20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 48 10. วธิ ี Paste Special สามารถกำหนดรายละเอยี ดอะไรไดบ้ า้ ง จงอธิบาย Paste All เลือกรปู แบบทั้งหมดจากเซลลท์ ค่ี ัดลอกมา Formulas เลือกเฉพาะสตู รจากเซลล์ทคี่ ดั ลอกมา Values เลือกเฉพาะค่าขอ้ มลู จากเซลลท์ คี่ ัดลอกมา Formats เลือกเฉพาะรปู แบบของขอ้ มูลจากเซลลท์ ี่คัดลอกมา Comments เลือกเฉพาะ Comments จากเซลล์ท่คี ัดลอกมา Validation ทำการตรวจสอบการคดั ลอกเพยี งอยา่ งเดยี ว All except borders เลือกรูปแบบทงั้ หมดยกเว้นรูปแบบ Borders เซลลท์ ่คี ัดลอกมา Column width เลอื กเฉพาะขนาดความกว้างของคอลัมน์ Formulas and number Formats เลอื กสตู รและรปู แบบของตัวเลข Values and number Formats เลือกคา่ ข้อมูลและรปู แบบของตัวเลข Operation None แทนที่ขอ้ มูลในเซลล์ดว้ ยขอ้ มลู ทีค่ ดั ลอกมาใหม่ Add นำขอ้ มลู ทค่ี ัดลอกมาใหมบ่ วกกับข้อมลู เดมิ ทอี่ ยู่ในเซลล์ Subtract นำขอ้ มูลท่ีคดั ลอกมาใหม่ลบด้วยขอ้ มลู เดิมที่อยู่ในเซลล์ Multiply นำข้อมูลทคี่ ดั ลอกมาใหมค่ ณู ดว้ ยข้อมูลเดมิ ท่ีอย่ใู นเซลล์ Divide นำข้อมูลที่คัดลอกมาใหม่หารด้วยขอ้ มูลเดิมทอ่ี ยู่ในเซลล์
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 49 แผนการสอน/แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 6 สัปดาหท์ ี่ 8 วชิ า 2 0 2 0 4 - 2 1 0 3 โปรแกรมตารางงาน เวลา 4 ชัว่ โมง เรื่อง การใชฟ้ งั ก์ชน่ั การคำนวณ สาระสำคญั การทำงานด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซลเป็นการทำงานบนตารางงานซ่ึงจำเป็นต้องมีการ คำนวณ และมีการใช้ฟังก์ชั่นคำนวณ เพ่ือให้เกิดความสะดวกในการทำงาน จำเป็นต้องรู้เก่ียวกับ ส่วนประกอบของฟังก์ชั่น การใช้ Autosum ข้ันตอนการทำงานในฟังก์ช่ันต่าง ๆ ทำให้เราสามารถใช้งาน ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพเพ่ิมมากขึน้ สะดวกในการทำงานในรูปแบบตา่ ง ๆ รวมทั้งมีรูปแบบทีเ่ ป็นมาตรฐาน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป (จุดประสงคน์ ำทาง) 1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการใชฟ้ ังก์ช่นั การคำนวณ 2. มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั ส่วนประกอบของฟงั กช์ ัน่ 3. มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการใช้ Autosum 4. มคี วามรู้ความสามารถในการตรวจสอบงานทีท่ ำบนฟังกช์ ัน่ การคำนวณในโปรแกรม ไมโครซอฟทเ์ อ็กเซล จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (จุดประสงค์ปลายทาง) 1. ผเู้ รยี นสามารถเขยี นสูตรฟงั ก์ชั่นการคำนวณได้ 2. ผู้เรียนสามารถแก้ไขสูตรฟังก์ช่นั การคำนวณได้ 3. ผู้เรียนสามารถใช้ Past Function ในการสร้างฟังก์ช่นั ทต่ี ้องการได้ 4. ผู้เรียนสามารถใชฟ้ งั กช์ น่ั Autosum ในการหาผลรวมได้ 5. ผู้เรยี นสามารถใชฟ้ ังกช์ ่ันทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญได้ 6. ผเู้ รยี นสามารถใชฟ้ ังกช์ น่ั ทางคณติ ศาสตร์ทีส่ ำคัญได้ 7. ผเู้ รยี นสามารถตงั้ ชื่อกลุ่มเซลลเ์ พ่อื นำไปใชใ้ นการเขยี นฟังก์ชนั่ ได้ 8. ผเู้ รียนสามารถใช้ฟังก์ชั่นทางสถติ ทิ สี่ ำคัญได้ 9. ผเู้ รียนสามารถใช้ฟงั กช์ ั่น VLOOKUP ในการค้นหาข้อมูลได้ 10. ผเู้ รียนสามารถใชฟ้ ังก์ชน่ั เก่ยี วกับตัวอักษรทส่ี ำคัญได้ 11. ผเู้ รียนสามารถใช้ฟงั ก์ช่ันเกยี่ วกับวนั ทแ่ี ละเวลาทีส่ ำคัญได้ 12. ผู้เรียนสามารถใช้ฟังกช์ น่ั ทเี่ ก่ียวข้องกบั ภาษาไทยได้ 13. ผูเ้ รยี นสามารถขอดูผลลพั ธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย AutoCalculate 14. ผู้เรียนสามารถแกไ้ ขข้อผดิ พลาดของฟังกช์ ่นั จากข้อผดิ พลาดที่แจง้ ได
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 50 กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู กจิ กรรมผูเ้ รียน ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน(30 นาท)ี 1. ตรวจสอบรายช่ือนกั เรยี นทีเ่ ขา้ เรียน 1. ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ค รูใน ก า ร 2. ให้ นักเรียน ค้นคว้าการใช้ฟั งก์ชั่นการคำนวณ ตรวจสอบ ส่วนประกอบของฟังกช์ ่ันและการใช้ Autosum 2. ค้นคว้าการใช้ฟังก์ชั่นการคำนวณ 3. รว่ มสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการใชฟ้ ังก์ชัน่ การคำนวณ ส่วนประกอบของฟังก์ชั่นและการใช้ Autosum 3. ร่วมสนทนาและแสดงความคดิ เห็น ขน้ั ดำเนินการสอน(180 นาท)ี 1. บอกจุดประสงค์การเรียน 1. ฟัง ทำความเขา้ ใจและซักถาม 2. บรรยาย อธบิ าย ยกตวั อยา่ ง แสดงวิธกี ารปฏบิ ัติในแต่ 2. ทำความเข้าใจและปฏิบัตติ าม ละหัวข้อการเรียนและให้นักเรยี นปฏิบตั ิไปพรอ้ มกนั 3. ซักถาม 3. ให้คำแนะนำ 4. รับการประเมนิ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ ละบคุ คล ขั้นสรุป(30 นาที) 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ สาระสำคัญ 1. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ 2. เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซักถามข้อสงสัย สาระสำคญั 3. ครูแนะนำให้ผู้เรียน ไปหัดทำและศึกษาจากหนังสือ 2. นกั เรยี นสอบถามขอ้ สงสัย ประกอบการเรียน 3. ฟังและจดบนั ทกึ 4. ทดสอบหลังเรียน 4. ทำแบบทดสอบท้ายบท สื่อการเรียนการสอนประจำหน่วย - หนังสือเรยี นวชิ า การใช้โปรแกรมตารางงาน - ใบความร้ปู ระจำหน่วย - ใบงานและแบบฝึกหัด - เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์ - สือ่ การสอน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 51 วดั ผลประเมนิ ผล - ผู้เรียนปฏบิ ัติภาระงานทม่ี อบหมายเสร็จทันเวลาทีก่ ำหนด - ตอบคำถามและทำใบงานและแบบฝกึ หดั ได้ถูกต้อง - ความสะอาดเรียบรอ้ ยของใบงานและแบบฝึกหดั - กระตือรนื รน้ ในการเรียนรู้ ตอบคำถาม สรุปบทเรยี น และกลา้ แสดงความคดิ เหน็ กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ผเู้ รียนต้องทบทวนบทเรียนทัง้ กอ่ นเรยี นและหลังเรียนอย่อู ยา่ งสมำ่ เสมอ 2. ผเู้ รียนหมั่นเข้าชัน้ เรียนเพื่อรับฟังเทคนิค วธิ ี และแนวทางทีด่ กี ับครสู อนอย่างตั้งใจ 3. ผเู้ รียนสนใจทำใบงาน แบบฝึกหัด และแกไ้ ขให้ถกู ตอ้ งทุกครง้ั ท่ีทำผดิ 4. กลา้ ทจ่ี ะถามทกุ ครง้ั ท่เี กดิ ความสงสยั และไมเ่ ข้าใจหรือตามบทเรยี นไม่ทัน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 52 เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยท่ี 6 ตอนที่ 1 จงใส่เคร่อื งหมาย หนา้ ข้อทถ่ี กู และ หนา้ ข้อท่ีผดิ .......... 1. =E5+E6+E7+E8 มีคา่ เทา่ กับ =SUM(E5:E8) .......... 2. ฟงั กช์ ่นั Average ใช้สำหรับหาผลรวมทงั้ หมดของเซลลท์ ่รี ะบุ .......... 3. ฟังก์ชั่น MIN มีรปู แบบการใช้งานกับกลมุ่ ตัวเลขเพอื่ หาคา่ ตำ่ สุดจากข้อมูลของเซลล์ .......... 4. ROUND เปน็ ฟงั ก์ชั่นในการแปลงข้อมูลท่ีเป็นตัวเลข ใหเ้ ปน็ ตัวอักษร .......... 5. ข้อความผดิ พลาด #REF คือ มกี ารป้อน argument ไม่ครบตามรูปแบบฟังกช์ ่ัน .......... 6. =IF(F4>10,1,2) หมายถึงตอบคา่ 1 เมื่อ F4 มากกวา่ 10 และตอบคา่ 2 เมื่อ F4 นอ้ ยกว่า 10 .......... 7. COUNTIF เปน็ ฟังก์ชั่นทใี่ ชน้ ับจำนวนเซลลท์ ่ีตรงตามเงือ่ นไขในกลุ่มเซลล์ทเี่ ลอื ก .......... 8. ฟงั กช์ น่ั COUNTA จะใช้กบั ข้อมลู ท่ีเปน็ ตัวเลขหรือตัวอกั ษรก็ได้ .......... 9. ฟงั ก์ชนั่ VLOOKUP ใชส้ ำหรับการคน้ หาข้อมลู ในตารางข้อมูลตามแนวตัง้ เท่าน้นั .......... 10. AutoCalculate เปน็ การดผู ลลัพธก์ ารคำนวณที่ไมต่ ้องเขียนสตู รคำนวณในตาราง
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 53 ตอนท่ี 2 จงทำเครือ่ งหมาย ลอ้ มรอบข้อที่ถูกตอ้ ง 1. ขอ้ ใดคือความหมายของ =SUM(D5:D7) ก. เป็นฟงั ก์ช่ันท่ใี ช้ในการหาค่าเฉล่ยี ตง้ั แต่เซลล์ D5 ถงึ D7 ข. เป็นฟงั กช์ น่ั ท่ใี ชใ้ นการหาผลรวมต้ังแตเ่ ซลล์ D5 ถงึ D7 ค. เป็นฟงั กช์ ่ันทีใ่ ชใ้ นการนับจำนวนเซลล์ตง้ั แตเ่ ซลล์ D5 ถึง D7 ง. เป็นฟังก์ช่ันท่ใี ช้ในการนบั จำนวนกลุ่มเซลลต์ ง้ั แตเ่ ซลล์ D5 ถึง D7 2. ข้อใดตอ่ ไปน้ีเปน็ การเขียนฟงั กช์ น่ั ท่ีผดิ ก. =SUM(D3,D4:D5) ข. =AVERAGE(D4:D5,D6) ค. =LEN(Excel 97) ง. =NOW()-1 3. การป้อนคา่ Argument ท่เี ปน็ ขอ้ ความ หรือ เวลา จะต้องอยู่ในเคร่ืองหมายใดเสมอ ก. ( ) ข. “ ” ค. [ ] ง. < > 4. ขอ้ ใดเปน็ วิธหี าผลลพั ธก์ ารคำนวณโดยไม่ต้องเขยี นสูตรคำนวณในตาราง ก. Autosum ข. AutoCalculate ค. Insert Function ง. Count Nums 5. ฟงั กช์ ่นั VLOOKUP ใช้สำหรับทำอะไร ก. คน้ หาขอ้ มูลที่ต้องการในตารางข้อมูลทีก่ ำหนด ข. จดั เรยี งข้อมูลให้อย่ใู นแนวตั้ง ค. เปลยี่ นแปลงขอ้ ความใหเ้ ป็นตวั พมิ พ์ใหญ่ ง. ให้ค่าขอ้ มูลเป็นวนั ท่ีปัจจุบัน 6. ผลลัพธ์ของ =DATE(2001,7,37) คอื ข้อใด ก. #VALUE! ข. 37/7/01 ค. 6/8/01 ง. 37 July 2001 7. ถ้าต้องการรวมขอ้ ความหลายๆ ขอ้ ความใหเ้ ป็นข้อความเดียว ควรใช้ฟงั ก์ชัน่ ใด ก. & ข. CONCAT ค. TEXT ง. PROPER 8. ผลลัพธ์ “สามสองศูนย์จุดสี่ห้า” เปน็ ผลลัพธจ์ ากฟงั ก์ช่ันใด ก. ThaiNumSound(320.45) ข. ThaiNumString(320.45) ค. BahtText(320.45) ง. ThaiDigit(320.45) 9. ผลลพั ธ์ “สามรอ้ ยยส่ี บิ จดุ ส่ีห้า” เปน็ ผลลัพธ์จากฟังก์ชน่ั ใด ก. ThaiNumSound(320.45) ข. ThaiNumString(320.45) ค. BahtText(320.45) ง. ThaiDigit(320.45) 10. ข้อความผิดพลาดใดที่เกิดจากเซลล์ท่ีอ้างอิงในสูตรถูกลบ ทำให้ Excel หาผลลพั ธไ์ ม่ได้ ก. #NULL! ข. #NUM ค. #REF ง. #DIV/0!
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 54 ตอนที่ 3 จงตอบคำถามใหส้ มบรู ณ์ 1. หากต้องการหาผลรวมของข้อมลู ในเซลล์ D3,D4,D5,E4,E5,F6,F7 ต้องเขียนฟงั ก์ชั่นอย่างไร = Sum(D3:D5,E4:E5,F6:F7) 2. หากต้องการหาค่าเฉล่ียของขอ้ มลู ท่อี ยู่ในเซลล์ D3,D4,E5,E6 และตอ้ งการกำหนดให้คำตอบของค่าเฉลยี่ มี ทศนิยมไมเ่ กนิ 2 ตำแหนง่ ต้องเขียนฟังก์ช่นั อยา่ งไร AVERAGE(D3:D4,E5:E6)คำตอบของฟังก์ชัน่ AVERAGE เป็นทศนยิ ม 2 ตำแหนง่ (ถา้ ไม่ใชใ่ ห้ กำหนด Format Cells) 3. จงอธิบายความแตกตา่ งของฟงั กช์ นั่ COUNT, COUNTA, COUNTIF มาพอสังเขป COUNT COUNT(กลมุ่ เซลล)์ นับจำนวนเซลลท์ ีม่ ขี ้อมลู ตัวเลขในกล่มุ เซลล์ทเี่ ลือก COUNTA COUNTA(กลุ่มเซลล)์ นับจำนวนเซลลท์ ี่มขี อ้ มูลในกลุ่มเซลลท์ ่ีเลอื ก COUNTIF COUNTIF (กลมุ่ เซลล,์ เงอ่ื นไข) นับจำนวนเซลล์ทีต่ รงตามเงอื่ นไขกลมุ่ เซลลท์ เ่ี ลอื ก 4. จงเขยี นฟังกช์ นั่ เพ่ือตรวจสอบเวลาวา่ เปน็ เวลาตอนเชา้ หรือหลงั เท่ียง หากเปน็ เวลาเช้าใหแ้ สดงข้อความ “Good morning” หากเปน็ เวลาหลงั เทยี่ งให้แสดงข้อความ “Good afternoon” =IF (HOUR (NOW())<12, “Good morning”, “Good afternoon”) 5. ข้อมูลในเซลล์ D2 มีค่าเทา่ กบั “11/8/01” ถา้ ต้องการนำข้อมูลในเซลล์ D2 มาแสดงผลลพั ธเ์ ป็น 11 August 2001 จะตอ้ งเขยี นฟังก์ชน่ั อยา่ งไร =text(D2, “d mmmm yyyy”) 6. ถา้ ต้องการตรวจสอบวา่ วนั ทป่ี ัจจุบันเป็นวนั ที่ 30 หรอื ไม่ และหากเปน็ วันที่ 30 ให้แสดงข้อความ “Check Stock” หากไม่ใช่ให้แสดงข้อความ “OK” =IF(DAY(TODAY())=30, “Check Stock”, “OK”
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 55 แผนการสอน/แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 7 สัปดาห์ที่ 10-11 วชิ า 2 0 2 0 4 - 2 1 0 3 โปรแกรมตารางงาน เวลา 8 ชว่ั โมง เร่อื ง การใช้กราฟ สาระสำคัญ ในการใช้งานด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล จำเป็นต้องมีการนำกราฟชนิดต่าง ๆ เข้ามา สอดแทรกในชิ้นงานเพ่ือให้เอกสารสมบูรณ์น่าสนใจมากข้ึน จึงจำเป็นต้องเรียนรู้เก่ียวกับการใช้กราฟ ส่วนประกอบของกราฟ การสร้างกราฟด้วยวิธีต่าง ๆ การเคล่ือนย้าย เปล่ียน ลบรูปกราฟ การแก้ไขและ ปรับแต่งรายละเอยี ดของกราฟ ซึง่ ทำใหง้ านทำงานเอกสารมคี วามทันสมัย และสมบูรณเ์ พมิ่ มากข้นึ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงคท์ วั่ ไป (จดุ ประสงค์นำทาง) 1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการใช้กราฟ 2. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับส่วนประกอบของกราฟ 3. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับลักษณะการทำงานของกราฟ 4. มีความรคู้ วามสามารถในการปรับแต่งและแก้ไขรายละเอยี ดของกราฟในโปรแกรม ไมโครซอฟทเ์ อ็กเซล จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (จุดประสงคป์ ลายทาง) 1. ผ้เู รยี นสามารถอธบิ ายส่วนประกอบของกราฟได้ 2. ผเู้ รียนสามารถสร้างกราฟจากขอ้ มูลในตารางได้ 3. ผู้เรยี นสามารถสรา้ งกราฟจากตัววิเศษสร้างกราฟได้ 4. ผู้เรียนสามารถเคลอื่ นย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรปู กราฟได้ 5. ผเู้ รียนสามารถแก้ไขและปรบั แต่งรายละเอยี ดของกราฟได้ 6. ผู้เรยี นสามารถปรับแต่งส่วนประกอบยอ่ ยในกราฟได้ 7. ผเู้ รยี นสามารถเลือกกราฟให้เหมาะสมกับข้อมูลได้
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 56 กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กิจกรรมผู้เรยี น ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรียน (สัปดาหล์ ะ 30 นาที) 1. ตรวจสอบรายช่อื นักเรยี นทีเ่ ข้าเรียน 1. ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ค รูใน ก า ร 2. ให้นักเรียนค้นคว้าเก่ียวกับการใช้กราฟ ส่วนประกอบ ตรวจสอบ ของกราฟและลกั ษณะการทำงานของกราฟ 2. ค้ น ค ว้ า เกี่ ย ว กั บ ก า ร ใช้ ก ร า ฟ 3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกบั เรอื่ งการใชก้ ราฟ สว่ นประกอบของกราฟและลักษณะ การทำงานของกราฟ 3. ร่วมสนทนาและแสดงความคดิ เห็น ขั้นดำเนนิ การสอน (สัปดาหล์ ะ 180 นาที) 1. บอกจุดประสงค์การเรียน 1. ฟงั ทำความเข้าใจและซกั ถาม 2. บรรยาย อธิบาย ยกตวั อย่าง แสดงวิธีการปฏบิ ตั ิในแต่ 2. ทำความเขา้ ใจและปฏิบัตติ าม ละหวั ขอ้ การเรียนและให้นกั เรียนปฏบิ ัติไปพรอ้ มกัน 3. ซกั ถาม 3. ให้คำแนะนำ 4. รบั การประเมนิ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ ละบุคคล ขั้นสรุป( สัปดาหล์ ะ 30 นาที) 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปสาระสำคญั 1. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปสาระ 2. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซกั ถามข้อสงสัย สำคญั 3. ครูแนะนำให้ผู้เรียน ไปหัดทำและศึกษาจากหนังสือ 2. นกั เรยี นสอบถามข้อสงสัย ประกอบการเรยี น 3. ฟงั และจดบนั ทกึ 4. ทดสอบหลงั เรียน 4. ทำแบบทดสอบทา้ ยบท
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 57 การบรู ณาการกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอเพยี ง 1.1 ความพอประมาณ - รจู้ ักประเมินเวลาในการศกึ ษาความรู้ 1.2 ความมเี หตผุ ล - มที กั ษะในการสรา้ งกราฟ - นกั เรียนไดน้ ำความร้ทู เ่ี รียนมาสรา้ งกราฟในงานต่างๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 1.3 การมภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี - นกั เรยี นศึกษารายละเอยี ดเกี่ยวกบั เนือ้ หากราฟ - นกั เรยี นควรฝกึ หดั ทำตาม ไมเ่ ขา้ ใจให้สอบถามทันที 2. คณุ ธรรมกำกบั ความรู้ 2.1 เงอื่ นไขความรู้ - ใช้ความรู้ต่างๆ มีด้วยความรอบรู้ เช่ือมโยงสิ่งต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ในการทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ และใบงาน - นำความรมู้ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียน และในการทำงานใหถ้ กู ตอ้ ง 2.2 เงอ่ื นไขคณุ ธรรม - มีความรบั ผิดชอบ อดทน เพียรพยายาม ความซอื่ สัตย์ในการทำงาน ครนู ำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ หลกั ความพอเพยี ง พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี (ปรมิ าณ, คณุ ภาพ) ทำไม การตดั สนิ ใจ (มคี วามเพยี ร มงุ่ มน่ั รับผดิ ชอบ) ประเดน็ กำหนดเวลาเหมาะสมกับเนอื้ หา, จัดกิจกรรมได้ครบ ทำให้ วางแผนการใชเ้ วลาแตล่ ะ เวลา กิจกรรม,และวัยของผูเ้ รยี น นกั เรยี นทำกิจกรรมมี ขน้ั ตอนอย่างรอบคอบตาม ประสิทธภิ าพ กำหนด เนอื้ หา กำหนดเนือ้ หาให้สอดคล้องกบั นกั เรียนไดเ้ รยี นตาม ลำดับเน้อื หาจากง่ายไป สมรรถนะของผเู้ รยี น, เวลา, วยั กระบวนการตรงตามตวั ชวี้ ดั ยากทำใหผ้ ้เู รยี นเข้าใจงา่ ย ของผเู้ รียน และอยากเรียนรู้ การจดั กจิ กรรม ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับ ให้นักเรยี นมีคณุ ภาพตาม กำหนดกจิ กรรมไว้อยา่ ง เป้าหมาย, แบ่งกลุม่ นกั เรยี นได้ ตวั ชีว้ ัดและนกั เรียนทำ ชัดเจนทำจากงา่ ยไปยาก สอื่ อปุ กรณ์ พอเหมาะพอดีกบั จำนวนนักเรยี น กิจกรรมอย่างท่วั ถงึ เตรียมสอ่ื ให้พรอ้ มก่อนจัด การประเมนิ ผล เลือกสื่อทเี่ หมาะสมกับเป้าหมาย กระตุน้ ความสนใจให้ กจิ กรรม และวยั ของผเู้ รียน นักเรยี น สนใจในบทเรียน - ชี้แจง/อธิบาย การใช้ ออกแบบเครื่องมือการวัดและ เพื่อประเมินผเู้ รยี นไดต้ รง เครื่องมอื ในการสรา้ งงาน ประเมนิ ผลใหเ้ หมาะสม ตามจดุ ประสงค์ เอกสาร ไดอ้ ย่างชัดเจน - มเี กณฑก์ ารให้คะแนน อย่างชดั เจน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 58 ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้หลักคดิ และฝกึ ปฏบิ ัตติ ามหลกั 2-3-4 ดงั นี้ ความร้ทู ต่ี อ้ งมกี อ่ นเรยี น เศษสว่ น คณุ ธรรมของผเู้ รยี น มมี นุษยสัมพนั ธ์, ความมีวินยั , ความรบั ผดิ ชอบ, ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ , ความ สนใจใฝ่รู้, การพงึ่ พาตนเอง, ความอดทนอดกลนั้ , ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี หลกั ความพอเพยี ง 1. ผเู้ รยี นสามารถทำงาน 1. นกั เรยี นมีทักษะใน 1. มีการวางแผนในการ ตามความสามารถของ การทำงานคิดเปน็ ทำ เรยี นเรยี น การทำงาน ตนเอง เปน็ แกป้ ญั หาเป็น กลุ่มอยา่ งรอบคอบและ 2. ผเู้ รยี นทำแบบฝึกหัด/ 2. นกั เรยี นนำความรูไ้ ป เปน็ ระบบ แบบฝึก ตามเวลาที่ ใช้ในการทำงานได้ 2. ศึกษาความรู้ และ กำหนดได้ วิธกี ารทำงาน จาก แหล่งเรียนรูต้ ่างๆ ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรกู้ ารใชช้ วี ติ ทสี่ มดลุ และพรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลงใน 4 มติ ิ ตามหลกั ปรชั ญาชองเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ น สมดลุ และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงในดา้ นตา่ งๆ องคป์ ระกอบ วตั ถุ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม ความรู้ - มีความรู้เก่ียวกับ -รู้วธิ กี ารทำงาน -รู้ จั ก ท ำ ค ว า ม ทักษะ การใช้โปรแกรม ร่วมกับผู้ใหญ/่ ผอู้ ่นื สะอาดห้องเรียน, ตารางงานในการ อย่างสรรค์ จั ด เก็ บ ส่ิ ง ข อ ง ใ ห้ เจตคติ สรา้ งกราฟ เป็นระเบียบ - มีทักษะในการใช้ -มี ทั ก ษ ะ ใน ก า ร -นกั เรยี นมที กั ษะใน โปรแกรมตาราง ทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื ก า ร ท ำ ค ว า ม งานในการสร้าง -มี ทั ก ษ ะ ใน ก า ร สะอาดห้องเรียน กราฟ ทำงานอย่างเป็น และมีทักษะในการ ระบบ จัดเก็บของให้เป็น -มีการวางแผนการ ระเบยี บ ท ำ ง า น ร่ ว ม กั น ย อ ม รั บ ค ว า ม คิดเห็นซึ่งกันและ กนั - เหน็ ประโยชน์ของ - เหน็ คณุ คา่ การ - นั ก เรี ย น เห็ น การใช้โปรแกรม ทำงานร่วมกนั คุณค่าของการใช้ ตารางงานในการ โปรแกรมตาราง สรา้ งกราฟ ง า น ใ น ก า ร ส ร้ า ง กราฟเพื่อนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 59 การบรู ณาการกบั งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ในโครงการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพืชอันเน่ืองจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อสรา้ งจิตสำนักในการอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพืช ทรพั ยากรชวี ภาพ และกายภาพ โดยมีการสัมผสั การเรียนรู้ การสร้างและปลกู ฝังคุณธรรม การเสรมิ สรา้ งปัญญาและภูมิปัญญา โดย โรงเรียนกำหนดใช้ “ข้าวไรเบอรร์ ่ี” เปน็ พชื ศกึ ษาในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น จงึ ใหน้ กั เรยี นใชโ้ ปรแกรมตาราง งานในการเกบ็ ข้อมลู การเจรญิ เติบโตของขา้ วไรเบอรี่จากเริ่มปลกู จนกระทง่ั เก็บเก่ียว โดยนำมาเป็นรายเดือน การบรู ณาการกับการเงินพอเพยี ง ให้นักเรียนนำขอ้ มลู รายได้ ค่าใชจ้ ่าย และเงินออมมาสร้างเปน็ กราฟ ส่ือการเรียนการสอนประจำหนว่ ย - หนงั สือเรยี นวชิ า การใชโ้ ปรแกรมตารางงาน - ใบความรูป้ ระจำหนว่ ย - ใบงานและแบบฝึกหัด - เครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอร์ - สอ่ื การสอน วดั ผลประเมนิ ผล - ผู้เรยี นปฏิบัตภิ าระงานทีม่ อบหมายเสรจ็ ทันเวลาทีก่ ำหนด - ตอบคำถามและทำใบงานและแบบฝกึ หัดไดถ้ ูกต้อง - ความสะอาดเรยี บร้อยของใบงานและแบบฝึกหดั - กระตือรนื รน้ ในการเรยี นรู้ ตอบคำถาม สรุปบทเรยี น และกล้าแสดงความคดิ เห็น 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ผู้เรยี นตอ้ งทบทวนบทเรียนทง้ั กอ่ นเรียนและหลงั เรยี นอยู่อยา่ งสมำ่ เสมอ 2. ผู้เรยี นหมัน่ เขา้ ช้ันเรียนเพื่อรับฟังเทคนคิ วธิ ี และแนวทางที่ดีกบั ครสู อนอยา่ งตัง้ ใจ 3. ผเู้ รียนสนใจทำใบงาน แบบฝึกหดั และแก้ไขให้ถูกตอ้ งทุกครั้งที่ทำผิด 4. กลา้ ท่จี ะถามทุกครง้ั ท่เี กิดความสงสัยและไม่เขา้ ใจหรือตามบทเรยี นไม่ทัน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 60 เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 7 ตอนท่ี 1 จงใสเ่ ครอ่ื งหมายหน้าข้อทีถ่ กู และใสเ่ คร่อื งหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีผิด .......... 1. พื้นทท่ี ่ีใช้ในการแสดงขอ้ มูลเราเรยี กวา่ Chart Area .......... 2. โปรแกรม Excel ไม่สามารถสรา้ งกราฟใหอ้ ยใู่ น Worksheet เดยี วกับขอ้ มูลได้ .......... 3.เม่ือข้อมูลทใี่ ช้ในการสร้างกราฟเปลยี่ นรปู กราฟทีไ่ ด้ออกมาจะเปลย่ี นตามโดยอัตโนมตั ิ .......... 4. การสร้างกราฟจำเป็นอยา่ งยง่ิ ที่จะต้องเลอื กกลุ่มเซลลท์ ่ีต้องการให้แสดงในกราฟก่อน จงึ จะ สามารถสรา้ งกราฟออกมาได้ .......... 5. สามารถเลือกรปู แบบกราฟทีต่ ้องการได้ในช่อง Chart Type .......... 6. เมื่อกราฟท่สี รา้ งแล้วมรี ายละเอียดไม่ครบถ้วนตามท่ีต้องการสามารถเพ่ิมองคป์ ระกอบท่ีต้องการ ได้ภายหลัง .......... 7. การทำกราฟในโปรแกรม Excel เราสามารถเคล่ือนย้าย เปลีย่ นขนาดได้ตามต้องการ .......... 8. เมื่อเราลบกราฟท่ีสร้างไว้แล้วขอ้ มูลในตารางท่ีมีอยู่กจ็ ะหายตามไปด้วย .......... 9. เม่ือกราฟทีท่ ำออกมาไม่เหมาะสมกับข้อมูลท่แี สดงจะต้องทำการลบกราฟเดิมก่อน จงึ จะสามารถ สร้างกราฟขนึ้ มาใหม่ได้ .......... 10. กล่มุ ขอ้ มลู ท่ีถูกนำมาใช้ในการวาดกราฟก็คือชุดข้อมลู ที่อยู่ในกราฟน่นั เอง .......... 11. เราสามารถปรบั แตง่ สี หรือขนาดตัวอักษรในกราฟได้ แต่ไม่สามารถเคล่ือนยา้ ยส่วนเหล่าน้ใี น รูปกราฟได้ .......... 12. เม่อื เราเล่ือนเมาส์ไปทร่ี ปู กราฟใน Excel จะแสดงช่อื ของสว่ นประกอบนั้นออกมาให้เห็นโดย อตั โนมัติ .......... 13. Excel ไม่สามารถทจ่ี ะย้ายตำแหนง่ ของส่วนประกอบยอ่ ยในกราฟได้ .......... 14. การปรบั เปล่ียนรายละเอยี ดสว่ นย่อยสามารถทำได้ในเฉพาะทีเ่ ปน็ ตัวอักษรเท่านัน้ .......... 15. Show data table คือการบอกให้ Excel แสดงตารางข้อมลู ออกมาด้วย
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 61 ตอนท่ี 2 จงทำเคร่ืองหมาย ล้อมรอบขอ้ ท่ถี กู ต้อง 1. ถ้าตอ้ งการแสดงยอดขายในแต่ละเดือน ควรใชก้ ราฟชนิดใดจงึ จะเหมาะสมท่ีสดุ ก. กราฟวงกลม ข. กราฟเส้น ค. กราฟแท่ง ง. กราฟ XY 2. Legend Key ทำหนา้ ที่อะไรในการทำกราฟ ก. อธบิ ายสีและสญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการกำกบั กราฟ ข. แสดงแนวโน้มของข้อมลู โดยนำค่าท้ังแกน X แกน Y มาเปรยี บเทียบกัน ค. ใช้เปรยี บเทียบความแตกต่างของข้อมูล โดยเทยี บที่จุดศูนยก์ ลาง ง. ใชแ้ สดงสี หรือสัญลกั ษณ์ทใี่ ชแ้ ทนขอ้ มูล 3. ขอ้ ใดคือสิง่ ทีใ่ ชใ้ นการเปรียบเทียบตวั เลขแตล่ ะคา่ ในกราฟ ก. Chart ข. Grid line ค. Plot Area ง. Column 4. กราฟชนิดใดทีม่ ีลักษณะคล้ายกบั กราฟวงกลม แต่สามารถแสดงข้อมลู ไดพ้ ร้อมกันหลายชุด ก. กราฟเรดาห์ ข. กราฟแท่งรูปทรงกระบอก ค. กราฟรูปโดนทั ง. กราฟแท่งรปู กรวย 5. กราฟแทง่ แนวตัง้ มีลกั ษณะการใช้งานอยา่ งไร ก. ใช้เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของขอ้ มูล ข. ใช้เปรียบเทยี บความแตกต่างของข้อมลู โดยเทยี บกบั ข้อมูลทจ่ี ุดศูนย์กลาง ค. ใชเ้ ปรียบเทียบโดยแสดงเป็นกราฟที่มพี ืน้ ผิวต่อเน่ือง ง. ใชแ้ สดงขอ้ มลู โดยนำมาเปรยี บเทยี บกบั ผลรวมข้อมูลทงั้ หมด 6. เม่ือเลือกกราฟเสร็จเรยี บร้อยแล้ว ถา้ ต้องการกลับเขา้ สู่การทำงานปกติควรกดป่มุ ใด ก. Finish ข. Esc ค. Next ง. Cancel 7. การเปลี่ยนชนดิ และรูปแบบของกราฟ จดั อยใู่ นหัวข้อใดในบทนี้ ก. การปรับแตง่ ส่วนประกอบยอ่ ยในกราฟ ข. การเคล่ือนยา้ ย เปล่ียนขนาด และลบรูปกราฟ ค. การสรา้ งกราฟด้วยตวั วเิ ศษสร้างกราฟ ง. การแกไ้ ขและปรบั แตง่ รายละเอียดของกราฟ 8. บริเวณพืน้ ท่ีวา่ งของกราฟ เราเรยี กวา่ อะไร ก. Chart Area ข. Chart Options ค. Chart Type ง. Chart Window
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 62 9. ถ้าตอ้ งการปรบั แต่งแกนของกราฟ จะต้องเขา้ ไปในแทบ็ คำสั่งใด ก. Gridlines ข. Titles ค. Legend ง. Axis 10. แท็บคำส่ังใดที่ช่วยในการวิเคราะห์และเปรยี บเทียบข้อมลู ให้เหน็ ได้อยา่ งชัดเจน ก. Data Labels ข. Data Table ค. Titles ง. Legend 11. ตอ่ ไปนขี้ ้อใดกลา่ วถกู ต้องทส่ี ดุ ก. ในแทบ็ Gridlines เราสามารถเลือกใหแ้ สดงเส้นกรดิ ในกราฟได้ ข. ในแท็บ Legend เราสามารถกำหนดให้แสดงเส้นกรดิ ในกราฟได้ ค. ในแทบ็ Axis เราสามารถกำหนดให้แสดงเส้นกรดิ ในกราฟได้ ง. ในแท็บ Data Labels เราสามารถกำหนดใหแ้ สดงเสน้ กรดิ ในกราฟได้ 12. ต่อไปน้ีข้อใดกล่าวผดิ ก. เราสามารถกำหนดตำแนง่ ของ Legend ไวท้ สี่ ่วนล่างของรปู กราฟได้ ข. เราสามารถกำหนดตำแนง่ ของ Legend ไวท้ ่ีส่วนกลางของรูปกราฟได้ ค. เราสามารถกำหนดตำแนง่ ของ Legend ไว้ท่ีด้านขวาของรูปกราฟได้ ง. เราสามารถกำหนดตำแน่งของ Legend ไว้ทีส่ ว่ นบนของรูปกราฟได้ 13. ประโยชนข์ อง Data Labels คอื อะไร ก. สามารถกำหนดรปู แบบการแสดงขอ้ มลู ไฟล์ได้ ข. สามารถแสดงตำแหน่งและระบชุ นิดของข้อความได้ ค. สามารถแสดงค่ากำกับข้อมลู ในกราฟ ง. สามารถบอกช่ือไฟล์ข้อมูลของกราฟได้ 14. ข้อใดต่อไปน้ีไม่จดั อยู่ในส่วนประกอบสำคญั ในกราฟท่เี รา Click mouse เลือกได้ ก. ช่ือเร่ือง , ชอ่ื กำกับแกน X ข. ชอ่ื กำกบั แกน Y , Chart Area ค. Legend , Plot Area ง. ชื่อเรื่อง , Labels 15. ข้อไดต้ ่อไปนก้ี ล่าวผิด ก. การปรับแตง่ สีหรือรปู แบบและขนาดตวั อักษรสามารถเคลือ่ นย้ายได้ในรปู กราฟ ข. การปรับแตง่ สีหรือรูปแบบและขนาดตัวอักษรไมส่ ามารถเคลอ่ื นย้ายไดใ้ นรูปกราฟ ค. การปรบั แต่งสหี รอื รูปแบบและขนาดตวั อกั ษรสามารถทำได้ใน Chart Area ง. การปรบั แตง่ สหี รอื รปู แบบและขนาดตวั อักษรสามารถทำได้ใน Plot Area ตอนท่ี 3 จงเติมชือ่ สว่ นประกอบของกราฟลงในช่องวา่ ง ตามหมายเลขท่ีกำหนดให้ 1. หวั เร่ือง 2. แกน Y 3. แกน X 4. เส้นกริด 5. Legend Key 6. Legend 7. Plot Area 8. Chart Area
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 63 แผนการสอน/แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 8 สัปดาห์ที่ 12 วชิ า 2 0 2 0 4 - 2 1 0 3 โปรแกรมตารางคำนวณ เวลา 4 ชว่ั โมง เรอ่ื ง การพิมพ์งาน สาระสำคัญ ในปัจจุบันนี้การทำงานด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซลมีรูปแบบท่ีหลากหลาย จำเป็นต้องรู้ถึงขั้นตอนการทำงานเกี่ยวกับการพิมพ์งาน การตรวจสอบงานก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview การพิมพ์งาน การกำหนดรายละเอียดเก่ียวกับการพิมพ์ ซึ่งทำให้เราสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มมากข้ึน สะดวกในการทำงานในรูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังเอกสารทันสมัยเหมาะสำหรับการใช้งานใน ปัจจุบนั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงคท์ ั่วไป (จุดประสงค์นำทาง) 1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การพิมพง์ าน 2. มีความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั การตรวจสอบงานก่อนพิมพ์ 3. มคี วามร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั การกำหนดรายละเอียดเกย่ี วกับการพิมพ์ 4. มคี วามรคู้ วามสามารถในการทำงานตามข้ันตอนการพิมพใ์ นโปรแกรมไมโครซอฟท์เอก็ เซล จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (จุดประสงค์ปลายทาง) 1. ผเู้ รยี นสามารถตรวจสอบงานก่อนพิมพ์ดว้ ย Print Preview ได้ 2. ผเู้ รยี นสามารถส่งั พิมพ์งานท้งั เวิรก์ ชตี ได้ 3. ผู้เรยี นสามารถส่ังพิมพง์ านเฉพาะบางสว่ นได้ 4. ผู้เรียนสามารถกำหนดแนวทางการพิมพ์ขอ้ มลู ได้ 5. ผู้เรียนสามารถกำหนดอัตราย่อขยาย ขนาดในการพิมพ์ได้ 6. ผู้เรียนสามารถกำหนดการจดั วางขอ้ มลู บนกระดาษได้ 7. ผูเ้ รียนสามารถกำหนดข้อความหัวกระดาษ/ท้ายกระดาษในแตล่ ะหนา้ ได้ 8. ผเู้ รยี นสามารถกำหนด Page Break เพ่อื แบง่ ข้อมลู ท่ีพิมพ์ในแต่ละหน้า
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 64 กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กิจกรรมผเู้ รยี น ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น(30 นาที) 1. ตรวจสอบรายช่อื นกั เรียนท่เี ขา้ เรียน 1. ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ค รูใน ก า ร 2. ให้นักเรียนค้นคว้าเกี่ยวกับการพิมพ์งาน การ ตรวจสอบ ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์และการกำหนดรายละเอียด 2. ค้นคว้าเก่ียวกับการพิมพ์งาน การ เกี่ยวกบั การพมิ พใ์ นโปรแกรมไมโครซอฟทเ์ อก็ เซล ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์และการ 3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการพิมพ์งานในโปรแกรม กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการ ไมโครซอฟท์เอ็กเซล พิมพ์ในโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็ก เซล 3. ร่วมสนทนาและแสดงความคดิ เหน็ ขั้นดำเนนิ การสอน (180 นาท)ี 1. บอกจุดประสงคก์ ารเรยี น 1. ฟงั ทำความเข้าใจและซกั ถาม 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยา่ ง แสดงวิธีการปฏบิ ัติในแต่ 2. ทำความเข้าใจและปฏิบัตติ าม ละหวั ขอ้ การเรียนและให้นักเรยี นปฏบิ ัติไปพร้อมกนั 3. ซกั ถาม 3. ให้คำแนะนำ 4. รบั การประเมิน 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ ละบุคคล ขั้นสรุป (30 นาท)ี 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ สาระสำคญั 1. ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ 2. เปิดโอกาสใหน้ กั เรียนซกั ถามขอ้ สงสัย สาระสำคญั 3. ครูแนะนำให้ผู้เรียน ไปหัดทำและศึกษาจากหนังสือ 2. นกั เรยี นสอบถามข้อสงสยั ประกอบการเรยี น 3. ฟังและจดบันทกึ 4. ทดสอบหลังเรยี น 4. ทำแบบทดสอบทา้ ยบท ส่ือการเรียนการสอนประจำหนว่ ย - หนงั สือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน - ใบความรู้ประจำหน่วย - ใบงานและแบบฝกึ หัด - เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์ - ส่อื การสอน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 65 วดั ผลประเมนิ ผล - ผเู้ รยี นปฏิบัติภาระงานท่ีมอบหมายเสรจ็ ทันเวลาท่กี ำหนด - ตอบคำถามและทำใบงานและแบบฝึกหัดได้ถูกต้อง - ความสะอาดเรียบร้อยของใบงานและแบบฝึกหดั - กระตือรืนร้นในการเรยี นรู้ ตอบคำถาม สรปุ บทเรียน และกล้าแสดงความคิดเห็น กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ผู้เรยี นตอ้ งทบทวนบทเรยี นท้งั ก่อนเรียนและหลังเรียนอย่อู ยา่ งสม่ำเสมอ 2. ผู้เรยี นหม่นั เข้าชั้นเรียนเพื่อรับฟังเทคนิค วิธี และแนวทางทด่ี ีกับครสู อนอยา่ งตงั้ ใจ 3. ผู้เรียนสนใจทำใบงาน แบบฝกึ หัด และขยันปรับปรุงแก้ไขใบงานและแบบฝึกหัดให้ถูกต้องทุกคร้ัง ท่ที ำผิด
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 66 เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 8 ตอนท่ี 1 จงใส่เครื่องหมาย หน้าข้อทถ่ี กู และ หน้าข้อท่ีผดิ .......... 1. ถา้ ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง หรือแก้ไขข้อมูลที่อยู่ใน Worksheet กอ่ นการพมิ พค์ วรเขา้ ไปดูใน Print Preview .......... 2. โปรแกรม Excel สามารถสงั่ พมิ พ์งานทงั้ Worksheet ใน Workbook ท่ใี ชง้ านได้ .......... 3. Excel สามารถทำการเกบ็ ผลลพั ธเ์ ปน็ ไฟลข์ ้อมูลได้แทนการพิมพอ์ อกทางกระดาษ .......... 4. Excel ไม่สามารถกำหนดความละเอยี ดงานท่ีพิมพ์ออกมาได้ เพราะจะข้นึ อยู่กับเครื่องพิมพ์ทใี่ ช้ .......... 5. การกำหนดคา่ ใน Page Setup จะไมม่ ผี ลกระทบในการพิมพ์ข้อมูล แต่จะมผี ลกระทบกับข้อมูล ใน Worksheet เทา่ นนั้ .......... 6. ถ้าต้องการใหร้ ะบุเลขหนา้ ทพ่ี ิมพ์ออกมา จะต้องพิมพ์ใสล่ งไปเอง Excel ไม่สามารถระบเุ ลขหน้า ไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ .......... 7. การส่ังพิมพ์ใน Excel ไม่สามารถส่ังพมิ พไ์ ดเ้ กินครัง้ ละ 7 ชดุ ........ 8. Excel มคี วามสามารถเลอื กเซลลท์ ต่ี อ้ งการพมิ พไ์ ด้ .......... 9. Excel ไมส่ ามารถระบตุ ำแหน่งหนา้ เริ่มตน้ การส่ังพิมพ์ได้ แต่สามารถระบุตำแหนง่ หน้าสุดทา้ ยได้ .......... 10. การกำหนดแนวการพมิ พ์ในรปู แบบ Portrait คือการพมิ พ์ข้อมลู ในแนวปกติ .......... 11. การกำหนด Margin สามารถกำหนดขนาดได้ ถ้าข้อมูลท่ีพิมพ์มีปริมาณน้อยกว่า 5 หน้ากระดาษ .......... 12. การจดั วางข้อมูล Horizontally คอื การพมิ พข์ ้อมลู ที่ก่งึ กลางความกวา้ งหน้ากระดาษ .......... 13. Excel ไมส่ ามารถกำหนดข้อความหวั กระดาษท้ายกระดาษได้เหมือนการพมิ พ์ Word .......... 14. เม่ือทำการส่งั ให้มีการแบง่ หน้าก่อนพิมพจ์ ะมีเสน้ ประเกิดขน้ึ ณ ตำแหน่งท่ีตอ้ งการแบ่ง เรา สามารถใชเ้ มาสเ์ ล่ือนเส้นน้ีเพ่ือกำหนดตำแหนง่ การแบง่ หน้าใหมไ่ ด้ .......... 15.หากต้องการกลบั สู่มุมมองปกติหลงั จากใชม้ ุมมองดกู ารแบ่งหนา้ ให้เลอื กท่ี View>Normal
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 67 ตอนที่ 2 จงทำเครอื่ งหมาย ล้อมรอบข้อท่ีถูกต้อง 1. ขอ้ ใดคือปุ่มในแถบเคร่ืองมือทีจ่ ะเข้าส่หู นา้ จอ Print Preview ก. ข. ค. ง. 2. ถา้ ตอ้ งการกำหนดรายละเอียดเกย่ี วกับการพมิ พ์ เราสามารถกดปุ่มใดเพื่อความสะดวกรวดเรว็ ก. Ctrl+S ข. Ctrl+O ค. Ctrl+P ง. Ctrl+N 3. เม่ือจะพิมพ์งานออกมาเฉพาะบางสว่ นจะต้องใชค้ ำสง่ั ใดใน Print What ก. Selection ข. Entire workbook ค. Active sheet(s) ง. Print rage 4. การกำหนดข้อความหวั /ท้ายกระดาษในแตล่ ะหน้า อยู่ในหัวข้อใดในเรื่องของการพิมพ์งาน ก. กำหนดรายละเอียดการพิมพ์ ข. การพิมพ์งาน ค. ตรวจสอบความถกู ต้องกอ่ นการพมิ พ์ ง. แบ่งข้อมูลออกเป็นหน้าย่อยๆ 5. ต้องการให้ข้อมลู ท่พี ิมพ์ออกมามีลักษณะเป็นแนวตั้งหรือแนวนอน ต้องเลือกแทบ็ ใดใน Page Setup ก. Page ข. Margins ค. Header/Footer ง. Sheet 6. เม่ือ Click mouse ทีป่ ุ่ม ในหน้าจอ Print Preview จะเกิดอะไรข้ึน ก. ขอ้ มลู ก่อนพิมพ์จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนเทา่ ๆ กนั ข. จะแสดงหน้าต่างทใ่ี ห้ใสข่ ้อความหวั กระดาษและข้อความท้ายกระดาษ ค. จะแสดงเส้นแบ่งขอบกระดาษกับข้อมูล และแสดงความกว้างของคอลัมนต์ า่ งๆ ง. จะแสดงหนา้ ต่างระบสุ ว่ นท่ตี อ้ งการแบ่งข้อมูลก่อนการพมิ พ์ 7. ข้อใดตอ่ ไปน้ีไม่ถูกตอ้ ง ก. การสงั่ พิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์ได้ท้ัง WorkSheet ข. การสั่งพิมพง์ านใน Excel ไม่สามารถส่ังพมิ พ์ไดท้ ้ัง Workbook ค. การสงั่ พมิ พง์ านใน Excel สามารถส่ังพิมพ์เฉพาะบางส่วนได้ ง. การสั่งพิมพง์ านใน Excel สามารถสัง่ ใหไ้ ปเกบ็ อยใู่ นรูปไฟลไ์ ด้ 8. การกำหนดแนวในการพมิ พข์ ้อใดต่อไปน้ีคือผลจากคำสั่ง Landscape ก. เปน็ การพิมพข์ ้อมลู ในการพมิ พแ์ บบประหยดั หมกึ ข. เป็นการพมิ พข์ ้อมูลให้ระบุจำนวนหนา้ วนั ที่และเวลา ค. เปน็ การพมิ พ์ข้อมลู เฉพาะตัวอกั ษรแตจ่ ะไม่พมิ พ์ข้อมลู ภาพ ง. เปน็ การพมิ พ์ขอ้ มูลทั่วไปให้มีการพิมพ์ออกมาในแนวนอน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 68 9. การกำหนดคณุ ภาพการพิมพ์ และพิมพง์ านเพื่อตรวจสอบข้อผดิ พลาดก่อนการพมิ พ์จรงิ คือ ก. Adjust to: ข. Print Quality ค. Landscape ง. Save mode 10. การจัดวางขอ้ มลู ให้อยู่กงึ่ กลางหนา้ กระดาษพอดีมีอยกู่ ่ีแบบ ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ 11. ข้อใดคือตวั ช่วยในการจัดขอ้ มูลให้อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษพอดี ก. Left,Right ข. Top,Bottom ค. Horizontally,Vertically ง. Header,Footer 12. Footer มไี วส้ ำหรับทำอะไร ก. สำหรับแสดงข้อความท่สี ำคญั ไว้ท่ีท้ายกระดาษ ข. สำหรับกำหนดขนาดของขอบล่างกระดาษ ค. สำหรบั เก็บข้อมลู ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลในหนา้ น้นั ๆ ง. สำหรับแสดงสถานะการพิมพข์ ้อมูลสว่ นท่ีสอง 13. ข้อใดต่อไปนี้มีการทำงานเหมือนกนั กับ Custom Header ก. Custom Bottom ข. Custom Top ค. Custom Footer ง. Custom Page 14. ข้อใดต่อไปนเ้ี ป็นรายละเอียดเก่ยี วกบั การพิมพ์ในแตล่ ะหนา้ ก. Down, then over ข. Draft quality ค. Print Preview ง. Print area 15. การกำหนด Page Break มีไว้เพ่ือทำอะไร ก. เพ่อื กำหนดขนาดของกระดาษก่อนที่จะทำการพิมพ์ ข. เพื่อกำหนดตำแหนง่ ท่จี ะพิมพ์ข้อมูลลงในกระดาษ ค. เพอ่ื กำหนดขอบเขตของกระดาษกอ่ นการพิมพ์ขอ้ มลู ง. เพื่อแบ่งข้อมูลทีจ่ ะทำการพมิ พ์ในแต่ละหนา้ ลงในกระดาษ
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 69 ตอนท่ี 3 เขียนคำตอบท่ีถูกตอ้ งลงในชอ่ งวา่ งให้สมบรู ณ์ 1. จากรูปขา้ งลา่ ง จงเตมิ ชอ่ื ส่วนประกอบลงในช่องวา่ งใหส้ มบรู ณ์ 1.1 Top กำหนดขนาดขอบบน 1.2 Header ระบคุ วามกวา้ งของหัวกระดาษ 1.3 Left กำหนดขนาดขอบซ้าย 1.4 เซลลข์ อ้ มูล 1.5 Right กำหนดขนาดขอบขวา 1.6 Footer ระบคุ วามกว้างท้ายกระดาษ 1.7 Bottom กำหนดขนาดขอบลา่ ง 2. จากรปู ขา้ งลา่ ง จงเติมคำอธบิ ายลงในชอ่ งวา่ งใหส้ มบูรณ์ 2.1 กำหนดแนวการพมิ พ์ 2.2 กำหนดอตั ราย่อขยายการพมิ พ์ 2.3 กำหนดขนาดกระดาษและคุณภาพการพิมพ์
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 70 3. จงอธบิ ายหน้าที่ของสว่ นประกอบตามหมายเลขจากรปู ท่ีกำหนดให้ 1. แท็บ page กำหนดแนวการพิมพ์ อตั ราย่อขยายภาพ ขนาดกระดาษและคุณภาพการพิมพ์ 2. แทบ็ Margins กำหนดขนาดขอบและตำแหน่งข้อมูลในกระดาษ 3. แท็บ Header/Footer กำหนดขอ้ ความหวั /ทา้ ยกระดาษ 4. แทบ็ Sheet กำหนดหวั ขอ้ มูลและลำดับข้อมูลที่พมิ พใ์ นแต่ละหนา้ 5. ปมุ่ Print เขา้ สู่หน้าตา่ งการสัง่ พมิ พ์ 6. ปุม่ Print Preview เข้าสู่การดูตวั อยา่ งก่อนพมิ พ์ 7. Option การกำหนดคา่ เพ่ิมเติม 8. Rows to repeat at top กำหนดแถวข้อมูลที่จะพิมพ์เป็นหวั ของทุกๆหน้า ซ่งึ โดยปกติคือแถวที่ เป็นแถบช่อื เร่ืองแนวนอนของข้อมูลในตาราง 9. Columns to repeat at left กำหนดคอลัมน์ท่ีจะพิมพ์ทางด้านซา้ ยของทกุ หน้า ซ่ึงโดยปกติคือ คอลมั น์ท่ีเป็นช่อื เรื่องแนวตง้ั ของข้อมลู ในตาราง 10. Gridlines พิมพ์เสน้ แบง่ เซลล์ (เส้นตารางสีเทาที่เราเห็นบนหน้าจอ 11. Black and white พิมพ์ข้อมูลในตารางเป็นขาวดำ 12. Draft Quality พิมพ์ข้อมูลในตารางเป็นแบบรา่ งเพ่ือใช้ตรวจงานโดยเสน้ กรอบ รูปภาพและสีท่ี เรากำหนดเพิ่มเตมิ จะไม่ถูกพิมพ์ออกมา 13. Row and Column heading พิมพช์ ่ือแถว และคอลัมน์ท่ีหัวและดา้ นซ้ายของกระดาษ 14. Comments พมิ พข์ ้อความหมายเหตทุ ีส่ ร้างไว้ในตาราง 15. Down then over พิมพข์ ้อมลู โดยไลท่ ลี ะแถวลงมา 16. Over then down พมิ พ์ขอ้ มลู โดยไลท่ ลี ะคอลัมนก์ ่อน
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หน้า 71 แผนการสอน/แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 9 สัปดาห์ที่ 13-14 วิชา 2 0 2 0 4 - 2 1 0 3 โปรแกรมตารางคำนวณ เวลา 8 ช่ัวโมง เรอ่ื ง การบริหารข้อมูลทม่ี ีปริมาณมาก สาระสำคญั ในปัจจบุ ันนี้การทำงานดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์มีบทบาทมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทำงาน บรหิ ารข้อมูลท่ีมีปรมิ าณมาก ฐานข้อมลู การจัดเรยี งลำดับขอ้ มูล การคดั เลือกข้อมูล การคน้ หาเรคอร์ด การหาผลรวมในรายการฐานข้อมลู การสรา้ ง Group และการทำงานรูปแบบอื่น ๆ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เพิม่ มากข้ึน ข้อมูลมีความทันสมยั สมบูรณแ์ บบสำหรับงานเอกสารและการบริหารฐานข้อมลู 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 จดุ ประสงค์ทัว่ ไป (จุดประสงคน์ ำทาง) 1. มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความหมายของการบริหารขอ้ มลู 2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับฐานข้อมลู 3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับการจัดการฐานข้อมลู 4. มีความรคู้ วามสามารถในการหาผลรวมในรายการฐานข้อมูล 5. มคี วามร้คู วามสามารถในการสร้าง Group 2.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (จุดประสงค์ปลายทาง) 1. ผเู้ รียนสามารถเรียงลำดับข้อมูลได้ 2. ผ้เู รียนสามารถคดั เลือกข้อมูลได้ 3. ผู้เรียนสามารถค้นหาเรคอร์ดได้ 4. ผู้เรยี นสามารถลบเรคอร์ดได้ 5. ผเู้ รียนสามารถหาผลรวมในรายการฐานข้อมูลได้ 6. ผ้เู รยี นสามารถคดั เลือกข้อมลู ดว้ ย AutoFilter ได้ 7. ผ้เู รียนสามารถกำหนดเง่ือนไขการคัดเลอื กข้อมูลได้ 8. ผเู้ รียนสามารถสร้าง Group ของข้อมูลได้ คุณลกั ษณะที่ต้องบรู ณาการ 1. ความมวี ินยั 2. มมี นุษยสมั พันธ์ 3. ความอดทนและขยนั หมัน่ เพยี ร 4. ความรับผดิ ชอบ 5. ความสนใจใฝ่รู้ 6. ความเชอ่ื มน่ั ตนเอง
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หนา้ 72 การบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1) ความพอประมาณ : ตรวจความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอรก์ ่อนเรยี น และปิดเครอ่ื ง เกบ็ เกา้ อี้นงั่ ใหเ้ รยี บร้อยหลงั เลิกเรียน เพ่ือความเรยี บร้อยและประหยดั 2) การมีเหตผุ ล : รับฟังความคดิ เหน็ และวเิ คราะห์ วจิ ารณ์อย่างมีเหตผุ ล 3) การมภี มู ิคุ้มกนั ในตวั เอง : ฝึกการค้นคว้าหาความรู้จากเพ่ือน และระบบอินเทอร์เน็ต เพือ่ แกป้ ัญหาในแบบฝกึ ปฏบิ ัติ และใบงาน การบรู ณาการตามโครงการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กจิ กรรมสร้างจิตสำนึกในการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื งานสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรยี น ด้านกระบวนการเรียนรู้ ด้านที่ 2 การดำเนินงาน องค์ประกอบท่ี 3 การศึกษาข้อมูลตา่ งๆ การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมผู้เรยี น ขัน้ นำเข้าสู่บทเรยี น (สัปดาห์ละ 30 นาท)ี 1. ตรวจสอบรายช่อื นกั เรียนทีเ่ ข้าเรียน 1. ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ค รูใน ก า ร 2. ใหน้ ักเรียนค้นควา้ เกี่ยวกบั ความหมายของการบรหิ าร ตรวจสอบ ข้อมลู ฐานข้อมลู และการจดั การฐานข้อมูล 2. ค้นคว้าเก่ียวกับความหมายของการ 3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกับเร่ืองการบริหารข้อมูลท่ีมีปริมาณ บริหารข้อมูล ฐานข้อมูลและการ มาก จัดการฐานขอ้ มูล 3. รว่ มสนทนาและแสดงความคิดเห็น ขั้นดำเนนิ การสอน (สัปดาห์ละ 180 นาที) 1. บอกจุดประสงคก์ ารเรียน 1. ฟัง ทำความเขา้ ใจและซักถาม 2. บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอยา่ ง แสดงวิธกี ารปฏิบัติในแต่ 2. ทำความเขา้ ใจและปฏบิ ัตติ าม ละหวั ข้อการเรยี นและให้นักเรียนปฏิบัติไปพร้อมกนั 3. ซักถาม 3. ใหค้ ำแนะนำ 4. รบั การประเมนิ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ ละบคุ คล
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หนา้ 73 ข้นั สรปุ (สัปดาห์ละ 30 นาท)ี 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ สาระสำคญั 1. ค รู แ ล ะ นั ก เรี ย น ร่ ว ม กั น ส รุ ป 2. เปิดโอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามขอ้ สงสัย สาระสำคญั 3. ครูแนะนำให้ผู้เรียน ไปหัดทำและศึกษาจากหนังสือ 2. นักเรยี นสอบถามข้อสงสัย ประกอบการเรียน 3. ฟังและจดบนั ทกึ 4. ทดสอบหลังเรียน 4. ทำแบบทดสอบทา้ ยบท 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ ก่อนเรียน 1. คน้ คว้าเกย่ี วกบั ความหมายของการบรหิ ารข้อมูล ฐานขอ้ มลู และการจดั การฐานขอ้ มูล ขณะเรียน 1. ผู้เรียนร่วมกันศกึ ษาเน้อื หาตามครูแลว้ ตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ 2. ทำใบงานและแบบฝกึ หัดหลังเรยี น 3. ร่วมกนั เฉลยใบงานและแบบฝกึ หดั หลังเรียน 4. จดบันทึก เทคนิค แนวการที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน จากข้อแนะนำของครูผู้สอน 5. ผูเ้ รยี นสรุปความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการเรยี นการสอน 6. ผ้เู รียนซักถามในหัวขอ้ ที่สงสัยในเน้อื หาการเรียนรู้ 6. สอื่ การเรยี นการสอน 1. อ. สุรชัย พมิ พ์สาลี,อ. อมั รนิ ทร์เพช็ รกุล. หนงั สือการใช้โปรแกรมตารางงาน 2. แฟม้ สะสมผลงาน 3. ใบความรูป้ ระจำหน่วย 4. เครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์ 5. แผน่ ใสและเครือ่ งฉายภาพขา้ มศีรษะ 6. ส่ือการสอน 7. วดั ผลประเมนิ ผล 1. ผูเ้ รียนปฏบิ ัติภาระงานทม่ี อบหมายเสรจ็ ทันเวลาทกี่ ำหนด 2. ตอบคำถามและสรุปผลงานไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 3. ทำแบบฝกึ หัดหลังเรียนเสร็จทนั เวลาที่กำหนดและถกู ตอ้ ง 4. สนใจกระตือรือร้นในการเรียนรู้ ตอบคำถาม สรุปสาระการเรียนรู้ และกล้าแสดงความคิดเห็น 5. มีความพยายามปรับปรุงแกไ้ ขใบงานและแบบฝึกหดั ให้ถูกต้องแลว้ นำสง่ ครูผ้สู อน
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หน้า 74 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ถา้ ผเู้ รยี นมีการเตรียมตัวในการเรียนทดี่ ี เช่น อ่าน และทำการศึกษาหนังสือเกยี่ วกับหน่วยการเรียน มากก่อน ถึงช่ัวโมงเรียน ผู้เรียน จะสามารถเรียน และทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนมอบหมาย ได้อย่างมี ความสุข และเกิดความชอบ และสนกุ กบั การเรยี นในช้ันเรียน 2. ผเู้ รยี นตอ้ งมีความขยนั หม่นั ฝกึ ฝนบทเรยี นอยู่เสมอทง้ั กอ่ นและหลังเรียน 3. ผู้เรยี นควรฝึกหดั ในการเขียนสญั ลักษณข์ องวงจรพรอ้ มนยิ ามของวงจรแตล่ ะชนิด 4. ผเู้ รียนต้องมคี วามพยายามและมที ศั นคติทด่ี ใี นเนื้อหาบทเรยี น 3. ผเู้ รยี นตอ้ งมีความกล้าทจี่ ะถามเม่ือสงสยั ท้ังในห้องและนอกห้องเรยี นกับครูผสู้ อน กิจกรรม 9.1 เพ่ือบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ ให้ค้นหาข้อมูลพ้ืนบ้าน ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ และข้อมลู อ่ืนๆ เก่ยี วกับการศกึ ษาพรรณไมใ้ นสวนพฤกษศาสตร์ ในพ้นื ที่ศึกษา จำนวน 5 ชนิด โดยกำหนดหัวข้อดังน้ี แล้วออกแบบเป็นตารางข้อมูลข้อมูลใน Excel เพอื่ สะดวกในการค้นหาขอ้ มลู ขอ้ มูลพฤกษศาสตร์ ช่อื พนั ธ์ไม้ ......................................................................................... ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ................................................................................. รปู พนั ธไ์ ม้ ชอ่ื วงศ์ ............................................................................................... ชอ่ื สามญั ........................................................................................... ช่ือพ้นื เมืองอื่นๆ ................................................................................ ถน่ิ กำเนิด .............................................................................................................................................. การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทย ........................................................................................................... ในประเทศอน่ื ๆ .......................................................................................................... นเิ วศวิทยา ............................................................................................................................................. เวลาออกดอก ........................................................................................................................................ เวลาตดิ ผล ............................................................................................................................................. การขยายพันธุ์ ........................................................................................................................................ การใช้ประโยชน์ ..................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ประวตั ิพนั ธุ์ไม้ (การนำเข้ามาปลกู ในประเทศไทย) ................................................................................ เว็บไซตท์ ่ีอา้ งองิ .....................................................................................................................................
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หนา้ 75 เฉลยแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 9 ตอนที่ 1 จงใสเ่ ครื่องหมาย หน้าขอ้ ทถี่ กู และ หน้าข้อท่ีผดิ .......... 1. Field คือ คอลัมน์ทีเ่ ปน็ ส่วนหวั ในฐานข้อมูล .......... 2. การใสข่ ้อมลู ลงในฐานขอ้ มลู สามารถทำได้ไม่จำกัดชนดิ ของขอ้ มูล .......... 3. การเรียงลำดับแบบ Ascending เปน็ การเรียงลำดับจากนอ้ ยไปมาก .......... 4. คลิกปุ่ม เพ่ือเรยี งข้อมลู จากนอ้ ยไปมาก .......... 5. การกำหนด Field ท่ีใชเ้ รียงลำดบั สามารถกำหนดได้ 3 Field .......... 6. AutoFilter ใชส้ ำหรับชว่ ยในการค้นหาข้อมูลแบบผใู้ ชก้ ำหนดเอง .......... 7. เมอ่ื เลอื กเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูลแบบ Custom...จะเป็นการแสดงข้อมลู แบบจัดอันดับ .......... 8. การใช้ Filter กรองข้อมูลสามารถกรองข้อมูลได้ทุกประเภทท่ีอยใู่ นฐานขอ้ มลู .......... 9. ตอ้ งการยกเลิกการใช้ Filter เลือก Data>Filter>AutoFilter .......... 10. การคดั เลือกขอ้ มูลแบบจัดอนั ดบั ไม่สามารถกำหนดจำนวนการแสดงของข้อมลู ได้ .......... 11. การค้นหา Record โดยการใช้ Form จะแสดงขอ้ มูลครงั้ ละ 1 Record เท่าน้ัน .......... 12. การคน้ หา Record โดยการใช้ Form ไม่สามารถกำหนดเงื่อนไขในการค้นหาได้ .......... 13. การแก้ไข Record โดยการใช้ Form สามารถแกไ้ ขข้อมลู ที่ต้องการได้ทนั ที .......... 14. ไมส่ ามารถใช้ Form ช่วยในการลบ Record ได้ .......... 15. การสร้าง Group คอื การหาผลรวมของข้อมูล ตอนท่ี 2 จงทำเครื่องหมาย ลอ้ มรอบข้อท่ถี ูกต้อง 1. ขอ้ ใดคือความหมายของคำวา่ Record ก. ขอ้ มูลท่ีอย่ใู นแต่ละแถวของฐานข้อมลู ข. ขอ้ มูลที่อยู่ในแต่ละคอลมั น์ของฐานข้อมูล ค. การบนั ทึกขอ้ มลู ง. การเพม่ิ ฐานข้อมลู 2. ขอ้ ใดคือความหมายของคำวา่ Field ก. คอลมั นท์ ่ีอยสู่ ่วนหัวของขอ้ มลู ข. ข้อมลู ที่อยูใ่ นแตล่ ะคอลัมน์ของฐานขอ้ มลู ค. ข้อมูลท่ีอยู่ในแตล่ ะแถวของฐานข้อมลู ง. การเพิม่ ฐานข้อมลู 3. การเรยี งลำดับข้อมลู จะต้องเลอื กใช้คำสงั่ ใด ก. Data>form ข. Data>Filter ค. Data>Sort... ง. Data>Filter>AutoFilter 4. การเรยี งลำดบั ข้อมลู แบบ Descending เป็นการเรยี งข้อมูลในลกั ษณะใด ก. เรยี งขอ้ มลู เฉพาะตัวอักษร ข. เรียงข้อมูลจากมากไปนอ้ ย ค. เรยี งข้อมูลเฉพาะตวั เลข ง. เรยี งขอ้ มลู จากน้อยไปมาก
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หน้า 76 5. การเรียงลำดบั ข้อมลู สามารถกำหนด Field ที่ใชใ้ นการเรียงลำดับได้ก่ี Field ก. 3 Field ข. 4 Field ค. 5 Field ง. 6 Field 6. ปุ่ม ใช้สำหรบั ส่ิงใด ก. เรียงขอ้ มูลเฉพาะตวั อักษร ข. เรียงข้อมูลเฉพาะภาษาอังกฤษ ค. เรยี งขอ้ มลู จากมากไปน้อย ง. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก 7. การใชค้ ำสัง่ Data>Filter เพ่อื วัตถุประสงค์ใด ก. เพื่อใชใ้ นการคดั เลือกข้อมูล ข. ใชใ้ นการเพ่ิมข้อมูล ค. ใชใ้ นการลบข้อมลู ออกจากฐานข้อมลู ง. ใช้ในการบนั ทึกฐานขอ้ มูล 8. ข้อใดไม่ใช่การกำหนดเงื่อนไขในการคดั เลือกขอ้ มูล ก. All ข. Top 10 ค. Custom ง. None 9. ถา้ ตอ้ งการกำหนดเง่ือนไขในการคัดเลือกข้อมูลโดยใหแ้ สดงข้อมลู ทั้งหมด ต้องเลือกเง่ือนไขใด ก. All ข. Top 10 ค. Custom ง. None 10. ข้อใดไม่สามารถทำไดเ้ ม่ือใชค้ ำสัง่ Data>Form ก. สรา้ ง Record ใหม่ ข. ลบ Record ค. ค้นหา Record ง. คัดลอก Record 11. การใชค้ ำสงั่ Data>Subtotals... เพ่อื วัตถุประสงค์ใด ก. ลบขอ้ มลู ทง้ั หมด ข. สรา้ งฐานข้อมูลใหม่ ค. คน้ หาข้อมูลท่ตี ้องการ ง. หาผลรวมในรายการฐานขอ้ มูล 12. ข้อใดต่อไปน้ีกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการหาผลรวมของข้อมลู ก. สามารถเลือก Field ทีต่ อ้ งการหาผลรวมได้ ข. สามารถเลือกฟังกช์ ่ันท่ตี ้องการใชใ้ นการหาผลรวมได้ ค. สามารถเพ่มิ เตมิ ฟังกช์ น่ั ที่ตอ้ งการในการหาผลรวมได้ ง. สามารถยกเลิกการหาผลรวมได้ 13. ข้อใดคือประโยชน์ของการสรา้ ง Group ข้อมลู ก. ขอ้ มลู เป็นระเบยี บมากข้ึน ข. รวมขอ้ มูลทส่ี ำคัญไวด้ ว้ ยกัน ค. จดั ระเบียบการแสดงผลดีข้ึน ง. ปอ้ งกันไมใ่ ห้บุคคลอื่นทราบขอ้ มูล 14. ข้อใดไม่ถูกต้องเกีย่ วกับการสร้าง Group ก. สามารถสรา้ ง Group ทาง Rows หรือ Columns ได้ ข. สามารถสรา้ ง Group หลายๆ Rows พร้อมกันได้ ค. สามารถสรา้ ง Group จาก Columns ทไ่ี ม่อยู่ติดกันได้ ง. สามารถสรา้ ง Group ภายใน Group ท่ีถูกสรา้ งไวแ้ ลว้ ได้
20204-2103-โปรแกรมตารางคำนวณ.....หน้า 77 15. ข้อใดไม่ถูกตอ้ งเก่ยี วกับการ UnGroup ก. การ UnGroup จะเป็นการยกเลกิ Group ท้งั หมด ข. สามารถเลือก UnGroup เฉพาะบางสว่ นได้ ค. ไม่สามารถ UnGroup ทาง Rows และ Columns พร้อมกันได้ ง. การ UnGroup ต้องมีการระบเุ ซลล์ทีต่ ้องการ UnGroup ก่อน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 78 แผนการสอน/แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 10 สัปดาห์ท่ี 14-15 วชิ า 2 0 2 0 4 - 2 1 0 3 โปรแกรมตารางงาน เวลา 4 ชั่วโมง เรอื่ ง การใชง้ าน Pivot Table สาระสำคัญ ในปัจจุบันน้ีการทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์มีบทบาทมากมาย จึงจำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับ โปรแกรมตารางงาน ซึ่งช่วยให้เราสามารถพิมพ์งานได้อย่างสวยงาม บอกถึงการใช้งาน Pivot Table ความหมายและประโยชน์ของ Pivot Table การจัดรูปแบบโดยการย้ายตำแหน่งของ Field ซ่ึงทำให้การ ทำงานมรี ูปแบบท่สี มบรู ณ์เพ่ิมมากขึ้น จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ท่วั ไป (จุดประสงค์นำทาง) 1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความหมายของ Pivot Table 2. มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การใช้งาน Pivot Table 3. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการจัดรปู แบบโดยการยา้ ยตำแหนง่ Field 4. มีความรคู้ วามสามารถในการทำงานบน Pivot Table จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (จดุ ประสงคป์ ลายทาง) 1. ผเู้ รียนสามารถบอกความหมายและประโยชนข์ อง Pivot Table ได้ 2. ผู้เรยี นสามารถสร้าง Pivot Table ได้ 3. ผูเ้ รยี นสามารถเพ่ิมสูตรคำนวณเขา้ ไปใน Pivot Table ได้ 4. ผู้เรยี นสามารถสร้างแผนภมู ิโดยใชข้ อ้ มลู จาก Pivot Table ได้ คุณลกั ษณะทตี่ อ้ งบูรณาการ 1. ความมีวนิ ัย 2. มีมนุษยสมั พนั ธ์ 3. ความอดทนและขยันหม่ันเพียร 4. ความรบั ผดิ ชอบ 5. ความสนใจใฝ่รู้ 6. ความเช่ือมนั่ ตนเอง
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 79 การบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความพอประมาณ : ตรวจความพรอ้ มของเครื่องคอมพวิ เตอรก์ ่อนเรยี น และปดิ เครอื่ ง เก็บเก้าอน้ี ัง่ ใหเ้ รยี บร้อยหลังเลกิ เรียน เพอ่ื ความเรียบร้อยและประหยดั 2) การมเี หตุผล : รบั ฟงั ความคิดเห็น และวเิ คราะห์ วจิ ารณ์อย่างมีเหตุผล 3) การมภี ูมคิ มุ้ กนั ในตัวเอง : ฝกึ การค้นควา้ หาความรู้จากเพ่ือน และระบบอนิ เทอรเ์ น็ต เพ่อื แก้ปัญหาในแบบฝึกปฏิบัติ และใบงาน กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมผ้เู รยี น ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น (30 นาที) 1. ตรวจสอบรายชอ่ื นักเรยี นทีเ่ ขา้ เรียน 1. ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ค รูใน ก า ร 2. ให้นักเรียนค้นคว้าความหมายของ Pivot Table การ ตรวจสอบ ใช้งาน Pivot Table และการจัดรูปแบบโดยการย้าย 2. ค้ น ค ว้าค ว าม ห ม าย ข อ ง Pivot ตำแหน่ง Field Table ก า ร ใช้ งา น Pivot Table 3. ร่วมสนทนาเกยี่ วกบั เรอื่ งการใช้งาน Pivot Table แ ล ะ ก า ร จั ด รู ป แ บ บ โ ด ย ก า ร ย้ า ย ตำแหน่ง Field 3. รว่ มสนทนาและแสดงความคิดเหน็ ขนั้ ดำเนนิ การสอน(180 นาท)ี 1. บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี น 1. ฟงั ทำความเข้าใจและซักถาม 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง แสดงวธิ ีการปฏิบตั ิในแต่ 2. ทำความเข้าใจและปฏบิ ตั ติ าม ละหวั ข้อการเรียนและให้นกั เรียนปฏบิ ัติไปพรอ้ มกนั 3. ซกั ถาม 3. ให้คำแนะนำ 4. รับการประเมนิ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ ละบคุ คล ขน้ั สรุป(30 นาที) 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรปุ สาระสำคญั 1. ค รู แ ล ะ นั ก เรี ย น ร่ ว ม กั น ส รุ ป 2. เปดิ โอกาสให้นักเรียนซกั ถามขอ้ สงสัย สาระสำคัญ 3. ครูแนะนำให้ผู้เรียน ไปหัดทำและศึกษาจากหนังสือ 2. นกั เรียนสอบถามข้อสงสยั ประกอบการเรียน 3. ฟงั และจดบันทึก 4. ทดสอบหลงั เรยี น 4. ทำแบบทดสอบท้ายบท
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 80 ส่ือการเรียนการสอน - หนังสือเรียนวชิ า การใช้โปรแกรมตารางงาน - แฟม้ สะสมผลงาน - ใบความรปู้ ระจำหน่วย - ใบงานและแบบฝกึ หดั - เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ - ส่อื การสอน วัดผลประเมนิ ผล - ผเู้ รียนปฏิบตั ภิ าระงานท่ีมอบหมายเสร็จทันเวลาทีก่ ำหนด - ตอบคำถามและสรุปผลงานได้อยา่ งถกู ต้อง - ทำแบบฝกึ หัดหลงั เรยี นเสร็จทนั เวลาท่ีกำหนดและถกู ตอ้ ง - สนใจกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ ตอบคำถาม สรปุ สาระการเรียนรู้ และกลา้ แสดงความคิดเห็น - มีความพยายามปรบั ปรงุ แก้ไขใบงานและแบบฝึกหดั ให้ถูกต้องแลว้ นำสง่ ครผู ู้สอน 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ถ้าผู้เรียนมีการเตรียมตัวในการเรียนที่ดี เช่น อ่าน และทำการศึกษาหนังสือเก่ียวกับหน่วยการ เรียนมากก่อน ถึงชั่วโมงเรียน ผู้เรียน จะสามารถเรียน และทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอน มอบหมาย ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข และเกิดความชอบ และสนุกกบั การเรยี นในช้นั เรียน 2. ผ้เู รยี นตอ้ งมคี วามขยนั หมัน่ ฝึกฝนบทเรยี นอยูเ่ สมอทัง้ กอ่ นและหลังเรียน 3. ผเู้ รยี นต้องมีความกล้าท่ีจะถามเมอ่ื สงสัยทง้ั ในห้องและนอกห้องเรียนกับครผู ู้สอน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 81 เฉลยแบบฝกึ หัด หน่วยท่ี 10 ตอนท่ี 1 จงใสเ่ ครื่องหมาย หนา้ ข้อที่ถูก และ หนา้ ข้อท่ผี ิด .......... 1. Pivot Table ไมส่ ามารถคำนวณขอ้ มลู ต่างๆได้ .......... 2. สามารถออกแบบการแสดงผลของ Pivot Table ได้ .......... 3. Pivot Table เหมาะสำหรับใชก้ ับฐานข้อมลู ท่ีมีขนาดใหญเ่ ท่านั้น .......... 4. การสรา้ ง Pivot Table ไม่จำเปน็ ต้องกำหนดขอบเขตข้อมูลทใี่ ช้ .......... 5. เมื่อสร้าง Pivot Table Report เสร็จแล้ว ไมส่ ามารถปรับเปลีย่ นได้อีก .......... 6. สามารถเพ่ิมสูตรการคำนวณใน Pivot Table ได้ทกุ สตู ร .......... 7. Pivot Table สามารถเพ่ิม Field ในภายหลงั ได้ .......... 8. สามารถสรา้ งกราฟจาก Pivot Table ได้ .......... 9. สามารถสร้าง Group ข้อมูลร่วมกับ Pivot Table ได้ .......... 10. สามารถสร้าง Pivot Table Report จากข้อมลู ภายใน Pivot Table Report ได้ ตอนที่ 2 จงทำเครือ่ งหมาย ลอ้ มรอบข้อที่ถูกตอ้ ง 1. คำสงั่ ใดใช้ในการสรา้ ง Pivot Table ก. Data>PivotTable and PivotChart Report ข. Data>Form ค. Data>Table ง. Data>Sort 2. กรอบโต้ตอบขั้นที่ 1 ของการสรา้ ง Pivot Table จะแสดงตัวเลือกของอะไร ก. ขอบเขตของข้อมูล ข. การจัดตำแหนง่ Field ค. แผนภูมิ ง. แหล่งข้อมูลที่จะนำมาวิเคราะห์ 3. กรอบโต้ตอบขน้ั ท่ี 2 ของการสรา้ ง Pivot Table จะแสดงตัวเลือกของอะไร ก. การจดั ตำแหน่ง Field ข. ขอบเขตของข้อมูล ค. แผนภูมิ ง. แหล่งข้อมลู ท่จี ะนำมาวเิ คราะห์ 4. ในข้นั ตอนท่ี 4 ของการสร้าง Pivot Table ตวั เลือกใดคือการสรา้ งแผน่ งานใหม่ ก. External Data Source ข. Another Pivot Table ค. New Worksheet ง. Existing Worksheet 5. Ad Hoc คือข้อใด ก. การหาผลสรุป ข. สอบถามเร่งด่วน ค. สร้างรายงาน ง. การเตรยี มขอ้ มูล
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 82 6. รปู เมาส์ ในการเปลีย่ นตำแหนง่ ข้อมลู หมายถึงอะไร ก. ข้อมูลผดิ พลาด ข. ไมส่ ามารถวางข้อมลู ได้ ค. ไม่มีข้อมลู ดงั กลา่ ว ง. ไม่สามารถจดั รูปแบบได้ 7. การเพิ่มสตู รในการคำนวณเลือกคำสง่ั ใด ก. Pivot Table>Formulas>Calculated Field ข. Pivot Table>Formulas>Calculated Item ค. Pivot Table>Formulas>Solve Order ง. Pivot Table>Formulas>List Formulas 8. Dynamic Chart คือแผนภมู ิประเภทใด ก. แผนภมู ิค่าคงที่มีการเปลี่ยนแปลงตามขอ้ มูล ข. แผนภูมิทไี่ ม่เปล่ยี นแปลงตามขอ้ มูล ค. แผนภมู ิที่ไมส่ ามารถกำหนดหวั ขอ้ เร่ืองได้ ง. แผนภมู ทิ ีไ่ มม่ ีค่าแสดงตามแกนต่างๆ
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 83 แผนการสอน/แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 11 วิชา 2 0 2 0 4 - 2 1 0 3 โปรแกรมตารางงาน สัปดาหท์ ่ี 17 เร่อื ง การใชง้ าน Macro เวลา 4 ชว่ั โมง สาระสำคญั การทำงานโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กเซล สามารถทำงานได้ตามท่ีต้องการ จำเป็นต้องมีความรู้ เกี่ยวกับการใช้งาน Macro การสร้างมาโคร การเปลี่ยนหน้าตาท่ีปุ่ม การทำงานลักษณะเช่นนี้ ช่วยให้ โปรแกรมการทำงานมีระบบและสามารถพฒั นาโปรแกรมต่อไปได้ในอนาคต สะดวกที่เราสามารถใช้งานได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพเพ่มิ มากข้นึ จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงคท์ ว่ั ไป (จดุ ประสงค์นำทาง) 1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความหมายของการใช้งาน Macro 2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั การสร้าง Macro 3. มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั การเปลยี่ นหน้าตาของปุ่ม 4. มคี วามรู้ความสามารถในการทำงานการใช้ Macro จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (จุดประสงคป์ ลายทาง) 1. ผ้เู รียนสามารถอธบิ ายการใชง้ านของ Macro ได้ 2. ผู้เรียนสามารถสร้าง Macro ได้ 3. ผูเ้ รียนสามารถบอกข้ันตอนการสรา้ ง Macro ได้ 4. ผูเ้ รียนสามารถบอกขนั้ ตอนการเรยี กใช้ Macro ได้ 5. ผู้เรียนสามารถอธิบายวิธีลัดในการเลือกใช้ Macro ได้ 6. ผู้เรยี นสามารถสรา้ งวธิ ลี ัดในการเลือกใช้ Macro ได้ 7. ผ้เู รยี นสามารถเปล่ยี นแปลงปุ่มตา่ ง ๆ ของคำสง่ั Macro ได้ 8. ผเู้ รียนสามารถอธิบายขน้ั ตอนการลบ Macro ได้ 9. ผูเ้ รียนสามารถอธบิ ายขนั้ ตอนการสร้างปุม่ (Button) ได้ 10. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายการยกเลิกปมุ่ ท่สี รา้ งได้ คุณลกั ษณะที่ตอ้ งบรู ณาการ 1. ความมีวินัย 2. มมี นุษยสัมพนั ธ์ 3. ความอดทนและขยนั หมัน่ เพียร 4. ความรบั ผิดชอบ 5. ความสนใจใฝร่ ู้ 6. ความเช่อื ม่นั ตนเอง
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 84 การบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความพอประมาณ : ตรวจความพร้อมของเครื่องคอมพวิ เตอรก์ ่อนเรียน และปดิ เคร่อื ง เก็บเก้าอน้ี ่งั ให้เรียบร้อยหลังเลิกเรยี น เพื่อความเรียบร้อยและประหยดั 2) การมเี หตุผล : รบั ฟงั ความคดิ เหน็ และวเิ คราะห์ วิจารณอ์ ย่างมีเหตุผล 3) การมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตวั เอง : ฝึกการคน้ ควา้ หาความรู้จากเพ่ือน และระบบอนิ เทอรเ์ น็ต เพือ่ แกป้ ญั หาในแบบฝกึ ปฏิบัติ และใบงาน กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมผเู้ รยี น ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน(30 นาท)ี 1. ตรวจสอบรายช่ือนักเรยี นทีเ่ ขา้ เรยี น 1. ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ค รูใน ก า ร 2. ให้นักเรียนค้นคว้าความหมาย การสรา้ ง Macro และ ตรวจสอบ การเปลี่ยนหนา้ ตาของปมุ่ 2. ค้ น ค ว้าค วาม ห ม าย ก ารส ร้าง 3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกบั เร่อื งการใชง้ าน Macro Macro และการเปลี่ยนหน้าตาของ ปุ่ม 3. ร่วมสนทนาและแสดงความคดิ เห็น ข้ันดำเนนิ การสอน(180 นาที) 1. บอกจดุ ประสงคก์ ารเรียน 1. ฟัง ทำความเขา้ ใจและซกั ถาม 2. บรรยาย อธบิ าย ยกตวั อย่าง แสดงวธิ ีการปฏบิ ตั ิในแต่ 2. ทำความเข้าใจและปฏิบตั ิตาม ละหัวข้อการเรียนและให้นกั เรียนปฏิบตั ิไปพร้อมกนั 3. ซักถาม 3. ใหค้ ำแนะนำ 4. รับการประเมนิ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ ละบคุ คล ขั้นสรุป(30 นาท)ี 1. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ สาระสำคัญ 1. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ 2. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสยั สาระสำคญั 3. ครูแนะนำให้ผู้เรียน ไปหัดทำและศึกษาจากหนังสือ 2. นกั เรยี นสอบถามข้อสงสัย ประกอบการเรียน 3. ฟังและจดบันทกึ 4. ทดสอบหลงั เรยี น 4. ทำแบบทดสอบทา้ ยบท
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หนา้ 85 ส่ือการเรียนการสอนประจำหนว่ ย - หนงั สือเรียนวชิ า การใชโ้ ปรแกรมตารางงาน - แฟ้มสะสมผลงาน - ใบความรปู้ ระจำหนว่ ย - ใบงานและแบบฝกึ หดั - เครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์ - ส่อื การสอน วัดผลประเมินผล 1. ผูเ้ รยี นปฏิบัติภาระงานท่มี อบหมายเสร็จทันเวลาที่กำหนด 2. ตอบคำถามและสรปุ ผลงานได้อย่างถกู ต้อง 3. ทำแบบฝึกหัดหลังเรยี นเสรจ็ ทันเวลาที่กำหนดและถกู ตอ้ ง 4. สนใจกระตือรือรน้ ในการเรยี นรู้ ตอบคำถาม สรปุ สาระการเรยี นรู้ และกลา้ แสดงความคิดเห็น 5. มคี วามพยายามปรบั ปรงุ แกไ้ ขใบงานและแบบฝึกหัดให้ถกู ต้องแล้วนำสง่ ครูผู้สอน กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ถ้าผู้เรียนมีการเตรียมตัวในการเรียนท่ีดี เช่น อ่าน และทำการศึกษาหนังสือเก่ียวกับหน่วยการ เรียนมากก่อน ถึงช่ัวโมงเรียน ผู้เรียน จะสามารถเรียน และทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอน มอบหมาย ได้อย่างมคี วามสุข และเกิดความชอบ และสนุกกบั การเรยี นในช้นั เรียน 2. ผ้เู รยี นต้องมีความขยนั หมั่นฝกึ ฝนบทเรียนอยเู่ สมอทัง้ ก่อนและหลังเรียน 3. ผเู้ รียนต้องมีความกล้าท่ีจะถามเมื่อสงสัยทงั้ ในห้องและนอกหอ้ งเรยี นกับครผู ู้สอน
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 86 เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 11 ตอนท่ี 1 จงใส่เครอื่ งหมาย หนา้ ขอ้ ที่ถกู และ หนา้ ขอ้ ที่ผดิ .......... 1. การสรา้ ง Macro มีจุดประสงค์เพือ่ ใช้งานแทนการทำงานที่ซบั ซ้อน และมีการใช้งานเปน็ ประจำ .......... 2. Macro สร้างและใชง้ านไดเ้ ฉพาะใน Workbook เดียวเทา่ นน้ั .......... 3. การต้งั ช่อื Macro ควรเว้นช่องวา่ งเพ่ือใหส้ ะดวกต่อการอ่าน .......... 4. Click mouse ที่ปุ่ม เพื่อจบข้ันตอนการทำงานหลังจากสรา้ ง Macro เรยี บรอ้ ยแลว้ .......... 5. เมื่อสร้าง Macro แลว้ จะไม่สามารถลบทิง้ ได้ .......... 6. การสร้าง Macro ทำไดโ้ ดยไปท่ี Tools>Macro>Record New Macro .......... 7. เพ่อื ความสะดวกในการใชง้ านสามารถสร้าง Shortcut key ในการเรยี กใช้ Macro ได้ .......... 8. วธิ ยี กเลิกป่มุ Macro บนแถบเคร่ืองมือ คือใช้ Mouse Drag ปุม่ นนั้ ออกจากแถบเคร่ืองมือ .......... 9. การสร้าง Macro สามารถสร้างเปน็ ปุ่มไวใ้ น Worksheet ได้ .......... 10. การบนั ทึก Macro จะบันทึกเฉพาะการกระทำที่มีผลตอ่ ข้อมลู เท่านัน้
20204-2103-โปรแกรมตารางงาน.....หน้า 87 ตอนที่ 2 จงทำเคร่ืองหมาย ลอ้ มรอบข้อท่ีถูกตอ้ ง 1. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเป็นวิธีการสร้าง Macro ขึน้ มาใชง้ าน ก. Tools>Macro>Macros... ข. Tools>Macro>Record New Macro ค. View>Toolbars>Customize ง. View>Toolbars>Minimize 2. ขอ้ ใดต่อไปน้เี ป็นการเรียก Macro มาใช้งาน ก. Tools>Macro>Macros... ข. Tools>Macro>Record New Macro ค. View>Toolbars>Customize ง. Customize>Modify>Assign Macro 3. ข้อใดตอ่ ไปน้ีเป็นการกำหนดป่มุ หนา้ จอขึน้ มาใช้งาน ก. Tools>Macro>Macros... ข. Tools>Macro>Record New Macro ค. View>Toolbars>Customize ง. Customize>Modify>Assign Macro 4. ปุ่มใดท่เี ม่ือต้องการจบขนั้ ตอนการบนั ทึกหลังจากการสร้าง Macro ก. ข. ค. ง. 5. ข้อใดตอ่ ไปน้ีกล่าวถึงการยกเลิกปุ่มทสี่ รา้ งได้อย่างถกู ต้อง ก. Click mouse ท่ปี ุ่มเครื่องมอื แลว้ กด Delete ข. Click mouse ท่ปี ุม่ เครอ่ื งมือแล้วกด Insert ค. Click mouse ท่ปี ุ่มเคร่ืองมือแล้ว Drag ออกจาก Toolbar ง. Click mouse ทปี่ มุ่ เคร่ืองมอื แลว้ Close ออก 6. Personal Macro Workbook คอื อะไร ก. การจดั เก็บ Macro ไวใ้ น Worksheet ข. การจดั เกบ็ Macro ใหใ้ ช้งานได้ทุกๆ Workbook ค. การจัดเกบ็ Macro ใน Workbook ท่ใี ชง้ านอยใู่ นปัจจุบนั ง. การจดั เก็บ Macro ใน Workbook ทจี่ ะสร้างขนึ้ มาใหม่อัตโนมัติ 7. การกำหนดประเภทของ Workbook ที่ใช้จดั เกบ็ Macro แบ่งไดก้ ี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 8. ข้อใดตอ่ ไปนตี้ งั้ ชื่อ Macro ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ก. Format_Text ข. 1stMacro ค. Format-Text ง. Form*Text 9. หากตอ้ งการแก้ไขการทำงานของ Macro ท่ีสรา้ งมาแล้ว ต้องทำอยา่ งไร ก. ไมส่ ามารถทำได้ ข. ต้องทำการบันทึกใหม่อีกครงั้ ค. Click mouse ดา้ นขวาแลว้ เลอื ก Edit ง. เลอื กเมนู Tools>Macro>Macros 10. คียล์ ดั ทเ่ี รยี กใชง้ าน Macro คอื ก. Alt+F8 ข. Alt+F11 ค. Ctrt+Shift+B ง. Ctrl+Shift+Z
ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ดว้ ยแฟม้ สะสมผลงาน (Portfolio) ประเมินจากผลงานท่นี กั เรียนจดั ทำและนำมาจัดเก็บไวใ้ นแฟ้ม แฟม้ น้นั จะประกอบดว้ ย 1. ปก 2. คำนำ 3. ข้อมลู สว่ นตวั 4. สารบัญ 5. จุดประสงค์ 6. เกณฑ์การประเมินงาน 7. งานทั้งหมด 8. แบบทดสอบต่างๆ 9. งานท่มี อบหมาย/ใบงาน 10. การประเมนิ ตนเอง/เพ่ือน/ผู้สอน/ผปู้ กครอง 11. ความคิดเห็นตอ่ วชิ า ตวั อยา่ งขอ้ มลู สว่ นตวั 1. ชอื่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. เกดิ วันท่ี…………………………เดือน…………………………………………………………พ.ศ. ………………….……… 3. ช่อื บดิ า………………………………………………….……………ชอื่ มารดา………………………………………………… พ…่ี …………………………………………คน น้อง…………………………...………………คน 4. ที่อยู่………………………………………………………..………………………………………………………………………….. 5. วิชาท่ีชอบ……………………………………………………………………………………………………………………………. 6. กจิ กรรมทช่ี อบ………………………………………………………………………………….…………………………………. 7. สิ่งทีป่ ระทับใจในการเรยี น…………………………………………………………….……………………………………... 8. รางวลั ท่ีเคยได้รับ………………………………………………………………………………………………………..………. 9. ความสามารถพิเศษ……………………………………………………………………………………………………….…….. 10. อุดมคตขิ องการทำงาน………………………………………………………………………………………………………… 11. ผลงานที่สะสม…………………………………………………………………………………………………………………… หมายเหตุ : สะสมงานไดท้ ุกหนว่ ย นักเรียนนำผลงานที่พอใจใสแ่ ฟม้ สะสมไว้
ภาคผนวก ข แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบคุ คล ที่ พฤตกิ รรม การแสดง การตอบ การยอม ทำงาน ความสนใจ ความ คำถาม รบั ฟงั คน ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย หมาย คดิ เหน็ อนื่ เหตุ ชอ่ื -สกลุ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 เกณฑก์ ารวดั ผล ให้คะแนนระดบั คุณภาพของแต่ละพฤตกิ รรมดังน้ี ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไมห่ ลับ ไมพ่ ูดคยุ ในชัน้ มคี ำถามทด่ี ี ตอบคำถามถกู ต้อง ทำงานสง่ ครบตรงเวลา ดี = 3 การแสดงออกอย่ใู นเกณฑ์ประมาณ 70% ปานกลาง= 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 50% ปรับปรุง = 1 เขา้ ช้ันเรยี น แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไม่ตรงเวลา ลงชอื่ ……………………………….ผสู้ งั เกต (……………………………….) …………/…………/………..
ภาคผนวก ค แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ กลมุ่ ท…ี่ ………..ชนั้ /แผนก……………… พฤตกิ รรม ลำดบั ชอ่ื -สกลุ ความ การแสดง การรบั ฟงั ความตง้ั ใจ การมสี ว่ น รวม ที่ สมาชกิ กลมุ่ รว่ มมอื ความ ความ ในการ รว่ มในการ คดิ เหน็ คดิ เหน็ ทำงาน อภิปราย 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 90-100% หรอื ปฏิบตั ิบอ่ ยคร้งั ดีมาก = 4 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรือปฏิบัติบางครง้ั ดี = 3 ประสทิ ธภิ าพอยูใ่ นเกณฑ์ 50-69% หรอื ปฏิบัติครงั้ เดยี ว ปานกลาง = 2 ประสิทธิภาพตำ่ กวา่ เกณฑ์ 50% หรือไมป่ ฏิบตั ิเลย ปรับปรุง = 1 ลงชอื่ ………………………………ผสู้ งั เกต (…………………………….) ………./……………/………
ภาคผนวก ง แบบประเมนิ การนำเสนอผลงานรายบคุ คล พฤตกิ รรม บคุ ลกิ มารยาท การใช้ วธิ กี าร เนอื้ หาที่ รวม การแตง่ ในการพดู ภาษา นำเสนอ นำเสนอ กาย ชอื่ -สกลุ 10 10 10 10 10 50 1. 2. 3. 4. 5. 6. ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ …………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………... เกณฑผ์ า่ น 25 คะแนน เกณฑก์ ารสงั เกต : มคี วามเชอ่ื ม่นั ในตนเองแต่งกายสะอาดถูกระเบยี บเส้ือไมห่ ลุดลุ่ยลอยชาย บคุ ลกิ การแต่งกาย : มองหน้าและสบตาผ้ฟู ังไมเ่ หนบ็ แนมเสียดสผี ู้อนื่ มารยาทในการพูด : ชัดเจนตามหลกั ภาษาตัวรลคำควบกลำ้ ถอ้ ยคำขอ้ ความสภุ าพ การใช้ภาษา : นา่ สนใจหลากหลายเชน่ ใชแ้ ผน่ ใสรปู ภาพตัง้ คำถามเล่นเกมไมเ่ ย่นิ เยอ้ วิธกี ารนำเสนอ : มีสาระสำคญั ตรงกบั หวั ขอ้ เรื่องใชเ้ วลาตามทก่ี ำหนด เนอ้ื หาท่ีนำเสนอ ลงชอ่ื ……………………………….ผสู้ งั เกต (……………………………….) …………/…………/………..
ภาคผนวก จ แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ชอ่ื ผปู้ ระเมนิ /กลมุ่ ประเมนิ ………………………………………………………………………………………………………………………. ชอื่ กลมุ่ รบั การประเมนิ …………………………………………………………………………………………………………………………… ประเมนิ ผลครงั้ ท่ี…………………....…….. วนั ที่ ……………..…. เดอื น ……………………………..………. พ.ศ. ……...….…... เรอื่ ง……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ท่ี คณุ ลกั ษณะ/พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ระดบั พฤตกิ รรม คะแนนทไ่ี ด้ 1 ความมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ ใชไ้ ด้ ควรปรบั ปรงุ แสดงกริ ิยาทา่ ทางสภุ าพต่อผ้อู ื่น =1 = 0 ใหค้ วามร่วมมือกับผู้อน่ื 2 ความมวี นิ ยั ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และข้อตกลง ต่างๆ ของวิทยาลัย ได้แก่ แต่งกายถูกต้องตาม ระเบียบ และข้อบงั คบั ตรงตอ่ เวลา 3 ความรบั ผดิ ชอบ มกี ารเตรียมความพร้อมในการเรยี นและการ ปฏิบตั ิงาน ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความตัง้ ใจ มคี วามเพียรพยายามในการเรียนและการ ปฏิบัตงิ าน 4 ความเชอื่ มนั่ ในตนเอง กล้าแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล 5 ความสนใจใฝร่ ู้ ซักถามปัญหาขอ้ สงสยั 6 ความรกั สามคั คี รว่ มมือในการทำงาน 7 ความกตญั ญกู ตเวที มีสมั มาคารวะต่อครู-อาจารย์อย่างสมำ่ เสมอ ทง้ั ต่อ หน้าและลบั หลงั รวมคะแนนทไี่ ดท้ งั้ หมด = ……………คะแนน หมายเหตุ : แบบประเมินนี้ใชแ้ บบเดียวกันทัง้ ครแู ละประธานกลุ่ม และประเมินคณุ ลกั ษณะดังกล่าวตลอดภาคการศึกษา
ภาคผนวก ฉ แบบรวมคะแนนการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ชอ่ื -สกลุ ………………………………………………………………………………………....รหสั ประจำตวั ………………………………… ระดบั ชนั้ ………………..กลมุ่ ………………...แผนกวชิ า…………………….……………………………..………………………………… ครง้ั ทป่ี ระเมนิ 1 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 คะแนนรวม หารจำนวนครั้งที่ประเมิน คะแนนที่ได้ คะแนนทไี่ ด้ 1. ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ 2. ความมีวินัย 3. ความรับผดิ ชอบ 4. ความเชื่อมนั่ ใน ตนเอง 5. ความสนใจใฝร่ ู้ 6. ความรักสามัคคี 7. ความกตญั ญกู ตเวที ลงชอ่ื …………………………….ผปู้ ระเมนิ (…………………………….) .………/…………/………. หมายเหตุ : แบบรวมคะแนนนีใ้ ชแ้ บบเดียวกันท้ังครแู ละประธานกลุ่ม
ภาคผนวก ช แบบสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ภาคเรยี นท่ี…………………ปกี ารศกึ ษา…………………. รหสั วชิ า……………………………………............................. ความ ีมม ุนษย ัสม ัพน ์ธ ความ ีมวินัย ชอื่ วชิ า………………………………………............................ ความรับ ิผดชอบ ระดบั ชนั้ ……………………………………............................ ความเช่ือม่ันในตนเอง แผนก/กลมุ่ …………………………….…............................. ความสนใจใฝ่ ู้ร ความรักสามัคคี ความกตัญ ูญกตเว ีท รวม (ใน ่สวนของผู้สอน) รวม (ใน ่สวนของประธานก ุ่ลม) รวมคะแนน ่ีทได้จาก ้ัทง 2 ่สวน ลำดับ รหสั ชอ่ื -สกลุ 2 1 3 1 1 1 1 10 10 20 ท่ี ประจำตวั
สรปุ บันทกึ หลงั การสอน ชอ่ื ผสู้ อนนางสาวพนดิ า นอ้ ยศรี รหสั 20204-2013 วชิ า โปรแกรมตารางงาน ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2566 ระดบั ชน้ั ปวช. 2 วนั /เดอื น/ปี เวลา บนั ทกึ ความคดิ เหน็ หมายเหตุ
วนั /เดอื น/ปี เวลา บันทกึ ความคดิ เหน็ หมายเหตุ
วนั /เดอื น/ปี เวลา บันทกึ ความคดิ เหน็ หมายเหตุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117