50 ปี กรมส่งเสรมิ การเกษตร (พ.ศ. 2510 - 2560) ความหมายของตราสัญลกั ษณ์ l ตัวเลข 50 พร้อมข้อความ “50 ปี กรมสง่ เสรมิ การเกษตร” และ ตราสัญลกั ษณก์ รมส่งเสรมิ การเกษตร แทนวาระครบรอบ 50 ปี สถาปนากรมสง่ เสรมิ การเกษตร ออกแบบให้ตวั เลข 50 เก่ยี วพันกนั เหมอื นสญั ลักษณ์ infinity ซึ่งหมายถงึ ความไมม่ ที ส่ี ิน้ สดุ l ใบไม้ แสดงถึงสญั ลักษณ์ทางการเกษตร มาจากตราสญั ลักษณป์ ระยกุ ต์ ของกรมสง่ เสริมการเกษตร ความหมายเป็น 50 ปีท่ีมุ่งม่ันปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง ดว้ ยความสามคั คีและเป็นน�้ำหนง่ึ ใจเดยี วกนั เปน็ ผสู้ ง่ เสริมน�ำความสำ� เร็จ ความกา้ วหนา้ มาสู่กิจการเกษตรกรรมด้านต่างๆ และมีการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรเพ่ือประโยชน์ แก่เกษตรกรตลอดไป
เอกสารคำ� แนะนำ� ที่ 5/2561 เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ภาคการเกษตร พิมพค์ รงั้ ที่ 1 : จ�ำนวน 5,000 เล่ม เมษายน พ.ศ. 2561 จัดพิมพ ์ : กรมสง่ เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิมพท์ ่ี : บรษิ ัท นวิ ธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จ�ำกดั
คำ�นำ� เอกสารค�ำแนะน�ำเรอื่ ง “เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ภาคการเกษตร” เป็นเอกสารเผยแพร่ที่กรมส่งเสริมการเกษตรได้จัดท�ำข้ึนเพ่ือ น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธบิ ดี จกั รีนฤบดินทร สยามมนิ ทราธิราช บรมนาถบพิตร ที่มีต่อปวงชนชาวไทย ท่ีทรงพระราชทานแนวทางหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงไวต้ ัง้ แต่ พ.ศ. 2517 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการด�ำรงชีวติ และ การประกอบอาชีพ โดยใช้หลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันท่ีดี โดยมีเงื่อนไข องค์ความรู้ควบคู่กับคุณธรรม ในการน้อมน�ำกระแสพระราชด�ำรัส เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจ�ำวันของเกษตรกรได้ตามความเหมาะสม เพ่ือสร้างพ้ืนฐาน ความพอมี พอกิน พอใช้ ในเบ้ืองต้นอันเป็นพื้นฐานในการด�ำรงชีวิต ทีส่ ำ� คัญจะต้องมี “สติปญั ญาและความเพียร” ซงึ่ จะน�ำไปสู่ “ความสขุ ” ในการด�ำเนินชวี ติ อย่างแท้จริง กรมส่งเสริมการเกษตร หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารค�ำแนะน�ำเล่มนี้ จะมีประโยชน์ และเป็นส่วนหน่ึงในการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในภาคการเกษตร เพื่อเป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวในการประกอบอาชีพ ให้กับพ่ีน้องเกษตรกร ประชาชนท่ัวไป ในการสรา้ งความรกั ความสามัคคี ความเขา้ ใจ ความม่นั คง ต้ังแต่ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป คณะผู้เรียบเรียงขอขอบคุณและน้อมรับค�ำติชม เพ่ือปรับปรุงแก้ไข ในโอกาสตอ่ ไป กรมสง่ เสริมการเกษตร 2561
สารบญั 5 10 13 16 พระราชดำ� รสั 1 ประโยชนข์ องทฤษฎใี หม ่ 12 ว่าด้วยเศรษฐกจิ พอเพียง แนวคิดของปรัชญา 13 เศรษฐกิจพอเพียงกับการแกไ้ ข บทบาทและความสำ� คัญ 4 วิกฤตทิ างเศรษฐกิจและปญั หา ของเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง ทางสงั คมของไทย ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5 ตวั อยา่ งความสำ� เร็จของเกษตรกร 17 ท่ีทำ� การเกษตรตามแนว ใช้ชวี ติ อยา่ ง “เพยี งพอ” 8 เศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ ความสขุ ที่ “พอเพยี ง” เศรษฐกจิ พอเพยี งส�ำหรบั เกษตรกร 10 บรรณานุกรม 28
พระราชด�ำรสั วา่ ดว้ ยเศรษฐกิจพอเพยี ง “การพฒั นาประเทศจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ตามลำ� ดบั ขน้ั ตอ้ งสรา้ งพน้ื ฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญเ่ บื้องตน้ กอ่ น โดยใช้ วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เม่ือได้พ้ืนฐาน ความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริม ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้ สูงขึ้นโดยลำ� ดับตอ่ ไป” พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานแก่บณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เม่ือวนั ที่ 4 ธนั วาคม 2517 R “ค�ำวา่ พอ ก็พอเพียง คนเราถ้าพอในความตอ้ งการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภนอ้ ย กเ็ บยี ดเบียนคนอ่ืนนอ้ ย ถ้าทกุ ประเทศมคี วามคิด ท�ำอะไรต้องพอเพียง พอประมาณไมส่ ดุ โตง่ ไม่โลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เป็นสุข...” พระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2541 R “...เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิตรากฐานความ มนั่ คงของแผน่ ดนิ เปรยี บเสมอื นเสาเขม็ ทถ่ี กู ตอกรองรบั บา้ นเรอื นตวั อาคาร ไว้นั่นเอง ส่ิงก่อสร้างจะม่ันคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็มแต่คนส่วนมากมองไม่เห็น เสาเขม็ และลืมเสาเขม็ เลยดว้ ยซ�้ำไป...” พระราชดำ� รัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จากวารสารชัยพัฒนา 1เศรษฐกจิ พอเพียงกบั ภาคการเกษตร
เศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เป็นปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมี พระราชด�ำรัสช้ีแนะแนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกร ชาวไทยมาตลอด โดยเริ่มตั้งแต่ในงานพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม 2517 เป็นต้นมา ในแนวทางของการพัฒนา บนหลักแนวคิดพ่ึงตนเอง และเม่ือเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ในปี 2540 ได้ทรงเน้นย้�ำแนวทางการแก้ไข เพ่ือให้รอดพ้น และสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแส โลกาภิวฒั นแ์ ละความเปลย่ี นแปลงต่างๆ 2 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
สรปุ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ·Ò§ÊÒ¡ÅÒ§ ¾Í»ÃÐÁÒ³ ÁàÕ Ëµ¼Ø Å ÁÕÀÁÙ ¤Ô ØÁ ¡¹Ñ à§Íè× ¹ä¢¤ÇÒÁÃÙ à§×Íè ¹ä¢¤³Ø ¸ÃÃÁ (รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวงั ) (ซอื่ สตั ยส จุ ริต ขยนั อดทน สตปิ ญ ญา แบง ปน) ¹ÓÊÙ ªÕÇÔµ/àÈÃÉ°¡Ô¨/Êѧ¤Á/ÊÔ§è áÇ´ÅÍÁ ÊÁ´ÅØ /Áèѹ¤§/Âè§Ñ Â¹× ท่มี า : สำ� นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 2549 3 “เศรษฐกจิ พอเพียงคืออะไร” (พิมพค์ ร้งั ที่ 3) เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ภาคการเกษตร
4. ดา้ นเทคโนโลยี l ใช้เทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมสอดคล้อง กบั ความตอ้ งการและสภาพแวดล้อม l ใชภ้ มู ิปัญญาทอ้ งถิน่ l พฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ปิ ัญญาของเราเอง 5. ดา้ นเศรษฐกิจ l ม่งุ ลดรายจา่ ย l การออม : สะสมเงินเปน็ ทุน เปน็ ภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงแนวทาง การปฏิบัตติ นตามเศรษฐกจิ พอเพียง l ยึดหลกั 3 พอ คอื พออยู่ พอกนิ พอใช้ l ประหยัด โดยตัดทอนรายจ่าย จากความฟุ่มเฟือยในการด�ำรงชีพ “ความเป็นอย่ไู ม่ฟ้งุ เฟ้อ ตอ้ งประหยัดไปในทางที่ถกู ตอ้ ง” l หารายไดเ้ พม่ิ อยา่ งค่อยเป็นคอ่ ยไป l ประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ต้องและสุจริต มคี ุณธรรม l ภมู ปิ ญั ญาพ้นื บ้านและทดี่ ินท�ำกินคือทนุ ทางสงั คม l ต้ังสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉียบแหลม น�ำความรู้ ความเข้าใจอยา่ งลึกซ้งึ มาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำ� วัน 7เศรษฐกจิ พอเพยี งกับภาคการเกษตร
ใช้ชวี ติ อยา่ ง ”เพียงพอ” เพื่อความสขุ ท่ี “พอเพียง” “พอใจ” แลว้ ใจจะพอเพียง คนไทยมีอะไรหลายอย่างท่ีต่างชาติไม่มี แม้ในทางกลับกัน เราก็อาจจะไม่มี ในสิ่งท่ีเขาครบครัน ความไม่มีไม่ได้หมายความว่าขาด บางคราก็อาจจะไม่เหมาะกับ วิถขี องเรา ระเบดิ จากภายใน มองเรือ่ งเล็กๆ ใกลต้ วั แล้วขยายวงสู่เรอ่ื งใหญๆ่ ระดบั ชาติ ชีวิตก็ด�ำรงอยู่ได้อย่างที่ควรจะเป็น ไม่แก่งแย่ง ไม่แข่งขัน เพียงช่วยเหลือเก้ือกูลกัน บ้านเราท�ำน�้ำพริกอร่อยก็แบ่งปันให้ข้างบ้าน ขณะที่ป้าข้างบ้านแกงรสชาติดีก็แบ่งให้ บา้ นเราช่วยชมิ บ้าง หรือบางทีทไี่ ม่มีรถยนตข์ ับ อาจเปน็ เพราะคณุ ไม่เหมาะกับการขับรถ ด้วยตัวเอง สินค้าแบรนด์เนมก็อาจไม่เหมาะกับบุคลิกของคุณก็เป็นได้ แก่นแท้ของ ความสุขไม่มีขายที่ห้างสรรพสินค้า สั่งซื้อทางอินเตอร์เน็ตก็ไม่ขาย หัวใจที่เหนื่อยล้า เพราะมัวแต่ว่ิงตามหาวตั ถุกไ็ ม่มีบรกิ ารสปาไว้บำ� บดั หากแต่ตอ้ งปลกู รดนำ�้ พรวนดิน ใส่ปยุ๋ แล้วความสุขทแี่ ท้และยั่งยืนจะงอกงามตามวิถีธรรมชาติในหัวใจของคณุ เอง การดำ�เนนิ ชวี ิตตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งภาคการเกษตร วิถีชีวิตของเกษตรกรไทยในปัจจุบัน ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ท�ำให้มีต้นทุนการผลิตสูง มีรายได้ไม่เพียงพอและเป็นหน้ีสิน จึงจ�ำเป็นต้องปรับระบบการเกษตรของครัวเรือน ให้สอดคล้องกับสภาวะการผลิต และการตลาดในปัจจุบันตามความเหมาะสมของ ระบบนิเวศเกษตร โดยใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงจะท�ำให้ครัวเรือนเกษตรกร มคี วามม่ันคงในอาชีพ และมีคุณภาพชวี ติ ที่ดีอยา่ งยัง่ ยนื ตอ่ ไป 8 กรมส่งเสริมการเกษตร
ลดรายจา่ ย เพื่อเปน็ การประหยัด ลดรายจ่ายในครอบครัว และเป็นผลดีต่อสขุ ภาพ การทำ� พชื ผกั สวนครวั รว้ั กนิ ได้ เป็นอาหารส�ำหรับการบริโภคในครัวเรือน นับเป็น งานอดิเรกที่สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีในครอบครัว พอ่ แม่ ลกู มเี วลาพูดคยุ กันและชว่ ยกนั ท�ำงาน แมไ้ ม่มพี นื้ ที่ก็สามารถท�ำสวนครวั ในบ้านได้ เช่น การปลูกพริกในกระถาง หรือปลูกในภาชนะแขวน ฯลฯ พืชท่ีปลูกก็เป็นพืชท่ีใช้เป็นประจ�ำในครัว เช่น พริก มะเขือ กะเพรา ชะพลู หอม ผกั ชี ชะอม ตำ� ลงึ ผกั หวาน เป็นตน้ เพมิ่ รายได้ การเพิ่มรายได้โดยทรัพยากรท่ีมีอยู่ใน ครัวเรือนและเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการ สรา้ งรายได้ เชน่ การถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร และแปรรูปงานฝีมือหัตถกรรมสิ่งประดิษฐ์ การผลิต กล้าไม้ดอก-ไม้ประดับ เล้ียงสัตว์-ประมง เพาะถ่ัวงอก เพาะเห็ด เป็นต้น ท�ำใหม้ ีรายได้เพิม่ ข้ึนจากการทำ� กิจกรรมการเกษตร ขยายโอกาส เกดิ จากการพฒั นาศกั ยภาพตนเอง ครอบครวั ชุมชน โดยการร่วมมือการสร้างอาชีพได้เหมาะสม กับทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า บุตร-หลานได้รับการ ศึกษาสูงขึ้น ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถรวมกัน จัดหาตลาด แหล่งเงินทุน และเครือข่ายมาใช้ในการประกอบอาชีพอย่างย่ังยืน ท�ำให้ครอบครัวมคี วามมั่นคงและอบอ่นุ ต่อไป 9เศรษฐกิจพอเพียงกบั ภาคการเกษตร
เศรษฐกิจพอเพียงสำ�หรบั เกษตรกร ทางออกของการแกป้ ญั หาวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ และสงั คม คอื จะตอ้ งชว่ ยใหป้ ระชาชน ที่อย่ใู นภาคเกษตรและท่ีกลบั คืนส่ภู าคเกษตรมีงานทำ� มรี ายได้ ในขณะเดยี วกนั กจ็ ะตอ้ ง สร้างรากฐานของชนบทใหแ้ ข็งแรงเพียงพอทจ่ี ะสามารถพง่ึ ตนเองได้ในระยะยาว แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงส�ำหรับเกษตรกรตามแนวพระราชด�ำริ ตั้งอยูบ่ นพน้ื ฐานของหลักการ “ทฤษฎใี หม”่ 3 ขัน้ คอื ขน้ั ทห่ี นง่ึ มคี วามพอเพียงเลี้ยงตัวเองได้บนพน้ื ฐานของความประหยดั ขจดั การใช้จา่ ย ขน้ั ทส่ี อง รวมพลังในรปู กลมุ่ เพ่ือท�ำการผลติ การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้านสวสั ดิการ การศึกษา การพัฒนาสังคม ขั้นทส่ี าม สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนาเอกชน และภาคราชการ ในด้านเงินทนุ การตลาด การผลิต การจดั การ และขา่ วสารขอ้ มูล 10 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ดังนั้น การท�ำการเกษตรทฤษฎีใหม่ จึงมีความส�ำคัญและมีบทบาทต่อภาค การเกษตร ซึ่งจะส่งผลกระทบไปสู่การเจรญิ เตบิ โตของประเทศอยา่ งยง่ั ยนื อยา่ งไรกต็ าม ต้องมีองค์ประกอบหลายประการ ที่จะท�ำให้การท�ำเกษตรวิธีนี้ประสบผลส�ำเร็จ และ ก้าวไปอย่างม่ันคงไม่ล้มเลิกกลางครัน มีการขยายผลท่ีเหมาะสมในทุกด้าน ไม่ขยายผล รวดเร็วเกนิ ไป ในขณะทีผ่ ้มู สี ว่ นรว่ มยังคงขาดความเข้าใจเก่ยี วกบั ทฤษฎีใหมท่ แี่ ท้จรงิ ทฤษฎีใหม่ ท�ำให้เกษตรกรได้รับการตอบสนองทั้งด้านส่วนตัวและสังคมได้ ในระดับสงู ได้ผลผลิตทางการเกษตรเพ่ิมมากขนึ้ เนือ่ งจากมนี ำ�้ เพยี งพอ มีรายไดเ้ พ่ิมขน้ึ ครอบครัวอบอุ่น มีความสามัคคีในระดับชุมชนและในระดับสถาบัน เป็นการส่งผล เกื้อกูลซึ่งกันและกัน สภาพพ้ืนดินที่เคยแห้งแล้งขาดแคลนน้�ำกลับกลายเป็นแผ่นดิน ทอี่ ุดมสมบรู ณม์ ากขึน้ เป็นการรกั ษาสมดลุ ใหก้ ับดินและธรรมชาติ สิ่งท่ีพึงระวัง คือ การน�ำชื่อทฤษฎีใหม่ไปใช้ควรเน้นให้ชัดเจนว่า ในโครงการนั้นๆ มีการพัฒนาการเกษตรในลักษณะแนวพระราชด�ำริทฤษฎีใหม่ อยา่ งแท้จริง เพอ่ื มิให้เกิดความสับสนในสาระแท้จริงของทฤษฎใี หม่ 11เศรษฐกจิ พอเพียงกบั ภาคการเกษตร
ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ จากพระราชด�ำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีได้พระราชทานในโอกาสต่างๆ นั้น พอจะสรุปถึงประโยชน์ของ ทฤษฎีใหม่ได้ ดังน้ี 1. ให้ประชาชนพออย่พู อกนิ สมควรแกอ่ ัตภาพในระดบั ท่ปี ระหยัด ไม่อดอยาก และเลี้ยงตนเองไดต้ ามหลกั ปรชั ญาของ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” 2. ในหน้าแล้งมีน้�ำน้อย ก็สามารถเอาน้�ำท่ีเก็บไว้ในสระมาปลูกผักต่างๆ ทใี่ ช้นำ�้ นอ้ ยได้ โดยไม่ตอ้ งเบียดเบยี นชลประทาน 3. ในปีท่ีฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้�ำดีตลอดปีทฤษฎีใหม่น้ีก็สามารถสร้าง รายไดใ้ หร้ ่�ำรวยขน้ึ ได้ 4. ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวและช่วยตนเองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ตอ้ งช่วยเหลือมากเกินไป อันเป็นการประหยดั งบประมาณดว้ ย 12 กรมสง่ เสริมการเกษตร
แนวคิดของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กบั การแก้ไขวิกฤตทิ างเศรษฐกจิ และปัญหาทางสังคมของไทย ประการแรก เป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการท่ีว่า “ตนเป็นท่ีพ่ึงแห่งตน” โดย มุ่งเน้นการผลิตพืชผลให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคในครัวเรือนเป็นอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแล้วจึงค�ำนึงถึงการผลิตเพื่อการค้า ผลผลิตส่วนเกิน ท่ีออกสู่ตลาดก็จะเป็นก�ำไรของเกษตรกร ลักษณะเช่นนี้เกษตรกรจะมีหลายสถานะ โดยจะเป็นผู้ก�ำหนดหรือเป็นผู้กระท�ำต่อตลาด แทนที่ว่าตลาดจะเป็นตัวกระท�ำหรือ เป็นตัวก�ำหนดเกษตรกร ดังเช่นที่เป็นอยู่และหลักใหญ่ส�ำคัญย่ิง คือ การลดค่าใช้จ่าย ในการสร้างสิ่งอุปโภคบริโภคในท่ีดินของตนเอง เช่น ข้าว น้�ำปลา ไก่ ไข่ ไม้ผล พืชผัก ฯลฯ 13เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ภาคการเกษตร
ประการทีส่ อง เศรษฐกิจพอเพียงให้ความส�ำคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ท้ังน้ี กลุ่มชาวบ้านหรือองค์กรชาวบ้านจะท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ให้หลากหลายครอบคลุมท้ังการเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การท�ำธุรกิจค้าขาย และการท่องเท่ียวระดับชุมชน ฯลฯ เมื่อองค์กรชาวบ้านเหล่าน้ี ได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็ง และมีเครือข่ายที่กว้างขวางมากข้ึนแล้ว เกษตรกรทั้งหมด ในชุมชนก็จะได้รับการดูแลให้มีรายได้เพ่ิมข้ึน รวมทั้งได้รับการแก้ไขปัญหาในทุกๆ ด้าน ซ่ึงจะท�ำให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโตได้อย่างมีเสถียรภาพ ซึ่งหมายความว่า เศรษฐกิจสามารถขยายตัวต่อสภาวการณ์ด้านการกระจายรายได้ทดี่ ีขึน้ ประการท่สี าม เศรษฐกิจพอเพียงตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความเมตตา ความเอ้ืออาทร และ ความสามัคคีของสมาชิกในชุมชน ในการร่วมแรงร่วมใจเพื่อประกอบอาชีพต่างๆ ให้ บรรลุผลส�ำเร็จ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจึงไม่ได้หมายถึงรายได้แต่เพียงมิติเดียว หากแต่ ยังรวมถึงประโยชนใ์ นดา้ นอน่ื ๆ ดว้ ย ได้แก่ การสร้างความมน่ั คงให้กบั สถาบนั ครอบครัว สถาบันชุมชน ความสามารถในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมท้ังการ รักษาไว้ซ่งึ ขนบธรรมเนียมประเพณที ่ีดงี ามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป 14 กรมส่งเสริมการเกษตร
กลา่ วโดยสรุปคือ แนวคิดของระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงท่ีมีสาระส�ำคัญดังกล่าว ข้างต้น น่าจะน�ำมาใช้เป็นแบบอย่างของการพัฒนาประเทศไทยในระยะต่อไป แม้ว่าวิกฤติเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนในขณะนี้อาจจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ แต่ผลกระทบต่างๆ จะไม่รุนแรงมากนัก ถ้าหากทุกภาคทุกส่วนของสังคม มีการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยยึดหลักความพอดีกับศักยภาพของ ตนเอง บนพ้ืนฐานของการพึ่งพาตนเอง รวมท้ังมีความเอื้ออาทรต่อคนอ่ืนๆ ในสังคมเป็นประการส�ำคัญ ถึงแม้ว่าข้อคิดทั้งหมดจะมุ่งหน้าไปสู่กลุ่มเกษตรกร หรือผู้มีที่ดินท้ังหลาย แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะต้องกลับไปสู่ภาค เกษตรกรรมหมด ซงึ่ เป็นไปไมไ่ ดใ้ นสภาพความเป็นจริง 15เศรษฐกจิ พอเพียงกับภาคการเกษตร
16 กรมสง่ เสริมการเกษตร
ตวั อย่าง ความสำ�เรจ็ ของเกษตรกร ทท่ี ำ�การเกษตร ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 17เศรษฐกิจพอเพียงกบั ภาคการเกษตร
“ส่งิ ทที่ ำ�นนั้ จับตอ้ งได้ ใคร ๆ กท็ ำ�ได้ และจะเป็นตน้ แบบใหก้ ับเกษตรกรรนุ่ ใหมเ่ ดนิ ตามรอยเท้าพอ่ หลวงใหไ้ ด้” นายสุทนิ ทองเอ็ม เกษตรกรดเี ด่นแหง่ ชาติ สาขาไรน่ าสวนผสม อำ� เภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทยั ประจำ� ปี 2560 อาย ุ : 39 ปี การศกึ ษา : ปรญิ ญาโท รฐั ประศาสนศาสตร์ สถานภาพ : สมรส มบี ตุ ร 2 คน ทอี่ ยู่ : บา้ นเลขท่ี 65 หมู่ 3 ตำ� บลป่าแฝก อำ� เภอกงไกรลาศ จังหวดั สุโขทยั โทรศพั ท ์ : 08 6917 7052 ความคดิ รเิ รมิ่ และความพยายาม อาชีพเกษตรกรรม เป็นอาชีพของบรรพบุรุษ เนื่องจากพ่อ แม่และญาติพ่ีน้อง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ประกอบกับมีใจรักในการเกษตร อยากปลูก ผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเอง เหลือจากแบ่งปันให้เพ่ือนบ้านก็แบ่งจ�ำหน่าย นายสุทิน ทองเอ็ม จงึ ไดเ้ ร่ิมท�ำอาชีพเกษตรกรรมมาโดยตลอด ตง้ั แต่ยงั ศกึ ษาอยู่ก็ไดช้ ่วยครอบครวั ดำ� เนนิ กิจกรรมไร่นาสวนผสมมาอย่างตอ่ เนอ่ื ง 18 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ภายหลังจากเรียนจบได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม ศึกษา จากแปลงท่ีประสบผลส�ำเร็จ แล้วได้ด�ำเนินกิจกรรมไร่นาสวนผสมด้วยตนเอง โดยใน ระยะแรก ท�ำในพ้ืนท่ีของครอบครัวเป็นหลัก หลังจากได้สมรส ก็ได้ลงมือท�ำในกิจกรรม ของตนเองอย่างเต็มที่ ได้น�ำความรู้จากการศึกษาด้วยตนเองและดูแบบอย่างที่ประสบ ผลส�ำเร็จมาปรับใช้ในแปลงของตนเอง มีการเพิ่มเติมกิจกรรมเรื่อยมา เน้นการใช้พ้ืนที่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด กิจกรรมมีการเกื้อกูลซง่ึ กนั และกนั ลดตน้ ทนุ การผลติ ลดความเส่ยี ง จากการปลกู พืชเชงิ เดยี่ ว มีรายได้ต่อเน่ืองและย่ังยืน เน้นการทำ� การเกษตรปลอดสารพษิ มีการใช้น้�ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากกลุ่ม ท�ำให้ปลอดภัย ท้ังผู้ผลิตและผู้บริโภค ท่ีส�ำคัญมีบ่อเก็บกักน�้ำไว้ใช้อุปโภคและเพ่ือการเกษตรได้ตลอดปี ปจั จุบันเปน็ แหล่งเรยี นรูแ้ ปลงไรน่ าสวนผสมตวั อย่างของเกษตรกรในชมุ ชนและข้างเคยี ง การน้อมนำ�หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใช้ จากการเดินทางไปเย่ียมชมและไปศึกษาดูงานต้นแบบการปฏิบัติตามแนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากพื้นท่ีที่ท�ำนาเพียงอย่างเดียว เริ่มขุดบ่อเลี้ยงปลา จ�ำนวน 1 บ่อ ดินท่ีขุดน�ำมาถมเพ่ือปรับเป็นท่ีพักอาศัย เริ่มปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผล และไม้ใช้สอย ต่อมาขุดบ่อเพ่ิมเพ่ือเก็บกักน้�ำใช้ในการเกษตรตลอดท้ังพ้ืนที่ ปัจจุบัน พฒั นาพน้ื ท่เี ป็นสวนผสมนา ยึดหลักในความพออยู่พอกินพอใช้ ประหยดั ในการด�ำรงชพี ปลูกพืชเศรษฐกิจ เล้ียงเป็ด เล้ียงไก่ เลี้ยงปลา ไว้บริโภค ลดรายจ่าย เหลือกินเหลือใช้ แบง่ ค้าแบง่ ขายเพิ่มรายได้ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและอนามัย โดยเน้นหลกั l ลดรายจา่ ย เพ่ิมรายได้ l ขยายโอกาส l จัดระบบการปลกู พืชและเลีย้ งสตั ว์ใหเ้ หมาะสมกับพนื้ ท่ี l เพือ่ ลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ 19เศรษฐกิจพอเพียงกับภาคการเกษตร
แนวคดิ ท่ตี ัดสนิ ใจเดนิ ตามรอยเท้าพอ่ หลวง พ้ืนฐานหรือรากฐานเป็นเกษตรกร พ่อชาวนา แม่ชาวนา เติบโตมาบนวิถี ของเกษตรกร มองว่าถ้าเกษตรไทยรู้จักปรับเปล่ียนวิธีคิด พฤติกรรมที่ท�ำซ้�ำๆ ซากๆ และหันมาท�ำในส่ิงที่ไม่เคยท�ำ กล้าท่ีจะเปล่ียนแปลง มาท�ำหลายๆ อย่างเพ่ือลด ความเสี่ยงในการด�ำเนินชีวิต ความเป็นอยู่ของพี่น้องเกษตรกรไทยจะต้องมั่นคง และ มีความเปน็ อยู่ทดี่ ีไม่น้อยหนา้ กว่าอาชีพอ่นื ๆ แนน่ อน เพราะ l ได้อยู่กับครอบครวั ไมต่ อ้ งจากถ่ินฐานไปท�ำงานที่อืน่ l ไดด้ ูแลคนท่ีเรารักและคนทรี่ ักเรา l ได้กิน ไดใ้ ช้ของดีมคี ุณภาพ l ได้ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอ l ได้อย่กู ับธรรมชาตแิ ละบรรยากาศท่ีดี l ไดพ้ ักผ่อนตามทเี่ ราต้องการ l ได้มติ รภาพทแ่ี ทจ้ ริง l ไม่ต้องเป็นลกู น้องใคร จึงมีแนวคิดว่าจะต้องท�ำให้เกษตรกรคนอ่ืนๆ เห็นว่าสิ่งที่ท�ำนั้นจับต้องได้ใครๆ ก็ท�ำได้และจะเป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรรุ่นใหม่เดินตามรอยเท้าพ่อหลวงให้ได้ ด้วยวิธี การลงมือท�ำทันที โดยไม่ต้องรอใคร ไม่รองบประมาณ ไม่กังกลว่าสินค้าจะล้นตลาด ไม่คิดร่�ำรวยจากการท�ำการเกษตรผสมผสาน (เพราะการต้ังเป้าหมายของความร�่ำรวย จะท�ำให้เราไมค่ ดิ ท�ำอยา่ งอ่นื ประกอบความเส่ียงจะสงู ) โดยใชห้ ลัก 3 ต.ด�ำเนนิ การ ดังนี้ 1. ต้นทุน มนี ้อยท�ำนอ้ ยไมต่ อ้ งรอใครสนับสนุน 2. ตลาด สนิ ค้าท่ีเราท�ำ ศึกษาแนวทางความน่าจะเป็นของตลาด 3. แตกตา่ ง ของที่เราผลิตออกมาจะต้องสร้างความแตกตา่ ง จากท้องตลาดทีม่ อี ยู่ 20 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
แนวคดิ ในการทำ�งาน ความพอเพียงดา้ นเศรษฐกจิ l ลดรายจ่าย สร้างรายได้ใชช้ ีวติ อยา่ งพอควร l พง่ึ พาตนเองได้ l จดั ท�ำบญั ชีครวั เรือน l ไม่เสยี่ งเกนิ ไป มีทางเลอื กรองรับ l คิดและวางแผนอยา่ งรอบคอบ ความพอเพียงด้านสังคม l ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู กัน l รูร้ กั สามัคคี l สร้างความเข้มแขง็ ใหค้ รอบครัวและชุมชน ความพอเพยี งดา้ นจติ ใจ l มีจิตสามคั คี l เอ้ืออาทร ประนปี ระนอม l นึกถงึ ส่วนรวมเปน็ หลกั l ซ่อื สัตย์ สจุ รติ อดทน พอเพียง 21เศรษฐกจิ พอเพียงกบั ภาคการเกษตร
การวางแผนการผลิต พนื้ ทที่ ำ�การเกษตร จ�ำนวน 34 ไร่ 2 งาน l ที่อยู่อาศัย 1 ไร่ l ปลูกข้าว 23 ไร่ l ปลกู พชื หมุนเวยี น 2 ไร่ 1 งาน l ปลูกไมผ้ ลและไมย้ ืนต้น 1 ไร่ 3 งาน (ไผ่ 1 ไร่/มะมว่ ง มะปราง มะพรา้ ว ขนนุ 3 งาน) l เลี้ยงปลา 3 ไร่ (ปลาดกุ ปลาสวาย ปลาบกึ ปลาหมอ ปลาช่อน ปลานลิ ปลาทบั ทิม และหอยขม) l บ่อกบ l ไก่ไข่ และนกกระทา (ไกพ่ ันธไ์ุ ข่ ไก่สวยงาม ไก่พ้ืนเมอื ง และไสเ้ ดือนไวผ้ ลติ ปุ๋ย) l สระบวั ผกั บุง้ 1 ไร่ 2 งาน l สระน้�ำ 2 ไร่ 22 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ัผงพื้น ่ทีทำ�เกษตรผสมผสาน 23เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ภาคการเกษตร
ผลงานและความสำ�เร็จของผลงานทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนระยะเวลาท่ปี ฏบิ ัติงานและความยง่ั ยนื ในอาชีพ 1. มกี ิจกรรมการผลติ อาหาร l มบี ่อเลย้ี งปลา ไดแ้ ก่ ปลาทับทมิ ปลานลิ ปลาดุกและบ่อปลาช่อน l แปลงพชื ผกั ปลูกพชื ผกั หมุนเวียนในแตล่ ะรอบ เชน่ แตงกวา คะน้า บวบ ฟกั ทอง l ไมผ้ ล เช่น มะม่วง ฝรงั่ นอ้ ยหนา่ แกว้ มังกร l ปลูกไผ่ เพ่ือจ�ำหนา่ ย หน่อไม้ และจำ� หน่ายกงิ่ พันธ์ุ l นาขา้ ว ทำ� นาข้าวอนิ ทรยี เ์ พ่ือไวบ้ ริโภคในครัวเรอื น เหลือบรโิ ภคกจ็ �ำหนา่ ยเปน็ ข้าวอินทรยี ์ 2. ความสมบูรณข์ องแปลงพืช สัตว์ ประมง ด�ำเนินการตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2550 เร่ิมจากการเลีย้ งเปด็ เนอื้ จำ� นวน 100 ตวั เพ่อื จ�ำหนา่ ย ที่ตลาดสุโขทยั พอมรี ายได้เริ่มขยับเป็นการเล้ยี งสัตว์สวยงาม เชน่ กระตา่ ย ไก่สวยงาม จ�ำหน่ายใหก้ ับลูกค้าภายในจงั หวดั สุโขทัยและจังหวัดใกล้เคียง 24 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
รายละเอียดกิจกรรมในไร่นาสวนผสม กิจกรรมสร้างรายได้ 1. ทำ�นา 23 ไร่ ผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่ ผลิตเพื่อการบริโภค เหลือจึงจ�ำหน่าย พื้นท่ีปลูกข้าว จ�ำนวน 23 ไร่ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี โดยการ ใช้สารชวี ภณั ฑ์ รายได้จากการทำ� นาประมาณปลี ะ 150,000-200,000 บาท 2. ปลูกพืชหมุนเวียน 2 ไร่ 1 งาน ได้แก่ พืชไร่ กล้วยน้�ำว้า กล้วยไข่ กล้วยหอม มะละกอ พืชผักสวนครัว เพ่อื บริโภคในครัวเรอื น และจำ� หน่ายเป็นรายได้ 3. ปลูกไผ่ 1 ไร่ ไผ่ เป็นพืชที่ต้นทุนการดูแลต�่ำ แต่ให้ผลตอบแทนสูง สามารถใช้ประโยชน์ ได้ทง้ั ล�ำ ไดแ้ ก่ ก่ิงแขนง ยอด ล�ำไผ่ ปลูกไผพ่ ันธ์ตุ งลืมแล้ง จ�ำหน่ายกิง่ พนั ธ์ุ โดยใช้วธิ ีการ ตัดก่ิงแขนงมาเพาะช�ำ โดยใน 1 หน่อ สามารถตัดกิ่งแขนงมาช�ำ ได้ประมาณ 5-6 ก่ิง ราคากิ่งละ 50 บาท หน่อไผ่จะไว้เพื่อให้ไผ่แตกยอดแล้วใช้ประโยชน์จากยอด โดยการ น�ำมาแปรรูปเป็นหน่อไม้ดอง ขายได้กิโลกรัมละ 40 บาท ส่วนล�ำท่ีไม่ใช้แล้วน�ำไปเผา แบบภูมิปัญญาชาวบ้านโดยการใช้ดินกลบ ได้เป็นถ่านน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป การบ�ำรุง รักษา ใช้ประโยชน์จากกระบวนการก�ำจัดของเสียท่ีได้จากน�้ำบ่อกบ บ่อปลา ปล่อยลง แปลงปลูกไผ่ แล้วใส่มูลไก่ มูลนกกระทา น�ำฟางจากนาข้าวไปปิดทับเพ่ือเป็นปุ๋ยหมัก ใหก้ ับแปลงปลกู ไผ่ รายได้จากการขายกงิ่ ไผ่ หนอ่ ไผ่ 60,000–70,000 บาทตอ่ ปี 25เศรษฐกจิ พอเพยี งกับภาคการเกษตร
4. ขดุ บอ่ เลีย้ งปลา 8 บ่อ (บนเนือ้ ท่ี 2 ไร่) และบอ่ น�้ำลึก (1 ไร่) เล้ียงปลาดุก ปลานิล ปลาสลิด ปลาทับทิม ปลาหมอ ปลาช่อน หอยขม ปลาบกึ ปลาสวาย ปลาแรด เพื่อบรโิ ภค และจำ� หนา่ ยเป็นรายได้ของครัวเรือน 5. เล้ียงกบ 1 บ่อ เลี้ยงในบ่อดิน แบบกึ่งธรรมชาติ กบที่เลี้ยงแบบนี้จะ แข็งแรงกว่าเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ รายได้จากเล้ียงกบและปลา ประมาณ 6,000 บาท นอกจากน้ี ไร่นาสวนผสมของนายสุทิน ทองเอ็ม แห่งนี้ ยังเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ การฝึกอาชีพเสริมให้กับผู้สูงอายุที่อยู่ในการดูแลขององค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าแฝก อำ� เภอกงไกรลาศ โดยนายสุทนิ ทองเอม็ ไดใ้ ห้บริการสถานที่ และเป็นวทิ ยากรบรรยาย ให้ความรู้เรื่องการเล้ียงกบในบ่อแก่ผู้สูงอายุท่ีได้มาศึกษา และฝึกการเลี้ยงกบ รายได้ ท่เี กิดจากการเล้ยี งกบ กจ็ ะเป็นเงนิ กองกลางของกลมุ่ ผ้สู งู อายุ 6. เลยี้ งไก่ไข่ 20 ตัว 7. นกกระทา 100 ตัว สรา้ งรายไดป้ ระมาณ 30,000 บาทตอ่ ปี 8. เลยี้ งไก่สวยงาม 20 คู่ เพาะเล้ียงไก่สวยงามทุกชนิดที่ตลาดต้องการ โดยนายสุทิน ทองเอ็ม มีความคิดว่า การเล้ียงไก่ไม่ควรจะเล้ียงเพียงชนิดเดียว เช่น ไก่พ้ืนเมือง หรือไก่ไข่ เพียงอย่างเดียว ควรเล้ียงไก่หลายชนิดเพื่อจะได้มีรายได้หลายทาง ในการเล้ียง ไก่สวยงามได้พยายามศึกษาความต้องการของตลาด สอบถามผู้รู้ หาเครือข่าย ผู้เลี้ยงไก่สวยงาม และศึกษาข้อมูลจากแหล่งสืบค้นออนไลน์ ท�ำให้ปัจจุบันประสบ 26 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ความส�ำเร็จในการเลี้ยงไก่สวยงาม มีเครือข่ายต่างจังหวัด ซ้ือขายผ่านระบบออนไลน์ สรา้ งรายได้เป็นจ�ำนวนมาก 9. ไก่พนื้ เมืองเปน็ แม่พนั ธ์ุ 5 ตัว 10. ปลูกบัวสาย และบัวดอก รายได้จากการจ�ำหน่ายดอกบัว และสายบัว ตอ่ ปีประมาณ 10,000 บาท 27เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ภาคการเกษตร
บรรณานุกรม ประเสริฐวัฒน์ กองกันภัย และคณะ. เศรษฐกิจพอเพียงการเกษตรท่ีย่ังยืน. กรมส่งเสริม การเกษตร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำ� กัด. พระราชดำ� รสั พระราชทานแกค่ ณะบคุ คลตา่ งๆ ท่ีเขา้ เฝ้าฯ ถวายชัยมงคล เนอื่ งในวโรกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิตาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันพุธท่ี 4 ธันวาคม 2517. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์ พับลชิ ชงิ่ จ�ำกัด (มหาชน). ตลุ าคม 2541. พระราชดำ� รัส พระราชทานแกค่ ณะบุคคลตา่ งๆ ทีเ่ ข้าเฝา้ ฯ ถวายชัยมงคล เน่อื งในวโรกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิตาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันพฤหัสบดีท่ี 4 ธันวาคม 2540. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท อมรนิ ทร์พร้ินติ้งแอนด์ พบั ลชิ ช่ิง จำ� กดั (มหาชน). เมษายน 2541. พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร. วารสาร มลู นิธิชยั พัฒนา. ประจำ� เดือนสงิ หาคม 2542. ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ. เศรษฐกจิ พอเพียง. มถิ นุ ายน 2547. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท. สำ� นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ. 2549. เศรษฐกจิ พอเพียง คืออะไร. พิมพค์ ร้งั ที่ 3 : กรุงเทพมหานคร ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ. เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาช้ีถึงแนวทางการด�ำรงชีวิต, กันยายน 2557. พมิ พ์คร้ังที่ 7 : กรุงเทพมหานคร. เออื้ เชงิ สะอาด และคณะ. 2550. เศรษฐกจิ พอเพยี งภาคการเกษตร. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2 (แก้ไขเพ่มิ เตมิ ) : กรุงเทพมหานคร 28 กรมส่งเสริมการเกษตร
เอกสารคำ�แนะนำ�ที่ 5/2561 เศรษฐกจิ พอเพียงกับภาคการเกษตร ท่ีปรกึ ษา อธิบดกี รมสง่ เสริมการเกษตร นายสมชาย ชาญณรงคก์ ุล นายประสงค์ ประไพตระกลู รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร นายสำ� ราญ สาราบรรณ ์ รองอธิบดีกรมสง่ เสริมการเกษตร ว่าที่ร้อยตรี ดร.สมสวย ปัญญาสทิ ธิ ์ รองอธิบดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร นางดาเรศร์ กติ ติโยภาส รองอธิบดกี รมส่งเสรมิ การเกษตร นางอญั ชลี สวุ จิตตานนท์ ผู้อำ� นวยการส�ำนกั พัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี นายวุฒนิ ัย ยุวนานนท์ ผอู้ ำ� นวยการกองวิจยั และพฒั นางานสง่ เสริมการเกษตร เรยี บเรียง นางสมคิด นุม่ ปราณ ี ผู้อำ� นวยการกลุม่ จดั การฟาร์มและเกษตรกรรมยัง่ ยนื นางเนตรนริศ ผดงุ ศิลป์ นักวิชาการสง่ เสริมการเกษตรชำ� นาญการพิเศษ นางสาวเสาวณติ เทพมงคล นกั วิชาการส่งเสรมิ การเกษตรชำ� นาญการ นางสาวพมิ ประภา สนิ คำ�้ คูณ นกั วิชาการสง่ เสริมการเกษตรชำ� นาญการ นางสาวพีรชา มณีชาติ นกั วิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏบิ ตั ิการ นางสาวรัตนาภรณ์ นพพนู นักวิชาการสง่ เสรมิ การเกษตรปฏบิ ตั ิการ นางสาวอารยี ว์ รรณ เหลอื งทอง นกั วิชาการสง่ เสรมิ การเกษตร กลุม่ จัดการฟาร์มและเกษตรกรรมย่ังยืน กองวจิ ยั และพัฒนางานสง่ เสรมิ การเกษตร กรมสง่ เสริมการเกษตร จดั ทำ� ผอู้ ำ� นวยการกล่มุ พัฒนาสือ่ ส่งเสริมการเกษตร นางรุจพิ ร จารพุ งศ์ นางสาวอำ� ไพพงษ์ เกาะเทียน นกั วชิ าการเผยแพรช่ ำ� นาญการ กล่มุ พัฒนาส่ือส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักพัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี กรมสง่ เสรมิ การเกษตร www.doae.go.th
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: