเมตาแลกซิล หรอื ฟอสเอทิลอลมู ินมั เม่ือสำรวจพบผลเนากอนเก็บเกีย่ ว ไมนอ ยกวา 20 วนั 20

โรคใบติด เกิดจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย Rhizoctonia solani 21

เสน ใยเช้ือรามผี นังกนั้ เสน ใยแตก สาขาในลักษณะ ตั้งฉาก การขยายพนั ธสุ ว นใหญโ ดยการทเี่ สน ใยเช้ือราอดั แนน รวมกันเปน เมด็ คลา ยเมล็ดผกั กาด เรียกวา เม็ดสเคลอโรเทียม (sclerotium) มอี ายุอยูใ นดินหรือในพชื ไดน านหลายป เม่ือสภาพแวดลอ มเหมาะสม จะงอกเขาทำลายพชื ได 22

ลักษณะอาการ ใบมีรอยคลายถูก น้ำรอ นลวก ขอบแผลไมแ นนอน อาการอาจเรม่ิ ท่ี ปลายใบ กลางใบ หรือโคนใบ อาการลกุ ลามจน เปน ทง้ั ใบ เหน็ เสนใยสีขาวนวล ปกคลุม ยึดใบใหต ิดกัน ใบรวงในที่สุด ซง่ึ เสน ใยของเชอ้ื ราบนใบ จะเปน แหลง สะสมเชอ้ื และระบาดตอ ไป 23

การจัดการ 1. ปรบั สภาพสวนไมใ หเ อือ้ อำนวยตอเชอ้ื โรค ตดั แตง ทรงพมุ ใหโ ปรง เพ่ือใหอ ากาศถา ยเท และเกบ็ สว นท่ีเปน โรค และเกบ็ ใบทเุ รียน ทีต่ ดิ โรครวงหลน ลงพ้ืน นำไปเผาทำลาย 24

การจดั การ 2. ไมควรปลูกทุเรยี นใหชดิ กนั เกนิ ไป เพราะจะทำใหทรงพมุ ชนกัน เกิดโรคติดตอกนั ไดงาย 25

การจดั การ 3. ชว งฤดฝู นหรือชวงที่มีความชืน้ สงู ฉีดพนทรงพุมดว ยเชอ้ื รา ไตรโคเดอรมา หรอื เชอ้ื Bs ทุก 7-15 วัน 26

โรคราสชี มพู เกิดจาก เชือ้ ราคอรต ิเซียม Corticium salmonicolor 27

ลักษณะอาการ เช้ือราเจรญิ บนก่ิงและงา มก่ิง หรือลำตน เรม่ิ ตน จะเห็นเสนใย สขี าว เม่ืออายุมากขึ้นจะเปลี่ยน เปนสชี มพู 28

กง่ิ และลำตน เปลือกผลุ อน เนอ้ื ไมภายใน เปน สนี ำ้ ตาล ก่ิงที่เปนโรค ใบเหลอื งรวง หากเปน รอบก่งิ กง่ิ จะแหงตาย 29

การจดั การ 1. ปรบั สภาพสวนไมใ หเออ้ื อำนวยตอ เช้อื โรค ตัดแตง ทรงพุมใหโปรง เพอื่ ใหอากาศถายเท และเกบ็ สว นท่เี ปน โรคและเก็บใบทเุ รยี น ท่ตี ิดโรครว งหลน ลงพ้ืน นำไปเผาทำลาย 30

การจดั การ 2.ชว งฤดฝู นหรอื ชว งทมี่ ีความชน้ื สูง ฉดี พน ทรงพุมดวยเชอ้ื รา ไตรโคเดอรม า หรือเช้อื Bs ทุก 7-15 วนั เพอื่ ปอ งกันการเกิดโรค และทุก 3-7 วัน เพอ่ื ปอ งกันการระบาดเม่อื เกดิ โรค 31

การจัดการ 3.อาการรุนแรง ใชส ารเคมี Copper oxychloride ฉีดพน 32

แมลงศัตรูพืช ทส่ี ำคญั ของทุเรียน 33

หนอน เจาะเมลด็ ทุเรยี น Mudaria luteileprosa ผีเส้อื กลางคนื วงศ Noctuidae 34

สนั นิษฐานวาเดิมระบาดในประเทศมาเลเซยี จึงมชี ื่อเรียกวา หนอนมาเลย แลว ระบาด จากภาคใตไปยงั ภาคตะวนั ออก เกษตรกรจงึ เรยี กวา หนอนใต ในชวงเกบ็ เก่ยี วผลผลิต หนอนจะเจาะ ออกจากผล ทำใหเกิดรูทีผ่ ล บางคนจงึ เรยี กวา หนอนรู 35

วงจรชีวิต หลงั ฝนตกหนัก ผเี ส้อื วางไขเปน ตอ เน่ืองผีเสือ้ จะ ฟองเด่ียว ตลอด ฟก ออกจากดักแด อายุขยั วางไขไ ด ผสมพันธุ 100-200 ฟอง และวางไข ตวั เต็มวัย 7-10 วัน ดกั แด ไข 2-3 วนั 1-9 เดือน หนอนออกมา หนอนเจาะเขาไป เขาดกั แดใ นดิน กัดกนิ ภายในเมลด็ ลึกประมาณ 15 ซม. จนโตเตม็ ท่ี หนอน 38 วัน 36

ผีเสอื้ วางไขทร่ี องหนาม เมือ่ หนอนฟก จะเจาะเขาไปกัดกิน ภายในเมล็ดจนโตเตม็ ที่ ขนาดประมาณ 4 ซม. จึงเจาะออกมาเขา ดักแดใ นดนิ ความเสียหายเกดิ จากหนอน ถายมูลออกมา ทำใหเนอ้ื ทเุ รยี นเปรอะเปอน ความสญู เสยี ในการสง ออก คอื หนอนเจาะออกมา ระหวา งขนสง และผูบ ริโภค พบหนอนหรอื รอยเปอ น ทำใหถกู กีดกนั ไมให สงไปขายยงั ประเทศ ปลายทาง รูท่หี นอนเจาะออกมา จะมีขยุ สขี าวปนสม ติดอยู 37

การจัดการ 1. วางกับดกั แสงไฟเมอ่ื เรม่ิ ออกดอก วางต้ังแต 21.00 น. เพือ่ ดูปรมิ าณผเี ส้ือ 38

ตรวจนับทกุ 2-3 วนั พบผเี ส้ือ 1 ตวั ใหต รวจดูไขท ่รี อ งหนาม เก็บทำลาย และปลอยแตนเบียนไขไตรโคแกรมมา 39

ฉดี พน สารท่มี ีกลน่ิ เชน สารสะเดา น้ำสมควันไม เพื่อไลผ เี สือ้ ไมใหเ ขา มาวางไข 40

การจัดการ 2. ทำความสะอาดสวน เกบ็ ผลที่รว งหลน ไปทำลาย 41

ใชเชอ้ื ราบวิ เวอเรีย หรอื เชอื้ ราเมตาไรเซียม หรือไสเดือนฝอย หวา นหรือรดลงดนิ ใหท ่ัวทงั้ สวน หลงั ตดั แตงกิง่ และชว งตดิ ผล เชอื้ ราบวิ วอเรีย ไสเดือนฝอย 1-2 กก./ไร 5-10 ซอง/ไร เช้อื ราเมตาไรเซยี่ ม 1-2 กก./ไร 42

การจดั การ 3. หอผลดวยถุงพลาสติกสีขาวขุน ขนาด 40x75 ซม. เจาะรกู นถุง กอ นหอ ผลตอ ง ตรวจดูวาไมม แี มลงหรือไขแมลงตดิ ทผี่ ล หอ ผลต้ังแตผลทเุ รียนอายุ 6 สปั ดาห หอ ผลไปจนเก็บเก่ยี ว กอนหอ ผลอาจฉีดพนดวย chlorpyrifos หรือ carbaryl เพ่อื ฆา แมลงทต่ี ิดทผี่ ล 43

หรอื ฉดี พน lamdacyhalothin หรือ cypermethrin+fosalone ในชวงอายผุ ลทุเรียน 6-10 สัปดาห สัปดาห ละ 1 ครง้ั รวม 5 ครง้ั จากนนั้ เลอื กหอ ผลทตี่ องการเกบ็ ไว โดยหอดวยถงุ พลาสตกิ สีขาวขนุ ขนาด 40x75 ซม. เจาะรูกน ถุง กอนหอผลตองตรวจดวู า ไมมแี มลง หรือไขแมลงติดที่ผล หอผลไปจนเก็บเกย่ี ว งดฉีดพนสารเคมกี อนเกบ็ เกย่ี ว อยา งนอ ย 14 วัน 44

หนอน เจาะผลทุเรยี น Conogethes punctiferalis ผีเสอ้ื กลางคนื วงศ pyralidae 45

วงจรชีวิต 46

ผีเส้อื วางไขทผ่ี ิวผลทเุ รียน โดยเฉพาะบรเิ วณผล ท่อี ยตู ดิ กนั เมื่อหนอนฟก จะกดั กินผวิ เปลือก ถายมูลทำรงั อยูท่เี ปลือก หนอนโตจะเจาะเขา ไปกนิ ภายใน อาจกัดกนิ ถงึ เนือ้ ผล ทำใหผ ลเนา มนี ำ้ ไหลเยิม้ และรว ง 47

การจดั การ 1. วางกบั ดกั แสงไฟเมือ่ เรมิ่ ติดผล วางต้งั แต หวั ค่ำ เพ่อื ดปู ริมาณผีเสื้อ 48

ตรวจนับทุก 2-3 วัน พบผเี ส้ือ 1 ตัว ใหตรวจดไู ข ท่ีผวิ เปลือก เก็บทำลาย และปลอยแตนเบียนไข ไตรโคแกรมมา ฉดี พน สารท่มี กี ลน่ิ เชน สารสะเดา นำ้ สมควันไม เพ่อื ไลผเี สื้อไมใ หเขามา วางไข 49