Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวอย่างรายงานเชิงวิเคราะห์

ตัวอย่างรายงานเชิงวิเคราะห์

Published by misadeathnote.tp, 2021-02-22 07:22:41

Description: พฤติกรรมการเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ.2558

Search

Read the Text Version

หนี้สินของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2558 I หน้ีสินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 หน่วยงานเจ้าของเร่ือง กลมุ่ ง�นวิเคร�ะห์และพย�กรณ์สถติ เิ ชิงเศรษฐกิจ สำ�นกั สถติ พิ ย�กรณ์ ส�ำ นักง�นสถิตแิ หง่ ช�ติ โทรศพั ท์ 0 2141 7489 โทรส�ร 0 2143 8130 ไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : forecast.eco@nso.go.th

II หน้สี ินของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 หน่วยงานท่ี ส�ำ นักสถติ ิพยากรณ์ เผยแพร่ สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษา อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชน้ั 2 ถนนแจง้ วัฒนะ เขตหลกั สี่ กทม 10210 โทรศัพท์ 0 2141 7489 โทรสาร 0 2143 8132 ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์ : forecast.eco@nso.go.th ปีท่ีจัดพิมพ์ 2560 จำ�นวนพิมพ์ 500 เล่ม จัดพิมพ์โดย

หนส้ี นิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 III ค�ำน�ำ ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้จัดท�ำรายงานเชิงวิเคราะห์ เรื่อง หนี้สินครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 โดยรายงานฉบับน้ีได้ท�ำการปรับปรุงมาจากรายงานเร่ืองพฤติกรรมการเป็นหน้ีของ ครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2554 ซ่ึงฉบับน้ีได้น�ำเสนอข้อมูลลักษณะท่ัวไปทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ของครัวเรือนเกษตรในภาพรวม รวมไปถึงสถานการณ์การเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตรและศึกษา ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเป็นหน้ีของครัวเรือนเกษตร โดยใช้ข้อมูลจากการส�ำรวจภาวะเศรษฐกิจ และสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2550 – 2558 และแสดงให้เห็นถึงปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเป็นหนี้ ของครัวเรือนเกษตร ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ส�ำหรับไปใช้ในการประกอบการวิเคราะห์และวางแผน นโยบายในการ แก้ไขปัญหาหนี้สินของครัวเรือนเกษตร ส�ำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ กรกฎาคม 2560

IV หนสี้ ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558

หนส้ี นิ ของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 V สารบญั หนา้ III ค�ำน�ำ V สารบัญ VII สารบัญตาราง IX สารบัญแผนภมู ิ XI สารบญั ภาคผนวก 1 บทน�ำ 2 วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา 2 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 2 ขอบเขตการศึกษา 3 ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 4 กรอบแนวคดิ 5 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ 6 บทที่ 1 ครวั เรอื นเกษตร 7 1.1 ลักษณะทัว่ ไปของครวั เรอื นเกษตร 7 1.1.1 การกระจายตวั ของครวั เรอื นเกษตร 1.1.2 ลกั ษณะทางประชากรและโครงสรา้ งทวั่ ไปของครัวเรือนเกษตร 8 1.2 ลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ของครวั เรือนเกษตร 1.2.1 รายไดข้ องครัวเรอื นเกษตร 10 1.2.2 คา่ ใช้จา่ ยของครวั เรอื นเกษตร 1.2.3 ทรัพย์สินของครวั เรือนเกษตร 10 1.2.4 หนส้ี นิ ของครัวเรือนเกษตร บทที่ 2 ลักษณะของครวั เรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี 10 2.1 ลักษณะทัว่ ไปของครวั เรือนเกษตรท่ีเปน็ หน้ี 2.1.1 ครัวเรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หน้ี 11 2.1.2 ลักษณะทัว่ ไปของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรที่เปน็ หนี้ 2.2 ลักษณะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตรท่ีเปน็ หนี้ 12 2.2.1 รายไดข้ องครัวเรือนเกษตรทเี่ ป็นหน้ี 2.2.2 ค่าใช้จา่ ยของครัวเรือนเกษตรทีเ่ ปน็ หน้ี 13 2.2.3 ทรพั ย์สนิ ของครัวเรอื นเกษตรที่เปน็ หน้ี 14 2.2.4 การเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ และพน้ื ทท่ี �ำการเกษตรของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ 14 15 17 17 18 19 19

VI หนสี้ ินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 หน้า 20 สารบญั (ตอ่ ) 20 24 2.3 หน้ีสนิ ของครวั เรือนเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ 26 2.3.1 แหล่งเงนิ กู้ 26 2.3.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการกูย้ ืม 27 28 2.4 ความสามารถในการช�ำระหน้ี 29 2.4.1 ความสามารถในการช�ำระหน้ี (ดา้ นรายได้) 34 2.4.2 ความสามารถในการช�ำระหนี้ (ด้านทรัพยส์ ิน) 35 36 บทที่ 3 ปจั จยั ทมี่ ีอิทธิพลตอ่ การเป็นหน้ขี องครัวเรือนเกษตร 36 3.1 นิยามท่ใี ชใ้ นการศึกษา 38 3.2 ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ 38 3.3 การแปรผลการวิเคราะห์ 41 3.4 ผลการวเิ คราะห์ 43 3.4.1 ทดสอบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรอิสระ 3.4.2 ทดสอบแบบจ�ำลอง 3.4.3 การแปลผลการวิเคราะห์ 3.5 สรุปผลการวิเคราะห์ ภาคผนวก

หน้ีสินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 VII สารบญั ตาราง หน้า 7 ตาราง 1 ครวั เรอื นเกษตร จ�ำแนกตามประเภทของครวั เรอื น พ.ศ. 2550 - 2558 7 ตาราง 2 ครวั เรอื นเกษตร จ�ำแนกตามพนื้ ท่ี พ.ศ. 2550 – 2558 8 ตาราง 3 ครวั เรอื นเกษตร จ�ำแนกตามเพศ อายุ และระดบั การศกึ ษาของหวั หนา้ ครวั เรอื น 9 พ.ศ. 2550-2558 10 ตาราง 4 คา่ เฉลยี่ จ�ำแนกตามโครงสรา้ งทวั่ ไปของครวั เรอื นเกษตร พ. ศ. 2550 - 2558 11 ตาราง 5 รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตร จ�ำแนกตามแหลง่ ทม่ี าของรายได้ พ.ศ. 2550 – 2558 12 ตาราง 6 คา่ ใชจ้ า่ ยเฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตร 12 จ�ำแนกตามประเภทของคา่ ใชจ้ า่ ย พ.ศ. 2550 - 2558 15 ตาราง 7 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตร จ�ำแนกตามประเภททรพั ยส์ นิ พ.ศ. 2550 - 2558 16 ตาราง 8 สดั สว่ นของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนแี้ ละมลู คา่ หนส้ี นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื น 17 ของครวั เรอื นเกษตรทง้ั สน้ิ จ�ำแนกตามพน้ื ที่ พ.ศ. 2550 - 2558 17 ตาราง 9 ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนแี้ ละมลู คา่ หนสี้ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตร 18 ทเ่ี ปน็ หน้ี จ�ำแนกตามพนื้ ท่ี พ.ศ. 2550 - 2558 19 ตาราง 10 ครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามเพศ อายุ และระดบั การศกึ ษา ของหวั หนา้ ครวั เรอื น พ.ศ. 2550 - 2558 21 21 ตาราง 11 คา่ เฉลยี่ จ�ำแนกตามโครงสรา้ งทวั่ ไปของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ พ.ศ. 2550 - 2558 22 ตาราง 12 รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี จ�ำแนกตามแหลง่ ทม่ี าของรายได้ พ.ศ. 2550 - 2558 ตาราง 13 คา่ ใชจ้ า่ ยเฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามประเภทของคา่ ใชจ้ า่ ย พ.ศ. 2550 - 2558 ตาราง 14 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามประเภททรพั ยส์ นิ พ.ศ. 2550 – 2558 ตาราง 15 ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี จ�ำแนกตามแหลง่ ทม่ี าของเงนิ กู้ พ.ศ. 2550 – 2558 ตาราง 16 ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามแหลง่ เงนิ กใู้ นระบบ พ.ศ. 2550 - 2558 ตาราง 17 ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี จ�ำแนกตามแหลง่ ทม่ี าของเงนิ กแู้ ละภาค พ.ศ. 2550 – 2558

VIII หนี้สนิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 หนา้ 23 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) 24 25 ตาราง 18 ครัวเรอื นเกษตรท่ีเปน็ หน้ี จ�ำแนกตามแหลง่ เงินกใู้ นระบบและภาค 26 พ.ศ. 2550 – 2558 27 ตาราง 19 มลู คา่ หนี้สินเฉลยี่ ตอ่ ครัวเรือนและรอ้ ยละของมูลค่าหนส้ี ินของครัวเรอื นเกษตร 27 ที่เป็นหนี้ จ�ำแนกตาม วัตถุประสงค์ของการกูย้ ืม พ.ศ. 2550 - 2558 36 40 ตาราง 20 มลู คา่ หนีส้ ินเฉล่ียต่อครัวเรอื นและรอ้ ยละของมลู ค่าหน้สี ินของครัวเรือนเกษตร ท่ีเป็นหนี้ จ�ำแนกตามวัตถุประสงคข์ องการกูย้ ืมและภาค พ.ศ. 2550 – 2558 ตาราง 21 มูลคา่ หนส้ี ิน รายไดท้ ้งั สน้ิ และสดั ส่วนมูลคา่ หนส้ี ินต่อรายได้ทัง้ สนิ้ ของครวั เรือนเกษตรท่ีเป็นหนี้ พ.ศ. 2550 - 2558 ตาราง 22 รายไดท้ ้ังสินเฉล่ยี ตอ่ เดือนตอ่ ครัวเรือน มูลคา่ หนสี้ ินเฉลี่ยต่อครวั เรือน และสดั สว่ นมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทง้ั สิ้นของครวั เรือนเกษตรทเี่ ป็นหนี้ จ�ำแนกตามระดบั รายได้ท้งั สิ้นของครัวเรอื น พ.ศ. 2558 ตาราง 23 มลู ค่าหนส้ี ิน มูลค่าทรัพยส์ ิน และสัดส่วนมลู คา่ หนส้ี นิ ตอ่ มูลคา่ ทรพั ยส์ นิ ของครวั เรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี พ.ศ. 2550 - 2558 ตาราง 24 สรปุ ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา ตาราง 25 ค่าสัมประสทิ ธ์ิโลจสิ ติค ค่าความคลาดเคลอ่ื นมาตรฐานของคา่ สัมประสิทธิ์และ ค่า Odds Ratio ของตวั แบบการวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสตกิ สท์ ีเ่ หมาะสม

หนสี้ ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 IX สารบัญแผนภมู ิ หน้า 1 แผนภมู ิ 1 อัตราการขยายตวั ของ GDP มูลคา่ ทีแ่ ท้จริง และโครงสรา้ งการผลติ ณ ราคาประจ�ำปจี �ำแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2554 - 2558 14 แผนภมู ิ 2 หนสี้ นิ ครัวเรอื นเฉล่ียตอ่ ปีและสดั สว่ นหน้สี ินครวั เรือนเฉล่ียต่อ GDP 19 พ.ศ. 2550 - 2558 20 แผนภมู ิ 3 ครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี และมูลคา่ หนีส้ ินเฉลีย่ ของครัวเรอื เกษตรท่เี ป็นหน้ี จ�ำแนกตามการเปน็ เจา้ ของทดี่ นิ พ.ศ. 2556 และ 2558 แผนภมู ิ 4 ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ และมลู คา่ หนส้ี นิ เฉลยี่ ของครวั เรอื นเกษตรที่เปน็ หน้ี จ�ำแนกตามจ�ำนวนพื้นทท่ี �ำการเกษตร พ.ศ. 2556 และ 2558

X หน้สี ินของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558

หนส้ี ินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 XI สารบญั ภาคผนวก หน้า 44 ตาราง ผ1 พคร.ศวั .เร2ือ5น5น6อแกลภะาค2เ5ก5ษ8ตรและครวั เรอื นเกษตร จ�ำแนกตามจงั หวัด 49 ตาราง ผ2 รายไดท้ งั้ สน้ิ เฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น และรายไดป้ ระจ�ำตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น 54 จ�ำแนกตามการเปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตรและจงั หวดั พ.ศ. 2556 และ 2558 59 ตาราง ผ3 คา่ ใชจ้ า่ ยทง้ั สน้ิ เฉลยี่ ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น และคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ อปุ โภคบรโิ ภคเฉลย่ี 64 ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น จ�ำแนกตามการเปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตรและจงั หวดั พ.ศ. 2556 และ 2558 69 ตาราง ผ4 รายไดท้ ง้ั สน้ิ เฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น รายไดป้ ระจ�ำเฉลยี่ ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น 74 คา่ ใชจ้ า่ ยทงั้ สนิ้ เฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น และคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ อปุ โภคบรโิ ภคเฉลยี่ 79 ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามจงั หวดั พ.ศ. 2556 – 2558 84 ตาราง ผ5 สดั สว่ นครวั เรือนเกษตรท่ีเปน็ หนี้ มูลคา่ หนี้สนิ เฉลยี่ ของครัวเรอื นเกษตรทัง้ สน้ิ และมูลค่าหนีส้ นิ เฉลย่ี ของครัวเรอื นเกษตรทีเ่ ป็นหน้ี จ�ำแนกตามจงั หวดั พ.ศ. 2556 – 2558 ตาราง ผ6 มูลค่าหนีส้ นิ เฉลยี่ ของครัวเรือนเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามแหล่งเงนิ กู้ และจังหวัด พ.ศ. 2556 - 2558 ตาราง ผ7 มลู คา่ หนส้ี นิ เฉลยี่ ของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี และรอ้ ยละของมลู คา่ หนส้ี นิ จ�ำแนกตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื และจงั หวดั พ.ศ. 2558 ตาราง ผ8 รายไดท้ ้งั สิ้นเฉลี่ยตอ่ เดือนตอ่ ครัวเรอื นเกษตรท่ีเป็นหนี้ มูลคา่ หนสี้ ินเฉลย่ี ของ ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ และสดั สว่ นหนส้ี นิ ตอ่ รายไดข้ องครวั เรอื นเกษตรทเี ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามจังหวดั พ.ศ. 2556 และ 2558 ตาราง ผ9 คา่ สัมประสิทธ์ิสหสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปรอิสระ

XII หนส้ี ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 ขอบคณุ ภาพจาก หนงั สือพมิ พฐ์ านเศรษฐกจิ

หนี้สนิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 1 บทนำ� ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศเกษตรกรรมมาอย่างยาวนาน เน่ืองจากมีสภาพ ภูมิประเทศ ทรัพยากร ส่ิงแวดล้อม และภูมิอากาศท่ีเอื้ออ�ำนวยต่อการท�ำการเกษตร ประชากร ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพทางการเกษตร จนในระยะหลังที่ประเทศไทยเร่ิมมี นโยบายในการเปลี่ยนผ่านจากประเทศเกษตรกรรมพัฒนาไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม มากขนึ้ สง่ ผลใหส้ ดั ส่วนของครวั เรือนท่ีทำ� การเกษตรในประเทศไทยปี 2558 อยู่ทร่ี อ้ ยละ 16.3 ซ่ึง พบว่ามีสัดส่วนที่ลดลงมากเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2550 ท่ีมีถึงร้อยละ 23.1 ของครัวเรือนท้ังหมด ซ่ึงส่วนหนึ่งอาจเป็นผลจากการลงทุนของรัฐในภาคเศรษฐกิจอื่นเพ่ิมสูงข้ึน ก�ำลังแรงงานในภาค การเกษตรออกไปแสวงหางานในอาชีพอื่นมากขนึ้ อีกทงั้ การน�ำเทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยในการด�ำเนิน การด้านการเกษตรเพิ่มข้ึนท�ำให้มีการใช้แรงงานน้อยลงและมีความเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น จึงส่งผลให้ ครวั เรือนท่ที �ำการเกษตรมสี ดั สว่ นท่ลี ดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง เมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของ GDP ในภาคการเกษตร ก็พบว่ามีอัตราการ ขยายตวั ลดลงอยา่ งตอ่ เนือ่ งเช่นกนั โดยปี 2557 อัตราการขยายตวั ลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 0.6 ในขณะท่ีปี 2558 มอี ัตราการขยายตวั ที่ลดลงจากปี 2557 ถงึ รอ้ ยละ 5.7 เช่นเดียวกบั โครงสรา้ ง GDP ของภาคการเกษตรท่ีมีสัดส่วนลดลงจากร้อยละ 10.1 ในปี 2557 เหลือร้อยละ 8.7 ในปี 2558 โดยการลดลงดังกล่าวส่วนหน่ึงอาจเป็นผลมาจากภัยธรรมชาติ ซ่ึงเป็นผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปริมาณน้�ำฝนที่น้อยลงในบางพื้นที่ ประกอบกับฝนทิ้งช่วง เป็นต้น นอกจากน้ันในส่วนของการท�ำประมง ยังพบกับปัญหาเก่ียวกับการท�ำประมงผิดกฎหมายอีกด้วย แผนภมู ิ 1 อตั ราการขยายตวั ของ GDP มลู คา่ ทแี่ ท้จรงิ และโครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจำ� ปี จ�ำแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2554 - 2558 รอยละ 88.5 88.7 89.9 อัตราการขยายตวั 100.0 6.3 88.4 2.7 -0.6 91.3 8 80.0 0.7 11.5 11.3 10.1 6 60.0 4 2 40.0 0 8.7 -2 20.0 11.6 -4 0- -5.7 -6 -20.0 2554 2555 2556 2557 2558 ป โครงสรา งการผลติ ณ ราคาประจาํ ป ของภาคเกษตร โครงสรา งการผลิต ณ ราคาประจาํ ป ของนอกภาคเกษตร อัตราการขยายตัวของ GDP มลู คาทีแ่ ทจริง ภาคเกษตร ทมี่ า: ส�ำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

2 หนสี้ นิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 ดว้ ยนโยบายภาครฐั ทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง ภาวะเศรษฐกจิ โลกทมี่ แี นวโนม้ ชะลอตวั รวมถงึ ความผนั ผวนของธรรมชาติ สง่ ผลใหเ้ กษตรกรสว่ นใหญข่ องประเทศตกอยภู่ ายใตภ้ าวะหนส้ี นิ ซงึ่ เปน็ ปัญหาท่ีหยั่งรากลึกในสังคมไทยมายาวนาน และเป็นปัญหาท่ีไม่ควรมองข้าม ในรายงานฉบับน้ีจึง ได้ท�ำการศกึ ษาลกั ษณะทั่วไป ฐานะทางเศรษฐกจิ ของครัวเรอื นเกษตร หนี้สนิ และศกึ ษาถึงปัจจัย ท่ีมีอิทธิพลต่อการเป็นหน้ีของครัวเรือนเกษตร เพ่ือใช้ประกอบการก�ำหนดนโยบายของภาครัฐ ให้ สามารถแก้ปญั หาหนสี้ ินครัวเรอื นเกษตรไดอ้ ยา่ งเหมาะสม วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพอื่ ศกึ ษาถงึ ลักษณะทั่วไปของครัวเรอื นเกษตร และครวั เรอื นเกษตรท่เี ปน็ หนี้ 2. เพื่อศกึ ษาถึงลักษณะของการกอ่ หนขี้ องครัวเรือนเกษตร 3. เพ่อื ศกึ ษาถึงปัจจยั ทม่ี อี ิทธิพลตอ่ การเปน็ หนขี้ องครัวเรอื นเกษตร ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ประกอบการวางแผนนโยบาย เพอ่ื ลดภาระหนส้ี นิ ของครวั เรอื นเกษตร 2. นำ� ผลการศกึ ษาไปใชใ้ นการวางแผนแก้ปัญหาหนีส้ ินของครัวเรือนเกษตร ขอบเขตการศกึ ษา ในการศึกษาลักษณะท่ัวไปของครัวเรือนเกษตรและครัวเรือนเกษตรที่เป็นหน้ี รวมถึง ลกั ษณะของการกอ่ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตร ใชข้ อ้ มลู ครวั เรอื นเกษตรจากขอ้ มลู โครงการสำ� รวจภาวะ เศรษฐกจิ และสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2550 - 2558 และมกี ารถ่วงน้�ำหนัก ส่วนการศึกษาปจั จัยที่ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตร ใชอ้ มลู ครวั เรอื นเกษตรจากขอ้ มลู โครงการสำ� รวจภาวะ เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ.2558 โดยมีครัวเรือนเกษตรที่เป็นตัวอย่างจ�ำนวน 7,234 ครัวเรือน และในการศึกษาครง้ั นี้ไมม่ กี ารถ่วงน�ำ้ หนักข้อมูลตวั อย่าง (Un-weighted Data) ทฤษฎีและงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง ความหมายของหนสี้ นิ • พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศกั ราช 2525 ใหน้ ยิ ามหนส้ี นิ คอื เงนิ ทผ่ี หู้ นงึ่ ตดิ คา้ งอยซู่ ง่ึ จะตอ้ งใชใ้ หแ้ กอ่ กี ผหู้ นง่ึ • พระยาเทพวทิ รุ (บญุ ชว่ ย วณกิ กลุ ) (2545) กลา่ ววา่ คำ� วา่ “หน”้ี ทใี่ ชใ้ นประมวลกฎหมาย แพง่ และพาณชิ ยต์ รงกบั คำ� วา่ obligation ซง่ึ มผี แู้ ปลแตกตา่ งกนั เดมิ มผี แู้ ปลวา่ ความจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ตอ่ มาแปลวา่ หนา้ ทที่ างแพง่ ตอ่ มาอกี สมยั หนง่ึ แปลวา่ ณห่ี รอื ความเปน็ ณี่ และตอ่ มามผี แู้ ปลวา่ พนั ธรรม ในทสี่ ดุ จงึ กลบั มาใชค้ ำ� วา่ “หน”ี้

หนส้ี ินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 3 • คำ� วา่ “หน”ี้ แมจ้ ะเปน็ คำ� ไทย แตค่ วามหมายและแนวความคดิ ในเรอ่ื งหนตี้ ามประมวล กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ไดน้ ำ� เอาแนวความคดิ เรอื่ งหนมี้ าจากระบบกฎหมายซวี ลิ ลอว์ ซงึ่ มรี ากฐาน มาจากกฎหมายโรมนั หนคี้ ำ� นจี้ งึ เปน็ คำ� แปลของสทิ ธชิ นดิ หนง่ึ เรยี กกนั ในกฎหมายโรมนั วา่ obligation ถา้ จะแปลสนั้ ๆ ตามถอ้ ยคำ� กค็ งแปลไดว้ า่ เปน็ “ภาระ” หรอื “หนา้ ท”ี่ หรอื ความเปน็ หน้ี ซง่ึ เปน็ การมองจาก ทางดา้ นลกู หน้ี โดยเปน็ ผมู้ คี วามผกู พนั จะตอ้ งชำ� ระหน้ี หากมองทางดา้ นเจา้ หนี้ “หน”้ี ถอื วา่ เปน็ สนิ ทรพั ย์ (asset) อนั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของกองทรพั ยส์ นิ ของเจา้ หน้ี แตเ่ มอื่ มองทางดา้ นลกู หนี้ “หน”้ี กเ็ ปน็ ความรบั ผดิ ทางดา้ นการเงนิ ของลกู หน้ี (โสภณ รตั นากร, 2551: 5) งานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง พิชญา ผลปราชญ์ (2553) ศึกษาหนสี้ ินของครัวเรือนเกษตรในต�ำบลหนองแวง อ�ำเภอ วัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว จากการสำ� รวจกลมุ่ ตวั อยา่ งจำ� นวน 50 คน พบวา่ หวั หนา้ ครวั เรอื น เกษตรสว่ นใหญม่ กี ารศกึ ษาระดบั ประถม ไมม่ อี าชพี รอง ครวั เรอื นเกษตรทง้ั หมดทำ� นาเปน็ อาชพี หลกั ส่วนใหญ่มีที่ดินขนาด 26 - 35 ไร่ โดยที่ดินท้ังหมดใช้ท�ำการเกษตร และรายได้จากการท�ำการ เกษตรมีน้อยกว่าค่าใช้จ่ายในการท�ำการเกษตร รวมถึงรายได้รวมทั้งหมดน้อยกว่าค่าใช้จ่ายในการ ดำ� รงชีวิต แตค่ าดวา่ จะสามารถช�ำระหน้ีได้ทง้ั หมดจากรายได้ในปนี ั้น แต่ยงั มีแนวโนม้ การกยู้ ืมเงนิ เพ่ือลงทุนท�ำการเกษตรในปีถัดไป เน่ืองจากการขาดทุนจากการขายผลผลิตทางการเกษตร และ รายไดไ้ ม่เพียงพอกับคา่ ใช้จา่ ยในครวั เรอื น โดยครัวเรือนสว่ นใหญ่เป็นหนใี้ นระบบซง่ึ นิยมกู้ยมื เงิน จาก ธ.ก.ส. ส�ำหรับครัวเรือนท่ีเป็นหนนี้ อกระบบ เหตุเพราะไม่สามารถก้ยู ืมจากสถาบนั การเงินใน ระบบได้ แหลง่ เงนิ กนู้ อกระบบ คอื แหลง่ เงนิ กจู้ ากญาตพิ นี่ อ้ ง จากการวเิ คราะหห์ นสี้ นิ ของเกษตรกร พบวา่ เกษตรกรสว่ นใหญม่ ีปญั หาเร่ืองความยากจน ไมม่ ีทดี่ นิ ท�ำกิน ทำ� ให้เกษตรกรต้องไปเช่าท่ีดนิ มาทำ� การเกษตร ผลผลติ ทอี่ อกมาขายไมไ่ ดร้ าคาทำ� ใหร้ ายจา่ ยมมี ากกวา่ รายไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การเปน็ หน้ี สำ� นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2555) ศกึ ษาปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ รายได้ รายจา่ ยการออม หนส้ี นิ ปจั จยั ทกี่ ำ� หนดการตดั สนิ ใจกอ่ หนแ้ี ละความตอ้ งการกขู้ องครวั เรอื นเกษตร การศกึ ษาครงั้ นม้ี ี วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหท้ ราบปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ รายได้ รายจา่ ย การออม หนสี้ นิ และปจั จยั ทก่ี ำ� หนด การกอ่ หนี้ โดยในการวเิ คราะหไ์ ดใ้ ชแ้ บบจ�ำลองโลจสิ ตกิ ส์ ผลการวเิ คราะหพ์ บวา่ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ล หรอื กำ� หนดการเปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตร มจี ำ� นวน 7 ตวั แปร ไดแ้ ก่ ภาค เขตชลประทาน อายขุ อง หวั หนา้ ครวั เรอื น ระดบั การศกึ ษาของหวั หนา้ ครวั เรอื น สถานภาพสมรส จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื น ทก่ี ำ� ลงั เรยี นหนงั สอื และจำ� นวนสมาชกิ ทม่ี อี ายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไปทท่ี ำ� งานหารายได้ สำ� นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2557) ศกึ ษาหนส้ี นิ ของครวั เรอื นเกษตรและขนาดของเงนิ กทู้ เ่ี หมาะสม วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ศกึ ษาหนสี้ นิ ของเกษตรกร ขนาดของเงนิ กทู้ เ่ี หมาะสม ปจั จยั ทก่ี ำ� หนด ความสามารถในการชำ� ระหนส้ี นิ ของครวั เรอื นเกษตร และทศั นคตขิ องเกษตรกรตอ่ การเปน็ หนแ้ี ละพกั ชำ� ระหน้ี ใชข้ อ้ มลู ภาวะเศรษฐกจิ สงั คมครวั เรอื นและแรงงานเกษตร ปเี พาะปลกู 2550/51 2551/52 2552/53 และ 2553/54 ในการวเิ คราะหป์ จั จยั ทก่ี ำ� หนดความสามารถในการชำ� ระหนส้ี นิ ของครวั เรอื น เกษตรใชแ้ บบจำ� ลองโลจสิ ตกิ ส์ พบวา่ ตวั แปรทมี่ ผี ลตอ่ การชำ� ระหนส้ี นิ ของครวั เรอื นเกษตร มที งั้ หมด 9 ตวั แปร ทค่ี วามเชอ่ื มนั่ 95 % ไดแ้ ก่ การนำ� เงนิ กไู้ ปใช้ การน�ำเงนิ กไู้ ปใช้ตรงกับวัตถปุ ระสงคโ์ อกาส

4 หนีส้ นิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 ที่จะช�ำระหน้ีได้เพ่ิมข้ึนเมื่อเทียบกับเกษตรกรที่น�ำเงินกู้ไปใช้ไม่ตรงวัตถุประสงค์ แหล่งเงินกู้ เกษตรกรทก่ี เู้ งนิ จากแหลง่ เงนิ ทนุ ในสถาบนั โอกาสทจี่ ะชำ� ระหนเี้ พม่ิ เมอื่ เทยี บเกษตรกรทก่ี จู้ ากแหลง่ เงินทนุ นอกสถาบัน หลกั ประกนั เงนิ กู้ เกษตรกรกูโ้ ดยใชห้ ลักประกนั ค�้ำประกนั มีโอกาสทีจ่ �ำชำ� ระ หนี้เพิ่มเมื่อเทียบกับเกษตรกรที่ไม่ใชห้ ลกั ทรัพย์คำ้� ประกนั แรงงานในครัวเรอื น เกษตรกรมีแรงงาน ในครัวเรือนมากกว่าโอกาสท่จี ะชำ� ระหนี้เพิม่ ท่ีดินเกษตรกรมีที่ดินมากขน้ึ โอกาสท่จี ะชำ� ระหนีเ้ พิ่ม ขึ้น สว่ นตวั แปร รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย หน้สี นิ ทรัพยส์ ินหมุนเวยี น การเพ่มิ ขึน้ หรอื ลดลงของทัง้ สตี่ วั แปร มีโอกาสทเี่ กษตรจะช�ำระหน้ไี ดแ้ ละไม่ไดเ้ ท่ากนั ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) ศึกษาสถานการณ์ภาวะหน้ีสินครัวเรือนเกษตร ในปัจจุบัน จากการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรหนี้ครัวเรือนเกษตรกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ GDP ขนาดครัวเรือน เนื้อที่ถือครองท�ำการเกษตร และสัดส่วนแรงงานต่อสมาชิกครัวเรือนท้ังหมด พบ วา่ มูลคา่ หน้สี ินสะสมมีความสมั พนั ธก์ ับระยะเวลา ย่ิงระยะเวลาทีม่ ากขึน้ จะมีแนวโนม้ ท่จี ะมี หน้ี สินสะสมเพ่ิมมากขึ้น และเม่ือมีพ้ืนท่ีถือครองท�ำการเกษตรเป็นจ�ำนวนมาก จะส่งผลให้หนี้สินของ ครัวเรือนเกษตรเพิ่มมากขึ้น โดยความสัมพันธ์สอดคล้องกับสถิติหน้ีสินและมูลค่าทรัพย์สิน โดย หนส้ี นิ และมลู คา่ ทรพั ยส์ นิ มแี นวโนม้ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั แสดงใหเ้ หน็ การลงทนุ บางสว่ นในทรพั ยส์ นิ เพ่ือการเกษตร หากเกษตรกรมีพ้ืนที่ถือครองทางการเกษตรเพ่ิมมากข้ึน ก็อาจท�ำให้หนี้สินสะสม เพื่อ การลงทุนทางการเกษตรเพ่ิมข้ึนเช่นกัน ในขณะท่ีตัวแปรขนาดครัวเรือน มีความสัมพันธ์ใน ทศิ ทางตรงกนั ขา้ มกบั ขนาดหนสี้ นิ ของครวั เรอื น หรอื กลา่ วไดว้ า่ การเพมิ่ ขน้ึ ของขนาดครวั เรอื นอาจ ทำ� ใหม้ จี ำ� นวนแรงงานภายในครอบครวั เพมิ่ ขน้ึ จงึ สง่ ผลตอ่ ขนาดหนส้ี นิ ของครวั เรอื นในภาคเกษตร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (2558) ศึกษาภาวะหนี้สินเกษตรกร และแนวทางการปรับปรุงศักยภาพการด�ำเนินงานกองทุนในก�ำกับดูแลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาวะหนี้สินเกษตรกรทั้งระบบ และการประเมินกองทุน โดย ศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อปริมาณหนี้เงินกู้ของครัวเรือนเกษตร ใช้ข้อมูลการส�ำรวจภาวะเศรษฐกิจ และสังคมของครวั เรือน ปี 2556 มีข้อมูลท้ังหมด 9,955 ตัวอยา่ ง วิเคราะห์ดว้ ยสมการถดถอยโดย ใช้วธิ กี �ำลังสองน้อยท่ีสดุ (Ordinary Least Square Regression, OLS) พบว่า รายไดค้ รวั เรือน ปรมิ าณทด่ี นิ ทคี่ รวั เรอื นครอบครอง และมลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทางการเงนิ เปน็ ปจั จยั ทางเศรษฐกจิ ทม่ี คี วาม ส�ำคัญต่อความสามารถในการกยู้ ืมเงินในปริมาณท่ีเพ่ิมขึน้ สว่ นความจ�ำเปน็ ทคี่ รวั เรอื นจะกเู้ งินเพ่ิม สว่ นหนง่ึ เกดิ จากการทค่ี รวั เรอื นมคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู มภี าระทตี่ อ้ งดแู ลสมาชกิ ในครวั เรอื นจำ� นวนมาก หรอื มีคูส่ มรส นอกจากน้คี รัวเรอื นทมี่ ีหวั หนา้ ครัวเรอื นทม่ี ีการศกึ ษาสูงขนึ้ มักมีหนีเ้ งนิ ก้จู �ำนวนมากกว่า ครวั เรอื นทไ่ี มม่ กี ารศกึ ษา ในขณะทคี่ รวั เรอื นเกษตรทเี่ ชา่ ทด่ี นิ มหี นเ้ี งนิ กสู้ งู กวา่ ครวั เรอื นทไี่ มไ่ ดเ้ ชา่ ทดี่ นิ กรอบแนวคิดของการศกึ ษา ในการศึกษาคร้ังนี้ท�ำการเลือกตัวแปรที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลในการส�ำรวจภาวะ เศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรอื นมาใช้ในการสรา้ งกรอบแนวคดิ ในการศึกษา

หนส้ี ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 5 กรอบแนวคิดในกำรศึกษำ (Conceptual Framework) ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตำม - เขตการปกครอง - ภาค กำรเปน็ หนี้ - เพศของหัวหน้าครวั เรือน ของครัวเรอื นเกษตร - อายขุ องหวั หน้าครวั เรือน - ระดับการศกึ ษาของหัวหนา้ ครวั เรอื น - สถานภาพสมรสของหวั หน้าครวั เรอื น - จ�านวนสมาชกิ ในครวั เรอื น - อัตราการพง่ึ พงิ - รายได้ท้งั สนิ้ ของครัวเรือน - ค่าใช้จ่ายทั้งส้นิ ของครัวเรือน - มลู ค่าทรัพยส์ ินเฉลยี่ ทัง้ หมดต่อครวั เรือน - จา� นวนพ้ืนท่ที า� การเกษตร - การเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ สถิติเชิงพรรณา โดยใช้ตารางความถ่ี ร้อยละ และค่าเฉล่ีย ในการศึกษาลักษณะท่ัวไป และลักษณะการกอ่ หน้ีของครวั เรือนเกษตร สว่ นการวิเคราะห์ทวโิ ลจสิ ติก เปน็ การศกึ ษาปัจจยั ทีม่ ี อิทธพิ ลตอ่ การเป็นหน้ขี องครัวเรือนเกษตรโดยมีตัวแบบโลจิสติกดงั น้ี log �1−P(P������(���������=���������=1)1)� = a + b1 X1+ b2 X2 +b3 X3+ b4 X4+ b5 X5 +b6 X6+ b7 X7 +b8X8+b9X9+b10X10+b11X11+b12X12+b13X13 เมือ่ P(Y=1) คอื ความน่าจะเป็นทีค่ รัวเรือนเกษตรเป็นหนี้ X1 = เขตการปกครอง X2 = ภาค X3 = เพศของหวั หนา้ ครัวเรือน X4 = อายุของหัวหนา้ ครวั เรือน X5 = ระดบั การศกึ ษาของหัวหนา้ ครวั เรอื น X6 = สถานภาพสมรสของหัวหน้าครวั เรือน X7= จ�านวน สมาชกิ ในครวั เรอื น X8 = อตั ราการพึ่งพงิ X9 = รายไดท้ ัง้ ส้ินของครัวเรอื น X10 = ค่าใชจ้ า่ ยทั้งส้นิ ของครวั เรือน X11 = มลู คา่ ทรัพย์สนิ X12= จ�านวนพน้ื ทีท่ �าการเกษตร X13= การเป็นเจา้ ของทดี่ นิ

6 หน้สี ินของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 º··่Õ 1 ÅѡɳТͧ¤ÃÑÇàÃÍ× ¹à¡ÉµÃ

หนี้สนิ ของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 7 1.1 ลกั ษณะทัว่ ไปของครวั เรือนเกษตร 1.1.1 กำรกระจำยตัวของครวั เรือนเกษตร จากขอ้ มลู โครงการสา� รวจภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมของครวั เรอื นปี 2550 – 2558 จา� นวน ครวั เรอื นในประเทศไทยมแี นวโนม้ เพม่ิ สงู ขน้ึ ในทกุ ๆ ปี จากปี 2550 มจี า� นวนครวั เรอื นอยปู่ ระมาณ 18.2 ล้านครัวเรือน เพิ่มขน้ึ เป็น 21.3 ลา้ นครัวเรอื น ในปี 2558 และหากพจิ ารณาครัวเรอื นเกษตรของไทยปี 2550 – 2558 พบว่ามสี ดั สว่ นทลี่ ดลงจาก ร้อยละ 23.1 (ประมาณ 4.2 ล้านครวั เรือน) ในปี 2550 ลดลงเหลือเพียงรอ้ ยละ 16.3 (ประมาณ 3.5 ลา้ นครัวเรือน) ในปี 2558 โดยกระจายอยใู่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื มากทีส่ ดุ รองลงมา คือ ภาคเหนอื ภาคใต้ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร และ 3 จังหวดั คดิ เปน็ ร้อยละ 37.2, 29.2, 18.6, 14.0 และ 1.0 ตามล�าดบั (ตาราง 2) ตำรำง 1 ครัวเรอื นเกษตร จำ� แนกตำมประเภทของครัวเรือน พ.ศ. 2550 - 2558 พ.ศ. ครวั เรอื นนอกภำคเกษตร ครัวเรอื นเกษตร รวม จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ 2550 13,982,255 76.9 4,195,993 23.1 18,178,247 100.0 2552 15,177,839 77.5 4,401,381 22.5 19,579,220 100.0 2554 15,605,285 78.1 4,380,581 21.9 19,985,866 100.0 2556 15,647,470 77.6 4,520,049 22.4 20,167,519 100.0 2558 17,859,382 83.7 3,466,617 16.3 21,325,999 100.0 ตำรำง 2 ครวั เรือนเกษตร จ�ำแนกตำมพื้นท่ี พ.ศ. 2550 - 2558 พนื้ ท่ี 2550 2552 2554 2556 2558 จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ ทว่ั รำชอำณำจกั ร 4,195,993 23.1 4,401,381 22.5 4,290,673 21.9 4,520,049 22.4 3,466,617 16.3 เขตกำรปกครอง 4,195,993 100.0 4,401,381 100.0 4,290,673 100.0 4,520,049 100.0 3,466,617 100.0 ในเขตเทศบาล 267,464 6.4 305,964 7.0 356,584 8.3 581,282 12.9 612,302 17.7 นอกเขตเทศบาล 3,928,529 93.6 4,095,417 93.0 3,934,089 91.7 3,938,767 87.1 2,854,315 82.3 ภำค 4,195,993 100.0 4,401,381 100.0 4,290,673 100.0 4,520,049 100.0 3,466,617 100.0 กรงุ เทพมหานคร 24,348 0.6 32,052 0.7 25,768 0.6 17,866 0.4 35,726 1.0 และ 3 จงั หวดั กลาง 552,523 13.2 600,514 13.6 565,192 13.2 638,863 14.1 484,259 14.0 เหนอื 1,170,148 27.9 1,243,515 28.3 1,152,937 26.9 1,272,619 28.2 1,012,052 29.2 ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1,859,028 44.3 1,881,566 42.7 1,830,763 42.7 1,854,475 41.0 1,288,523 37.2 ใต้ 589,945 14.1 643,734 14.6 716,014 16.7 736,227 16.3 646,058 18.6 หมายเหตุ : 3 จังหวัด ไดแ้ ก่ ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ

8 หน้ีสินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 1.1.2 ลกั ษณะทางประชากรของหวั หนา้ ครวั เรอื นและโครงสรา้ งทว่ั ไปของครวั เรอื นเกษตร ลักษณะทางประชากรของหวั หนา้ ครวั เรอื นของครวั เรือนเกษตรปี 2550 – 2558 พบวา่ มากกว่าร้อยละ 70 ของครวั เรอื นเกษตรมหี วั หน้าครัวเรือนเปน็ เพศชาย และเม่อื พิจารณาอายขุ อง หวั หน้าครัวเรอื นจะพบวา่ อายเุ ฉลย่ี ของหวั หนา้ ครัวเรอื นเกษตรเพิ่มข้ึน จากปี 2550 ที่มอี ายุเฉลี่ย 52.6 ปี เพม่ิ เปน็ 55.4 ปี ในปี 2558 และสถานภาพสมรสของหวั หนา้ ครัวเรือนเกือบร้อยละ 80 มี สถานภาพสมรส ส่วนด้านการศกึ ษาของหวั หนา้ ครัวเรือน พบวา่ มากกว่ารอ้ ยละ 80 จบการศึกษา สูงสุดท่รี ะดับประถมศึกษาหรือต�ำ่ กว่า ตาราง 3 ครวั เรอื นเกษตร จำ� แนกตามเพศ อายุ และระดบั การศกึ ษาของหวั หนา้ ครวั เรอื น พ.ศ. 2550 - 2558 ลขกั อษงหณวั ะหทนาา้งคปรรวัะเชราอื กนร 2550 2552 2554 2556 2558 จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ รวม 4,195,993 100.0 4,401,381 100.0 4,380,581 100.0 4,520,049 100.0 3,466,617 100.0 เพศของหวั หนา้ ครวั เรอื น ชาย 3,303,325 78.7 3,425,659 77.8 3,393,324 77.5 3,353,024 74.2 2,546,368 73.5 หญงิ 892,668 21.3 975,722 22.2 987,257 22.5 1,167,025 25.8 920,250 26.5 อายเุ ฉลยี่ 52.6 53.4 53.8 54.5 55.4 สถานภาพสมรสของหวั หนา้ ครวั เรอื น โสด 98,862 2.4 128,020 2.9 140,806 3.1 140,806 3.1 121,621 3.5 สมรส 3,399,016 81.0 3,528,267 80.2 3,594,535 79.5 3,594,535 79.5 2,721,992 78.5 หแยมกา้ ยก/นั หอยยา่ ู่ / 698,115 16.6 745,094 16.9 784,708 16.7 784,708 17.4 623,004 18.0 ระดบั การศกึ ษาของหวั หนา้ ครวั เรอื น ปหรรอะื ถตมำ�่ กศวกึ า่ษา 3,788,094 90.3 3,870,237 87.9 2,897,611 83.6 3,897,194 86.2 2,892,538 83.4 มธั ยมศกึ ษา 229,316 5.5 295,982 6.7 240,993 6.9 297,030 6.6 240,993 7.0 ตอนตน้ 107,557 2.6 142,914 3.2 198,609 5.7 194,388 4.3 198,609 5.7 มธั ยมศกึ ษา 44,565 1.1 64,333 1.5 79,027 2.3 65,353 1.4 79,027 2.3 ตอนปลาย อนปุ รญิ ญา อดุ มศกึ ษา 24,641 0.6 27,745 0.6 48,487 1.4 62,227 1.4 48,487 1.4 อนื่ ๆ 1,820 0.0 170 0.0 1,892 0.1 3,859 0.1 6,964 0.2

หนสี้ ินของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2558 9 โครงสร้างท่ัวไปของครัวเรือนเกษตรปี 2550 – 2558 พบว่า ขนาดครัวเรอื นลดลงจาก ปี 2550 ซงึ่ มขี นาดครัวเรอื นเฉลี่ยอยู่ท่ี 3.62 คนต่อครัวเรอื น ลดลงเหลอื 3.28 คนตอ่ ครัวเรอื นใน ปี 2558 โดยเฉลยี่ แลว้ สมาชกิ ในครวั เรอื นมวี ยั เดก็ 1 คน วยั แรงงาน 3 คน วยั สงู อายุ 1 คน และสมาชกิ ท่กี �ำลังเรียนหนงั สอื 1 คน สมาชกิ ท่ีทำ� งานหารายได้ 3 คน และสมาชกิ ทีไ่ มท่ ำ� งานหารายได้ 2 คน ตาราง 4 ค่าเฉลี่ย จำ� แนกตามโครงสร้างท่ัวไปของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2550 - 2558 โครงสรา้ งทวั่ ไป 2550 2552 2554 2556 2558 ของครวั เรอื นเกษตร คา่ เฉลย่ี คา่ เฉลย่ี คา่ เฉลย่ี คา่ เฉลยี่ คา่ เฉลย่ี 3.28 จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื น 3.62 3.59 3.46 3.38 0.59 (คน) 2.06 จำ� นวนเดก็ ในครวั เรอื น 0.90 0.83 0.74 0.69 (0-14 ป)ี (คน) 0.60 จำ� นวนสมาชกิ ทอี่ ยใู่ นวยั 2.20 2.23 2.18 2.13 0.65 กำ� ลงั แรงงาน (15-59 ป)ี (คน) 2.16 จำ� นวนผสู้ งู อายุ 60 ปขี น้ึ ไป 0.52 0.53 0.55 0.56 (คน) 1.12 จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื นท่ี 0.81 0.85 0.74 0.72 กำ� ลงั เรยี นหนงั สอื (คน) จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื น 2.20 2.23 2.22 2.21 ทท่ี ำ� งาน หารายได้ (คน) จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื น 1.42 1.35 1.24 1.17 ทไ่ี มม่ รี ายได้ (คน)

10 หน้สี นิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 1.2 ลักษณะทางเศรษฐกจิ ของครวั เรอื นเกษตร 1.2.1 รายได้ของครัวเรอื นเกษตร เมอื่ พจิ ารณารายไดข้ องครวั เรอื นเกษตรทงั้ สนิ้ พบวา่ ครวั เรอื นเกษตรมแี นวโนม้ ของรายได้ เพม่ิ สงู ขนึ้ จากทม่ี รี ายได้ 12,103 บาทตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นในปี 2550 เพมิ่ เปน็ 20,504 บาทตอ่ เดอื น ตอ่ ครวั เรอื นในปี 2558 และเมอื่ พจิ ารณาแหลง่ รายไดท้ เ่ี ปน็ ตวั เงนิ ของครวั เรอื นเกษตร พบวา่ ครวั เรอื น มรี ายไดจ้ ากกำ� ไรสทุ ธจิ ากการทำ� การเกษตรมากทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.4 (13,609 บาทตอ่ เดอื น) รอง ลงมาเปน็ เงนิ ทไี่ ดร้ บั เปน็ การชว่ ยเหลอื คา่ จา้ งและ เงนิ เดอื น กำ� ไรจากการทำ� ธรุ กจิ รายไดท้ เี่ ปน็ ตวั เงนิ อนื่ ๆ และรายไดจ้ ากทรพั ยส์ นิ ตามลำ� ดบั ตาราง 5 รายได้เฉลี่ยตอ่ เดอื นต่อครัวเรือนของครัวเรอื นเกษตร จ�ำแนกตามแหลง่ ทมี่ าของรายได้ พ.ศ. 2550 - 2558 แหลง่ ทมี่ าของรายได้ 2550 2552 2554 2556 2558 บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ รายไดท้ ง้ั สน้ิ 12,103 100.0 14,900 100.0 19,380 100.0 20,914 100.0 20,504 100.0 คา่ จา้ งและเงนิ เดอื น กำ� ไรสทุ ธจิ ากการทำ� ธรุ กจิ 836 6.9 1,092 7.3 1,289 6.7 1,460 7.0 1,334 6.5 กำ� ไรสทุ ธจิ ากการทำ� การเกษตร 394 3.3 561 3.8 584 3.0 363 1.7 462 2.3 เงนิ ทไี่ ดร้ บั เปน็ การชว่ ยเหลอื 7,407 61.2 9,222 61.9 12,648 65.3 14,453 69.1 13,609 66.4 รายไดจ้ ากทรพั ยส์ นิ 761 6.3 1,025 6.9 1,333 6.9 1,267 6.1 1,478 7.2 *รายไดท้ ไ่ี มเ่ ปน็ ตวั เงนิ 63 0.5 70 0.5 91 0.5 92 0.4 73 0.4 รายรบั ทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ อน่ื ๆ 1,191 9.8 1,350 9.1 1,632 8.4 1,470 7.0 1,615 7.9 *คา่ ประเมนิ คา่ เชา่ บา้ น 317 2.6 356 2.4 419 2.2 245 1.2 205 1.0 1,134 9.4 1,223 8.2 1,382 7.1 1,565 7.5 1,728 8.4 หมายเหตุ : *เป็นรายไดท้ ไี่ ม่เปน็ ตัวเงิน 1.2.2 ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนเกษตร ส�ำหรับค่าใช้จ่ายของครัวเรือนเกษตร พบว่ามีแนวโน้มค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึนไปในทิศทาง เดียวกันกับรายได้ โดยค่าใช้จ่ายในปี 2550 อยู่ท่ี 10,160 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน เพิ่มเป็น 16,029 บาทตอ่ เดือนต่อครัวเรอื นในปี 2558 เมอ่ื พจิ ารณาถึงประเภทคา่ ใชจ้ า่ ยของครวั เรอื นกษตร พบว่ามีการใช้จ่ายด้านอาหารและเคร่ืองด่ืมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 38.4 (6,163 บาทต่อเดือน) รองลงมาเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นการเดนิ ทาง คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั ทอี่ ยอู่ าศยั คา่ ใชจ้ า่ ยไมเ่ กย่ี วกบั การบรโิ ภค ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการส่ือสาร และค่าใช้จ่ายส�ำหรับเคร่ืองนุ่งห่มและรองเท้า ฯลฯ ตามล�ำดับ

หน้ีสินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 11 ตาราง 6 คา่ ใช้จ่ายเฉล่ยี ตอ่ เดอื นต่อครวั เรือนของครวั เรอื นเกษตร จำ� แนกตามประเภทของค่าใช้จา่ ย พ.ศ. 2550 - 2558 ประเภทของคา่ ใชจ้ า่ ย 2550 2552 2554 2556 2558 คา่ ใชจ้ า่ ยทง้ั สนิ้ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ 10,160 100.0 11,532 100.0 14,222 100.0 14,930 100.0 16,029 100.0 คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ การ 9,114 89.7 10,225 88.7 12,636 88.8 13,370 89.5 14,290 89.2 อปุ โภคบรโิ ภค อาหารและเครอื่ งดม่ื 3,656 36.0 4,120 35.7 5,405 38.0 5,338 35.8 6,163 38.4 (ไมม่ แี อลกอฮอล)์ เครอื่ งดม่ื มแี อลกอฮอล์ 138 1.4 165 1.4 74 0.5 159 1.1 97 0.6 ยาสบู หมาก ยานตั ถ์ุ 63 0.6 79 0.7 67 0.5 100 0.7 78 0.5 และอน่ื ๆ คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั 2,039 20.1 2,213 19.2 2,597 18.3 2,739 18.3 2,951 18.4 ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอื่ งนงุ่ หม่ และรองเทา้ 270 2.7 281 2.4 361 2.5 336 2.3 332 2.1 คา่ ใชจ้ า่ ยสว่ นบคุ คล 265 2.6 317 2.7 389 2.7 405 2.7 472 2.9 เวชภณั ฑแ์ ละคา่ ตรวจ 185 1.8 206 1.8 196 1.4 204 1.4 210 1.3 รกั ษาพยาบาล คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั 1,651 16.2 1,923 16.7 2,604 18.3 3,158 21.2 3,043 19.0 การเดนิ ทาง คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั 251 2.5 291 2.5 336 2.4 377 2.5 436 2.7 การสอ่ื สาร การศกึ ษา 142 1.4 159 1.4 140 1.0 141 0.9 145 0.9 การบนั เทงิ การอา่ น 171 1.7 196 1.7 211 1.5 237 1.6 247 1.5 และกจิ กรรมทางศาสนา คา่ ใชจ้ า่ ยในการ 282 2.8 275 2.4 257 1.8 174 1.2 116 0.7 จดั งานพเิ ศษ คา่ ใชจ้ า่ ยไมเ่ กย่ี วกบั 1,046 10.3 1,307 11.3 1,586 11.2 1,560 10.4 1,737 10.8 การอปุ โภคบรโิ ภค 1.2.3 ทรัพยส์ นิ ของครัวเรือนเกษตร เมอื่ พจิ ารณามลู คา่ ทรพั ยส์ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตร ในปี 2556 – 2558 พบว่ามีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยโดยเพิ่มจาก 2,026,013 บาทต่อครัวเรือน ในปี 2556 เป็น 2,495,095 บาทต่อครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์เฉล่ียต่อครัวเรือน พบว่า มีการเพิ่มขึ้นสูงมากกว่ามูลค่าทรัพย์สินด้านอื่นๆ โดยเพ่ิมขึ้นถึง 2.7 เท่า เมื่อเทียบจากปี 2550 ท่ีมูลค่า 784,376 บาทต่อครัวเรือน เป็น 2,131,911 บาทต่อครวั เรอื น

12 หนีส้ ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 ตาราง 7 มลู คา่ ทรพั ย์สินเฉล่ียตอ่ ครัวเรือนของครัวเรอื นเกษตร จ�ำแนกตามประเภททรัพยส์ ิน พ.ศ. 2550 - 2558 หน่วย : บาทตอ่ ครัวเรอื น ทรพั ยส์ นิ 2550 2552 2554 2556 2558 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทง้ั หมด 892,053 1,059,432 1,438,764 2,026,013 2,495,095 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทเี่ ปน็ อสงั หารมิ ทรพั ยท์ งั้ หมด 784,376 877,013 1,275,250 1,693,673 2,131,911 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ปน็ (ยานพาหนะทกุ ประเภท) 107,677 182,419 163,512 224,129 257,782 ทค่ี รวั เรอื นเปน็ เจา้ ของใชใ้ นครวั เรอื น และประกอบธรุ กจิ มลู คา่ สนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ - - - 108,212 105,402 หมายเหตุ: พ.ศ. 2550 - 2554 มูลคา่ สนิ ทรัพยท์ างการเงนิ ไม่สามารถหาคา่ เฉล่ียได้ 1.2.4 หนี้สินของครวั เรือนเกษตร เมอ่ื พจิ ารณาสดั สว่ นของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ ในปี 2550 – 2558 ในภาพรวมของ ประเทศ พบวา่ ครวั เรอื นเกษตรมแี นวโนม้ ทจี่ ะเปน็ หนล้ี ดลง โดยในปี 2550 ครวั เรอื นเกษตรเปน็ หนี้ ร้อยละ 78.1 และลดลงเหลอื ร้อยละ 68.1 ในปี 2558 ในขณะทม่ี ลู คา่ หนส้ี นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรือนกลับ มีแนวโนม้ เพมิ่ สงู ขน้ึ โดยในปี 2550 ครวั เรอื นเกษตรมีมูลค่าหนี้สนิ เฉล่ียตอ่ ครวั เรอื นอยทู่ ่ี 83,814 บาทต่อครัวเรือน และเพิ่มเป็น 136,587 บาทต่อครัวเรือน ตาราง 8 สดั สว่ นของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี และมลู คา่ หนสี้ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทง้ั สนิ้ จำ� แนกตามพน้ื ที่ พ.ศ. 2550 - 2558 2550 2552 2554 2556 2558 พ้นื ท่ี คร.ทเ่ี ปน็ หน้ี มลู คา่ หนี้ คร.ทเ่ี ปน็ หน้ี มลู คา่ หน้ี คร.ทเี่ ปน็ หนี้ มลู คา่ หนี้ คร.ทเี่ ปน็ หนี้ มลู คา่ หนี้ คร.ทเี่ ปน็ หน้ี มลู คา่ หน้ี (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) ทว่ั ราชอาณาจกั ร 78.1 83,814 75.2 91,711 72.4 101,601 70.3 118,180 68.1 136,587 เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล 68.0 110,784 65.4 108,242 64.3 112,319 66.3 122,361 63.0 132,918 นอกเขตเทศบาล 78.8 81,978 75.9 90,476 73.1 100,629 70.9 117,563 69.1 137,374 ภาค กรงุ เทพมหานคร 48.1 208,720 63.9 194,148 72.1 277,103 57.2 136,029 63.2 161,538 และ 3 จงั หวดั กลาง 73.1 143,583 73.1 127,168 65.5 122,855 69.9 131,196 62.2 147,242 เหนือ 79.2 83,112 75.0 89,656 73.4 98,043 70.4 117,605 68.8 140,464 ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 83.4 60,078 81.3 71,380 81.0 83,425 77.8 100,373 76.7 124,953 ใต้ 65.5 98,873 60.2 116,932 53.4 132,356 51.8 152,299 54.2 144,348 หมายเหตุ : 3 จังหวัด ไดแ้ ก่ ปทมุ ธานี นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ

หน้สี นิ ของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2558 13 º··่Õ 2 Å¡Ñ É³Ð¢Í§ ¤ÃÑÇàÃ×͹à¡ÉµÃ·Õà่ »¹š ˹้Õ

14 หน้สี ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 2.1 ลกั ษณะท่วั ไปของครัวเรอื นเกษตรท่เี ปน็ หน้ี 2.1.1 ครวั เรอื นเกษตรท่เี ป็นหนี้ แมว้ า่ ครวั เรอื นไทยในภาพรวมจะเปน็ หนล้ี ดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง แตข่ นาดของหนสี้ นิ ครวั เรอื น หากพจิ ารณาจากขอ้ มลู ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย พบวา่ สดั สว่ นหนส้ี นิ ของครวั เรอื นเมอ่ื เทยี บกบั GDP พบวา่ มสี ดั สว่ นเพมิ่ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 51.7 ในปี 2550 (4,693 พนั ลา้ นบาท) เปน็ รอ้ ยละ 81.2 ใน ปี 2558 (11,098 พนั ลา้ นบาท) จะเหน็ ไดว้ า่ ขนาดของหนสี้ นิ ครวั เรอื นไทยมกี ารเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และจากผลการส�ำรวจโครงการภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ พบวา่ หนส้ี นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นทเ่ี ปน็ หนจ้ี ากปี 2550 ที่ 184,342 บาทตอ่ ครวั เรอื น เพมิ่ เปน็ 319,326 บาทตอ่ ครวั เรอื นในปี 2558 แผนภูมิ 2 หนี้สินครัวเรือนเฉลีย่ ตอ่ ปแี ละสดั ส่วนหนส้ี ินครัวเรือนเฉลย่ี ต่อ GDP พ.ศ. 2550 - 2558 สดั สวนหนีค้ รวั เรอื นตอ GDP พนั ลา นบาท 5,590 7,484 9,890 11,098 รอ ยละ 12,000 57.9 66.2 76.5 81.2 100 10,000 2558 80 8,000 4,693 60 6,000 51.7 40 4,000 2550 20 2,000 0 0 2552 2554 2556 หนสี้ ินครัวเรือน หนสี้ ินครัวเรอื นตอ GDP ทีม่ า: ธนาคารแหง ประเทศไทย ในภาพรวมของประเทศครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ มแี นวโนม้ ลดลงและเมอื่ พจิ ารณาตามเขต การปกครอง พบวา่ ครวั เรอื นเกษตรทอี่ าศยั อยนู่ อกเขตเทศบาลมรี อ้ ยละของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ สงู กวา่ ครวั เรอื นเกษตรทอ่ี าศยั อยใู่ นเขตเทศบาล ทง้ั ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลมแี นวโนม้ ของ สดั สว่ นของครวั เรอื นทเี่ ปน็ หนลี้ ดลง โดยในปี 2550 ในเขตเทศบาลมสี ดั สว่ นของครวั เรอื นทเ่ี ปน็ หน้ี 68.0 และลดลงเหลอื 63.0 ในปี 2558 ในขณะทนี่ อกเขตเทศบาลในปี 2550 มสี ดั สว่ นของครวั เรอื นทเ่ี ปน็ หนี้ 78.8 ลดลงเหลอื 69.1 ในปี 2558 หากพจิ ารณามลู คา่ หนสี้ นิ ของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนก้ี ลบั พบวา่ มแี นวโนม้ เพมิ่ สงู ขน้ึ โดยในเขตเทศบาลในปี 2550 มมี ลู คา่ หนสี้ นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นทเี่ ปน็ หน้ี 163,027 บาทตอ่ ครวั เรอื นเพม่ิ เปน็ 211,071 บาทตอ่ ครวั เรอื น และนอกเขตเทศบาลในปี 2550 มมี ลู คา่ หนสี้ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นทเ่ี ปน็ หน้ี 103,989 บาทตอ่ ครวั เรอื นเพมิ่ เปน็ 198,661 บาทตอ่ ครวั เรอื น

หนี้สินของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2558 15 เม่ือเปรียบเทียบข้อมูลตามภาคในปี 2550 - 2558 พบว่าเกือบทุกภาคมีแนวโน้มของ สัดส่วนของครัวเรือนที่เป็นหน้ีลดลง ยกเว้นกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด ท่ีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะท่ีมูลค่าหน้ีสินเฉลี่ยของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ีมีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึนเกือบทุกภาค ยกเว้น กรงุ เทพมหานครและ 3 จงั หวดั ทมี่ แี นวโนม้ ลดลง โดยเมอ่ื เปรยี บเทยี บขอ้ มลู ตามรายภาคในปี 2558 พบวา่ ครัวเรอื นเกษตรในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมสี ัดส่วนครัวเรือนทเ่ี ป็นหน้ีสูงท่ีสุดคือ คิดเป็น ร้อยละ 76.7 แต่มมี ลู ค่าหนี้สินของครวั เรือนเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ีต่ำ� สดุ คือ 162,881 บาทตอ่ ครัวเรือน ในขณะท่ภี าคใต้มีสดั ส่วนของครวั เรอื นทีเ่ ป็นหน้นี อ้ ยท่ีสุดคือ ร้อยละ 54.2 แต่มีมลู ค่าหนี้สินเฉล่ีย ตอ่ ครวั เรอื นสงู ท่สี ดุ คือ 266,115 บาทตอ่ ครวั เรือน ตาราง 9 ครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ีและมูลค่าหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือนของครัวเรือนเกษตรที่เป็นหน้ี จ�ำแนกตามพ้ืนที่ พ.ศ. 2550 - 2558 2550 2552 2554 2556 2558 พน้ื ที่ มลู คา่ หน้ี คร.ทเ่ี ปน็ หน้ี มลู คา่ หน้ี คร.ทเ่ี ปน็ หน้ี มลู คา่ หนี้ คร.ทเ่ี ปน็ หน้ี มลู คา่ หนี้ คร.ทเี่ ปน็ หนี้ มลู คา่ หนี้ คร.ทเี่ ปน็ หนี้ (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) (บาท/ครวั เรอื น) (รอ้ ยละ) ทว่ั ราชอาณาจกั ร 107,262 78.1 121,965 75.2 140,404 72.4 168,119 70.3 200,689 68.1 เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล 163,027 68.0 165,553 65.4 174,586 64.3 184,691 66.3 211,071 63.0 นอกเขตเทศบาล 103,989 78.8 119,160 75.9 137,676 73.1 165,833 70.9 198,661 69.1 ภาค กรงุ เทพมหานคร 434,259 48.1 303,863 63.9 384,430 72.1 237,769 57.2 255,733 63.2 และ 3 จงั หวดั กลาง 196,530 73.1 173,912 73.1 187,568 65.5 187,611 69.9 236,648 62.2 เหนอื 104,945 79.2 119,601 75.0 133,589 73.4 167,099 70.4 204,089 68.8 ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 72,052 83.4 87,781 81.3 103,005 81.0 128,949 77.8 162,881 76.7 ใต้ 150,887 65.5 194,078 60.2 247,964 53.4 294,117 51.8 266,115 54.2 หมายเหตุ : 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ปทุมธานี นนทบรุ ี และสมุทรปราการ 2.1.2 ลกั ษณะท่วั ไปของหวั หนา้ ครวั เรือนเกษตรท่ีเปน็ หนี้ ลักษณะทางประชากรของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ีปี 2550 – 2558 หัวหน้า ครวั เรือนเกษตรท่เี ป็นหนี้สว่ นใหญ่มากกว่ารอ้ ยละ 75 เปน็ เพศชาย อายเุ ฉล่ยี ของหัวหนา้ ครวั เรอื น มแี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ โดยปี 2550 หวั หนา้ ครวั เรอื นมอี ายเุ ฉลย่ี อยทู่ ี่ 51.7 ปี เพมิ่ เปน็ 54.4 ปี ในปี 2558 ส�ำหรับสถานภาพสมรสของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี มากกว่าร้อยละ 80 มีสถานะสมรส ระดบั การศกึ ษาของหวั หนา้ ครวั เรอื นมากกวา่ รอ้ ยละ 80 จบการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาหรอื ตำ่� กวา่

16 หนีส้ ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 ตาราง 10 คพร.ศวั .เร2อื 5น5เ0กษ- ต2ร5ท5่เี8ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศกึ ษาของหวั หน้าครัวเรอื น ลักษณะทาง 2550 2552 2554 2556 2558 ประชากรของ หวั หนา้ ครัวเรือน จ�ำนวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ รวม 3,278,743 100.0 3,309,617 100.0 3,169,942 100.0 3,177,388 100.0 2,359,336 100.0 เพศของหัวหนา้ ครัวเรือน ชาย 2,641,892 80.6 2,637,087 79.7 2,510,984 79.2 2,409,472 75.8 1,779,860 75.4 หญงิ 636,851 19.4 672,530 20.3 658,958 20.8 767,916 24.2 579,475 24.6 อายเุ ฉลย่ี 51.65 52.70 53.22 53.92 54.44 สถานภาพสมรสของหัวหน้าครัวเรอื น โสด 55,808 1.7 59,152 1.8 57,472 1.8 62,969 2.0 45,267 1.9 สมรส 2,762,324 84.2 2,769,197 83.7 2,664,106 84.0 2,645,508 83.3 1,967,290 83.4 หมา้ ย/หยา่ / 460,611 14.0 481,268 14.5 448,364 14.1 468,911 14.8 346,779 14.7 แยกกนั อยู่ ระดบั การศกึ ษาของหัวหนา้ ครัวเรือน ประถมศกึ ษา 2,942,763 89.8 2,879,703 87.0 2,724,989 86.0 1,948,044 82.6 1,948,044 82.6 หรอื ตำ่� กวา่ มธั ยมศกึ ษา 192,942 5.9 243,255 7.3 221,648 7.0 175,544 7.4 175,544 7.4 ตอนตน้ มัธยมศึกษา 94,021 2.9 117,269 3.5 149,348 4.7 140,863 6.0 140,863 6.0 ตอนปลาย อนุปริญญา 29,722 0.9 48,167 1.5 41,239 1.3 63,446 2.7 63,446 2.7 อุดมศึกษา 17,475 0.5 21,223 0.6 32,139 1.0 31,440 1.3 31,440 1.3 อน่ื ๆ 1,820 0.1 0 0.0 579 0.0 0 0.0 0 0.0 ขนาดครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ มขี นาดเลก็ ลงเมอื่ เปรยี บเทยี บปี 2550 – 2558 ปี 2550 มีขนาดครัวเรือนเฉล่ียอยู่ที่ 3.73 คนต่อครัวเรือน ลดลงเหลือ 3.48 คนต่อครัวเรือน ในปี 2558 ซ่ึงพบว่า โดยเฉลี่ยแล้วในหน่ึงครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี มีวัยเด็ก 1 คน วัยแรงงาน 3 คน และวัยสูงอายุ 1 คน เม่ือพจิ ารณาสถานะการทำ� งานของสมาชิกในครวั เรือน พบว่ามีสมาชกิ ที่กำ� ลงั เรียนหนังสอื 1 คน สมาชิกท่ที ำ� งานหารายได้ 3 คน และสมาชกิ ที่ไม่ทำ� งานหารายได้ 1 คน

หน้ีสินของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 17 ตาราง 11 คา่ เฉลย่ี จำ� แนกตามโครงสรา้ งทว่ั ไปของครวั เรอื นเกษตรท่ีเป็นหน้ี พ.ศ. 2550 - 2558 โครงสร้างทัว่ ไป 2550 2552 2554 2556 2558 ของครัวเรอื นเกษตร คา่ เฉลย่ี คา่ เฉลยี่ คา่ เฉลย่ี คา่ เฉลยี่ คา่ เฉลยี่ จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื น (คน) 3.73 3.74 3.58 3.54 3.48 จำ� นวนเดก็ ในครวั เรอื น (0-14 ป)ี (คน) 0.96 0.89 0.77 0.76 0.68 จำ� นวนสมาชกิ ทอี่ ยใู่ นวยั กำ� ลงั แรงงาน 2.30 2.36 2.31 2.26 2.22 (15-59 ป)ี (คน) จำ� นวนผสู้ งู อายุ 60 ปขี นึ้ ไป (คน) 0.47 0.49 0.50 0.52 0.55 หจำ�นนงั วสนอื ส(มคานช)กิ ในครวั เรอื นทกี่ ำ� ลงั เรยี น 0.87 0.92 0.79 0.80 0.74 จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื นทท่ี ำ� งานหา 2.26 2.32 2.30 2.30 2.27 รายได้ (คน) จำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื นทไ่ี มม่ รี ายได้ (คน) 1.47 1.42 1.28 1.24 1.21 2.2 ลกั ษณะทางด้านเศรษฐกิจของครวั เรือนเกษตรท่เี ปน็ หนี้ 2.2.1 รายได้ของครวั เรอื นเกษตรทีเ่ ป็นหน้ี เม่ือพิจารณารายได้ของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี พบว่า มีแนวโน้มของรายได้เพ่ิมสูง ขน้ึ จากทีม่ รี ายได้ 12,286 บาทต่อเดือนตอ่ ครัวเรอื นในปี 2550 เพิม่ เปน็ 22,035 บาทต่อเดอื นต่อ ครัวเรือนในปี 2558 เมอื่ พิจารณาถงึ แหลง่ ท่ีมาของรายไดท้ ีเ่ ปน็ ตวั เงนิ พบวา่ ครัวเรอื นมรี ายได้จาก ก�ำไรสทุ ธจิ ากการท�ำการเกษตรมากท่ีสดุ คิดเปน็ ร้อยละ 66.0 (14,537 บาทตอ่ เดือน) รองลงมาคอื เงินที่ได้รับเป็นการช่วยเหลือ ค่าจ้างและเงินเดือน ก�ำไรจากการท�ำธุรกิจ รายได้ท่ีเป็นตัวเงินอื่นๆ และรายได้จากทรพั ย์สนิ ตามลำ� ดบั (ตาราง 12) ตาราง 12 รราายยไไดด้้เพฉล.ศ่ีย.ต2่อ5เ5ด0ือน-ต2่อ5ค5ร8ัวเรือนของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี จ�ำแนกตามแหล่งท่ีมาของ แหล่งท่ีมาของรายได้ 2550 2552 2554 2556 2558 บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ รายไดท้ ง้ั สน้ิ 12,286 100.0 15,646 100.0 19,837 100.0 22,234 100 22,035 100.0 คา่ จา้ งและเงนิ เดอื น 863 7.0 1,233 7.9 1,432 7.2 1,733 7.8 1,529 6.9 กำ� ไรสทุ ธจิ ากการทำ� ธรุ กจิ 433 3.5 651 4.2 670 3.4 287 1.3 554 2.5 กำ� ไรสทุ ธจิ ากการทำ� การเกษตร 7,499 61.0 9,594 61.3 12,607 63.6 15,320 68.9 14,537 66.0 เงนิ ทไ่ี ดร้ บั เปน็ การชว่ ยเหลอื 775 6.3 1,083 6.9 1,458 7.4 1,360 6.1 1,611 7.3 รายไดจ้ ากทรพั ยส์ นิ 58 0.5 65 0.4 92 0.5 74 0.3 78 0.4 *รายไดท้ ไี่ มเ่ ปน็ ตวั เงนิ 1,231 10.0 1,407 9.0 1,759 8.9 1,575 7.1 1,741 7.9 รายรบั ทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ อน่ื ๆ 314 2.6 395 2.5 442 2.2 305 1.4 248 1.1 *คา่ ประเมนิ คา่ เชา่ บา้ น 1,113 9.1 1,217 7.8 1,378 6.9 1,579 7.1 1,738 7.9 หมายเหตุ : *เปน็ รายไดท้ ่ไี มเ่ ป็นตัวเงิน

18 หนส้ี ินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 2.2.2 ค่าใช้จ่ายครัวเรือนเกษตรทเี่ ป็นหนี้ เม่ือพิจารณาค่าใช้จ่ายของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี พบว่า ครัวเรือนมีแนวโน้มของ คา่ ใชจ้ า่ ยเพมิ่ ขนึ้ เชน่ เดยี วกบั รายได้ จากทมี่ คี า่ ใชจ้ า่ ย 10,509 บาทตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น ในปี 2550 เพม่ิ เปน็ 17,530 บาทตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื นในปี 2558 เมอื่ พจิ ารณาประเภทการใชจ้ า่ ยของครวั เรอื น พบว่ามีค่าใช้จ่ายด้านอาหารและเคร่ืองดื่มมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 37.1 (6,498 บาทต่อเดือน) รองลงมาเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นการเดนิ ทาง คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั ทอี่ ยอู่ าศยั คา่ ใชจ้ า่ ยไมเ่ กย่ี วกบั การบรโิ ภค คา่ ใชจ้ า่ ยสว่ นบคุ คล คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การสอ่ื สาร คา่ ใชจ้ า่ ยเครอื่ งนงุ่ หม่ และรองเทา้ ฯลฯ ตามลำ� ดบั ตาราง 13 คคา่า่ ใใชชจ้จ้ ่าา่ ยยเฉพล.ศยี่ .ต2อ่ 5เด5ือ0น-ต2อ่ 5ค5ร8วั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทีเ่ ป็นหน้ี จ�ำแนกตามประเภทของ ประเภทของคา่ ใช้จา่ ย 2550 2552 2554 2556 2558 บาท รอ้ ยละ บาท ร้อยละ บาท ร้อยละ บาท รอ้ ยละ บาท ร้อยละ คา่ ใช้จา่ ยทงั้ ส้ิน 10,509 100.0 12,221 100.0 15,018 100.0 16,288 100.0 17,530 100.0 คา่ ใช้จา่ ยเพอ่ื การ 9,391 89.4 10,777 88.2 13,280 88.4 14,525 89.2 15,476 88.3 อปุ โภคบรโิ ภค อาหารและเคร่ืองด่มื 3,728 35.5 4,294 35.1 5,556 37.0 5,619 34.5 6,498 37.1 (ไม่มีแอลกอฮอล)์ เคร่ืองดืม่ 150 1.4 179 1.5 82 0.5 181 1.1 106 0.6 มแี อลกอฮอล์ ยาสูบ หมาก ยานตั ถุ์ 64 0.6 81 0.7 71 0.5 110 0.7 88 0.5 และอืน่ ๆ คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั 2,055 19.6 2,227 18.2 2,642 17.6 2,818 17.3 3,035 17.3 ทอ่ี ยอู่ าศยั เคร่อื งนงุ่ หม่ และ 276 2.6 293 2.4 377 2.5 353 2.2 370 2.1 รองเท้า คา่ ใชจ้ า่ ยส่วนบุคคล 271 2.6 338 2.8 406 2.7 426 2.6 500 2.9 เวชภัณฑ์และคา่ ตรวจ 185 1.8 217 1.8 202 1.3 222 1.4 217 1.2 รักษาพยาบาล คา่ ใช้จ่ายเก่ยี วกบั 1,797 17.1 2,161 17.7 2,955 19.7 3,768 23.1 3,608 20.6 การเดินทาง คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั 261 2.5 309 2.5 345 2.3 401 2.5 473 2.7 การสอื่ สาร การศึกษา 150 1.4 173 1.4 154 1.0 157 1.0 162 0.9 การบันเทิง การอ่าน 169 1.6 199 1.6 217 1.4 250 1.5 267 1.5 และกิจกรรมทาง ศาสนา ค่าใช้จา่ ยใน 285 2.7 304 2.5 272 1.8 219 1.3 150 0.9 การจดั งานพเิ ศษ คกาา่ รใชอจ้ปุ า่โภยไคมบ่เกรโิ่ียภวคกับ 1,118 10.6 1,445 11.8 1,738 11.6 1,763 10.8 2,051 11.7

หน้สี นิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 19 2.2.3 ทรพั ยส์ นิ ของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี เม่ือพิจารณามูลค่าทรัพย์สินท้ังหมดเฉล่ียต่อครัวเรือนของครัวเรือนเกษตรที่เป็นหน้ีใน ปี 2556 – 2558 พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยโดยเพ่ิมจาก 2,050,188 บาทต่อครัวเรือนใน ปี 2556 เปน็ 2,574,108 บาทตอ่ ครวั เรอื นในปี 2558 ซง่ึ มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ปน็ อสงั หารมิ ทรพั ยท์ ง้ั หมด เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื น มกี ารเพมิ่ ขนึ้ เรว็ มากกวา่ มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ดา้ นอนื่ ๆ เพม่ิ ขนึ้ ถงึ 2.8 เทา่ จากปี 2550 คอื 772,923 บาทตอ่ ครวั เรือน เป็น 2,168,070 บาทต่อครวั เรือน ตาราง 14 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื นของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ จำ� แนกตามประเภททรพั ยส์ นิ พ.ศ. 2550 - 2558 ประเภททรัพย์สนิ 2550 2552 2554 2556 2558 บาท บาท บาท บาท บาท ตอ่ ครัวเรอื น ต่อครัวเรือน ต่อครวั เรือน ตอ่ ครวั เรอื น ตอ่ ครัวเรือน มลู คา่ ทรัพย์สนิ ทงั้ หมด 887,810 1,211,799 1,414,939 2,050,188 2,574,108 มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ปน็ 772,923 1,068,200 1,234,973 1,686,479 2,168,070 อสงั หารมิ ทรพั ยท์ ง้ั หมด มูลค่าทรัพยส์ ินทีเ่ ปน็ (ยานพาหนะ 114,887 143,599 179,963 261,058 302,117 ทกุ ประเภท) ทค่ี รวั เรอื นเปน็ เจา้ ของ ใช้ในครวั เรือนและประกอบธุรกจิ มูลค่าสนิ ทรัพย์ทางการเงิน - - - 102,650 103,920 หมายเหตุ: พ.ศ. 2550 - 2554 มลู ค่าสนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ เป็นขอ้ ถามแบบตัวเลอื ก ดงั นัน้ อาจท�ำใหม้ ลู ค่าทรัพยส์ นิ ท้ังหมดในปีดังกล่าว นอ้ ยกวา่ ท่ีเปน็ จริง จึงไมส่ ามารถนำ� ทรัพย์สินท้งั หมดมาเปรยี บเทยี บกันได้ 2.2.4 การเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ และพนื้ ทท่ี ำ� การเกษตรของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ เมอ่ื พจิ ารณาการเปน็ เจา้ ของทดี่ นิ ของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ ในปี 2556 และ 2558 พบวา่ ครวั เรอื นทม่ี ที ดี่ นิ เปน็ ของตนเองมรี อ้ ยละของครวั เรอื นทเ่ี ปน็ หนมี้ ากทส่ี ดุ รองลงมาคอื ครวั เรอื นทไี่ มม่ ี ทด่ี นิ เปน็ ของตนเอง และครวั เรอื นเกษตรทไ่ี มใ่ ชท้ ด่ี นิ ในการทำ� เกษตร สว่ นมลู คา่ หนสี้ นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื น พบวา่ ครวั เรอื นทไี่ มม่ ที ดี่ นิ เปน็ ของตนเองมมี ลู คา่ หนส้ี นิ สงู ทส่ี ดุ รองลงมาคอื ครวั เรอื นทม่ี ที ดี่ นิ เปน็ ของ ตนเอง และครวั เรอื นเกษตรทไี่ มใ่ ชท้ ด่ี นิ ในการทำ� เกษตร ตามลำ� ดบั แผนภมู ิ 3 คกราัวรเเรปือน็ นเจเก้าษขตอรงททเี่่ีดปนิ ็นพหน.ศ้ี .แ2ล5ะ5ม6ลู คแา่ลหะน2ีส้ 5นิ 5เ8ฉลยี่ ของครัวเรือนเกษตรทเี่ ป็นหนี้ จำ� แนกตาม ร้อยละของรคอรยัวละเขรออื งคนรเวั กเรษือนตเกรษทตเ่ีรปที่เน็ปน หหนนี้ ี้ มลู คมาลูหนคสี้ า่ นิ หขอนงคีส้ รนิัวเขรอื อนเงกคษรตรัวทเีเ่รปือน หนนเ้ี กษตรท่เี ป็นหน้ี 66.1.1 ในในกไกามไามรใ่รทชใ ทชท้ำ� าํทเดี่เกี่ดกนิษินษตตรร 115533,,884444 22555588 5.55.5 เเปปน็ ไน ไมขขมม่ออม ทงีงที ตตดี่่ีดนนินนิ เเอองง 112233,,770033 22555566 1155..9 1166..8 223399,9,9550 0 118844,,551199 7788.0 มมทีที ดี่ด่ี นินิ 119966,,336677 7777.8.8 เเปปน็ น ขขอองงตตนนเเอองง 116677,7,07707 รร้ออ ยยลละะ 110000..00 8800..00 6600..00 4400..00 2200..00 -- 5500,0,00000 110000,,000000 115500,,000000 220000,,000000 225500,,000000 330000,0,00000 บบาทาท

20 หน้สี นิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 เม่ือพิจารณาจ�ำนวนพ้ืนท่ีท�ำการเกษตรในปี 2556 และ 2558 พบว่าครัวเรือนที่ เปน็ หนสี้ ว่ นใหญม่ จี ำ� นวนพน้ื ทที่ ำ� การเกษตรอยใู่ นชว่ ง 20 ไร่ แตไ่ มถ่ งึ 40 ไร่ รองลงมามจี �ำนวนพน้ื ท่ี ท�ำการเกษตรอย่ใู นชว่ ง 10 ไร่ แต่ไมถ่ ึง 20 ไร่ และเมอ่ื เปรยี บเทยี บกับปี 2556 พบว่าครัวเรือนทีม่ ี จำ� นวนพ้ืนทที่ �ำการเกษตรตง้ั แต่ 40 ไร่ขึ้นไป มสี ัดส่วนทเ่ี พม่ิ สงู ขนึ้ ในปี 2558 ในขณะที่มลู คา่ หนีส้ นิ เฉลยี่ ของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ เกอื บทกุ ชว่ งของจำ� นวนพนื้ ทที่ ำ� การเกษตร มมี ลู คา่ หนสี้ นิ เพม่ิ สงู ขึ้นเมื่อเทยี บกบั ปี 2556 ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ ่ายิง่ มจี ำ� นวนพื้นท่ีท�ำการเกษตรมากหน้สี ินเฉล่ียต่อครวั เรอื น จะสูงตามไปด้วย แผนภมู ิ 4 ครวั เรอื นเกษตรทเี่ ป็นหน้ี และมลู คา่ หน้สี นิ เฉล่ยี ของครัวเรอื นเกษตรท่เี ป็นหน้ี จำ� แนกตามจ�ำนวนพืน้ ท่ที �ำการเกษตร พ.ศ. 2556 และ 2558 ร้อยรลอ้ ยะลขะอขงอคงครรวั วั เเรรอื นเกกษษตตรทรทเ่ี ปเ่ีน็ปหน็ นหี้ นี้ มมลู ลู คคา่ หหนน้ีสส้ี ินนิเฉเฉลี่ยลขยี่ อขงอครงัวคเรอืวั นเรเกอื ษนตเรกทษีเ่ ปตน็ รหทนเ่ี ้ีปน็ หนี้ 119.971.717.70.0 30350,59,59753738822,2,2666 3331031.4.0.74.7 434..5.345.4 4040ไรไ่รขข่ น้ึ น้ึ ไไปป 111223771,7,,703351020182285250,50,8580,09,1913311 55..9.0 2200 ไไรร่่ << 4400 ไไรร่่ 999779,8,9,861,16400466 2525858 292.2.727.3.3 66,629,62997619,47,214022020,01,119968844,7,73300 25255656 1133..00 1100ไไรร่ ่<<2200ไไรร่ ่ 55 ไไรร่่ << 1100 ไไรร่่ 22 ไไรร่่ << 55 ไไรร่่ น้อยกว่า 2 ไร่ รอ้ ้อยยลละะ 40.0 30.0 2200.0 1100..00 00..00 0 1000,,00000 200,000 3000,,00000 4400,000 บาท 2.3 หนี้สินของครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ 2.3.1 แหลง่ เงนิ กู้ พจิ ารณาถงึ แหลง่ เงนิ กยู้ มื ของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนใ้ี นปี 2550 - 2558 ครวั เรอื นเกษตร ทเ่ี ปน็ หนสี้ ว่ นมากกยู้ มื เงนิ ผา่ นแหลง่ เงนิ กเู้ งนิ ในระบบมากกวา่ นอกระบบ โดยในปี 2550 มกี ารกใู้ นระบบ รอ้ ยละ 83.9 และในปี 2558 เพมิ่ เปน็ 93.9 ซงึ่ เปน็ ไปตามทร่ี ฐั บาลใหค้ วามสำ� คญั และมกี ารผลกั ดนั ให้ ลดการกเู้ งนิ นอกระบบ และเมอื่ พจิ ารณาแหลง่ เงนิ กใู้ นระบบ ปี 2550 - 2558 พบวา่ ครวั เรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หน้ี มากกวา่ ครง่ึ หนงึ่ กยู้ มื จากธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร รองลงมาคอื กจู้ ากกองทนุ หมบู่ า้ น/ชมุ ชนเมอื ง สถาบนั การเงนิ และแหลง่ เงนิ กทู้ นุ อน่ื สหกรณอ์ อมทรพั ย/์ สวสั ดกิ ารหนว่ ยงาน บคุ คลอนื่ ภายนอกครวั เรอื น ธนาคารพาณชิ ย์ และธนาคารอาคารสงเคราะห/์ ธนาคารออมสนิ ตามลำ� ดบั

หนสี้ นิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 21 ตาราง 15 ครวั เรือนเกษตรทเี่ ป็นหนี้ จำ� แนกตามแหล่งท่มี าของเงนิ กู้ พ.ศ. 2550 - 2558 หนว่ ย: รอ้ ยละ แหลง่ ที่มาเงินกู้ 2550 2552 2554 2556 2558 รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ในระบบ 83.9 86.4 91.0 94.9 93.9 นอกระบบ 4.3 3.9 2.5 1.9 2.3 ในและนอกระบบ 11.8 9.7 6.6 3.2 3.8 ตาราง 16 ครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ จำ� แนกตามแหลง่ เงนิ กใู้ นระบบ พ.ศ. 2550 - 2558 แหล่งเงินกู้ 2550 2552 2554 2556 2558 ในระบบ  จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ รวม 3,278,743 100.0 3,309,617 100.0 3,169,942 100.0 3,177,388 100.0 2,359,336 100.0 ธนาคารพาณิชย์ 51,324 1.6 46,695 1.4 54,704 1.7 72,241 2.3 59,549 2.5 ธนาคารเพือ่ 1,835,479 56.0 1,888,136 57.0 1,712,240 54.0 1,718,678 54.1 1,263,382 53.5 การเกษตรและ สหกรณก์ ารเกษตร ธนาคาร อาคารสงเคราะห/์ 37,351 1.1 31,918 1.0 42,549 1.3 38,003 1.2 47,144 2.0 ธนาคารออมสนิ สถาบนั การเงนิ และ 244,141 7.4 278,647 8.4 307,612 9.7 321,250 10.1 245,808 10.4 แหลง่ เงินทนุ อืน่ สหกรณอ์ อมทรพั ย/์ 123,474 3.8 121,784 3.7 74,462 2.3 70,752 2.2 71,009 3.0 สวสั ดกิ ารหนว่ ยงาน กองทนุ หมบู่ า้ น/ 763,620 23.3 729,313 22.0 858,811 27.1 880,654 27.7 607,320 25.7 ชมุ ชนเมอื ง บคุ คลอ่นื ภายนอก 223,354 6.8 213,125 6.4 119,564 3.8 75,811 2.4 65,123 2.8 ครัวเรือน เมื่อพิจารณาแหล่งเงินกู้ของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหนี้ตามภาค พบว่า ครัวเรือนเป็น หนี้เงินกู้ในระบบมากที่สุด คือครัวเรือนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด และแหล่งเงินกู้ในระบบของครัวเรือนใน แตล่ ะภาค 3 อันดับแรก ปี 2558 พบวา่ ครัวเรือนเกษตรทเ่ี ป็นหนีใ้ นภาคใต้ และกรุงเทพมหานคร และ 3 จังหวัด มีการกู้ผ่านธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรมากที่สุด รองลงมาคือ สถาบันการเงินและแหล่งเงินทุนอ่ืน และกองทุนหมู่บ้าน/ชุมชนเมือง ตามล�ำดับ ส่วนภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มกี ารกผู้ า่ นธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร มากทีส่ ดุ รองลงมาคือ กองทนุ หมู่บา้ น/ชมุ ชนเมอื ง และสถาบันการเงนิ /แหลง่ เงนิ ทนุ อ่ืน ตามล�ำดับ

22 หนี้สินของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2558 ตาราง 17 ครวั เรอื นเกษตรท่ีเปน็ หน้ี จำ� แนกตามแหลง่ ท่มี าของเงนิ กูแ้ ละภาค พ.ศ. 2550 – 2558 ภาค แหลง่ 2550 2552 2554 2556 2558 เงนิ กู้ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ รวม 3,278,743 100.0 3,309,617 100.0 3,169,942 100.0 3,177,388 100.0 2,359,336 100.0 ทวั่ ราช ในระบบ 2,750,512 83.9 2,858,915 86.4 2,883,357 91.0 3,014,128 94.9 2,214,910 93.9 อาณาจกั ร นอกระบบ 140,849 4.3 128,755 3.9 77,954 2.5 60,377 1.9 55,160 2.3 ในและ 387,382 11.8 321,947 9.7 208,630 6.6 102,883 3.2 89,265 3.8 นอกระบบ รวม 11,702 0.4 20,479 0.6 18,171 0.6 10,221 0.3 22,567 1.0 กรงุ เทพฯและ ในระบบ 8,794 0.3 15,463 0.5 16,963 0.5 9,743 0.3 18,433 0.8 3 จงั หวดั นอกระบบ 2,030 0.1 2,877 0.1 534 0.0 478 0.0 1,381 0.1 ในและ 878 0.0 2,139 0.1 674 0.0 0 0.0 2,753 0.1 นอกระบบ รวม 403,668 12.3 439,107 13.3 372,397 11.7 446,754 14.1 301,307 12.8 ในระบบ 331,474 10.1 363,205 11.0 325,942 10.3 405,807 12.8 271,047 11.5 กลาง นอกระบบ 18,549 0.6 24,298 0.7 12,086 0.4 13,988 0.4 10,850 0.5 ในและ 53,646 1.6 51,604 1.6 34,368 1.1 26,959 0.8 19,410 0.8 นอกระบบ รวม 926,717 28.3 932,174 28.2 863,810 27.3 895,675 28.2 696,540 29.5 ในระบบ 800,976 24.4 831,134 25.1 813,745 25.7 856,730 27.0 672,656 28.5 เหนอื นอกระบบ 28,137 0.9 22,849 0.7 12,848 0.4 13,442 0.4 5,476 0.2 ในและ 97,603 3.0 78,192 2.4 37,217 1.2 25,503 0.8 18,409 0.8 นอกระบบ รวม 1,550,079 47.3 1,530,008 46.2 1,532,497 48.3 1,443,507 45.4 988,482 41.9 ตะวันออก ในระบบ 1,318,973 40.2 1,336,944 40.4 1,381,634 43.6 1,391,397 43.8 944,869 40.0 เฉยี งเหนือ นอกระบบ 57,151 1.7 52,917 1.6 33,013 1.0 20,700 0.7 13,604 0.6 ในและ 173,954 5.3 140,147 4.2 117,850 3.7 31,411 1.0 30,008 1.3 นอกระบบ รวม 386,576 11.8 387,849 11.7 383,067 12.1 381,231 12.0 350,440 14.9 ในระบบ 290,294 8.9 312,169 9.4 345,074 10.9 350,451 11.0 307,905 13.1 ใต้ นอกระบบ 34,981 1.1 25,816 0.8 19,472 0.6 11,769 0.4 23,849 1.0 ในและ 61,301 1.9 49,865 1.5 18,522 0.6 19,010 0.6 18,685 0.8 นอกระบบ หมายเหตุ : 3 จังหวดั ได้แก่ ปทมุ ธานี นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ

หนส้ี นิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 23 ตาราง 18 ครวั เรือนเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ จ�ำแนกตามแหลง่ เงนิ กู้ในระบบและภาค พ.ศ. 2550 – 2558 ภาค แหลง่ 2550 2552 2554 2556 2558 เงนิ กู้ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ 1 11,702 100.0 20,479 100.0 18,171 100.0 10,221 100.0 22,567 100.0 กรงุ เทพมหานคร 2 1,184 10.1 663 3.2 0 0.0 0 0.0 998 4.4 และ 3 จงั หวดั 3 5,096 43.6 10,184 49.7 11,516 63.4 4,814 47.1 9,787 43.4 4 5 0 0.0 310 1.5 2,457 13.5 0 0.0 0 0.0 6 2,008 17.2 4,516 22.1 1,998 11.0 4,572 44.7 8,622 38.2 7 537 4.6 230 1.1 0 0.0 0 0.0 0 0.0 8 847 7.2 454 2.2 991 5.5 358 3.5 1,779 7.9 1 2,030 17.3 4,123 20.1 1,208 6.6 478 4.7 1,381 6.1 403,668 100.0 439,107 100.0 372,397 100.0 446,754 100.0 301,307 100.0 2 12,710 3.1 11,913 2.7 5,701 1.5 11,443 2.6 10,083 3.3 3 203,268 50.4 228,887 52.1 173,391 46.6 216,046 48.4 141,097 46.8 4 5,937 1.5 4,732 1.1 6,381 1.7 2,249 0.5 6,004 2.0 กลาง 5 31,174 7.7 33,047 7.5 36,292 9.7 48,779 10.9 40,124 13.3 6 10,493 2.6 15,129 3.4 13,284 3.6 13,904 3.1 6,476 2.1 7 104,940 26.0 105,391 24.0 118,434 31.8 134,667 30.1 82,821 27.5 8 35,147 8.7 40,007 9.1 18,913 5.1 19,666 4.4 14,702 4.9 1 926,717 100.0 932,174 100.0 863,810 100.0 895,675 100.0 696,540 100.0 2 16,525 1.8 6,264 0.7 11,642 1.3 9,508 1.1 12,323 1.8 3 552,423 59.6 597,182 64.1 523,034 60.5 527,217 58.9 419,393 60.2 4 10,679 1.2 7,684 0.8 7,261 0.8 4,151 0.5 9,519 1.4 เหนือ 5 62,581 6.8 61,683 6.6 56,035 6.5 50,255 5.6 40,970 5.9 6 29,156 3.1 25,175 2.7 13,861 1.6 20,900 2.3 16,454 2.4 7 211,815 22.9 196,194 21.0 230,106 26.6 265,146 29.6 189,475 27.2 8 43,539 4.7 37,992 4.1 21,872 2.5 18,496 2.1 8,406 1.2 1 1,550,079 100.0 1,530,008 100.0 1,532,497 100.0 1,443,507 100.0 988,482 100.0 เตฉะยี วงันเหอนอกอื 2 12,062 0.8 14,694 1.0 15,148 1.0 19,502 1.4 11,175 1.1 3 937,134 60.5 903,877 59.1 852,319 55.6 835,942 57.9 554,069 56.1 4 8,575 0.6 8,315 0.5 10,948 0.7 10,150 0.7 13,536 1.4 5 48,427 3.1 75,107 4.9 103,042 6.7 101,337 7.0 74,495 7.5 6 60,725 3.9 58,046 3.8 34,086 2.2 23,353 1.6 33,894 3.4 7 385,025 24.8 375,037 24.5 463,644 30.3 431,086 29.9 285,343 28.9 8 98,132 6.3 94,932 6.2 53,309 3.5 22,137 1.5 15,970 1.6 1 386,576 100.0 387,849 100.0 383,067 100.0 381,231 100.0 350,440 100.0 2 8,843 2.3 13,160 3.4 22,213 5.8 31,788 8.3 24,971 7.1 3 137,558 35.6 148,005 38.2 151,979 39.7 134,659 35.3 139,035 39.7 4 12,160 3.1 10,877 2.8 15,502 4.0 21,453 5.6 18,085 5.2 ใต้ 5 99,952 25.9 104,295 26.9 110,245 28.8 116,306 30.5 81,596 23.3 4.0 6 22,563 5.8 23,204 6.0 13,231 3.5 12,595 3.3 14,185 13.7 7 60,994 15.8 52,237 13.5 45,635 11.9 49,397 13.0 47,903 7.0 8 44,506 11.5 36,071 9.3 24,263 6.3 15,033 3.9 24,664 หมายเหตุ : - แหลง่ เงินกู้ 1=รวม 2=ธนาคารพาณิชย์ 3=ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 4=ธนาคารอาคารสงเคราะห์/ธนาคารออมสิน 5=สถาบันการเงินและแหล่งเงนิ ทนุ อ่ืน 6=สหกรณ์ออมทรพั ย์/สวัสดกิ ารหน่วยงาน 7=กองทนุ หมู่บ้าน/ชุมชนเมอื ง 8=บคุ คลอืน่ ภายนอกครัวเรอื น - 3 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ

24 หนสี้ นิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 2.3.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการกู้ยืม สำ� หรบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื ของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หน้ี สว่ นใหญก่ ยู้ มื เพอื่ ใชท้ ำ� การ เกษตรมากที่สดุ รองลงมาเพื่อใชจ้ า่ ยเพ่ือการอปุ โภคบริโภคอ่นื ๆ ในครัวเรอื น ซ้ือ/เชา่ ซ้ือบ้าน/ที่ดนิ ใช้ประกอบธรุ กิจ ใชใ้ นการศึกษา อ่ืนๆ ตามล�ำดบั เม่ือพิจารณาวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมตามรายภาค ในปี 2558 พบว่า ครัวเรือน เกษตรท่ีเป็นหนี้เกือบทุกภาคมีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืม เพื่อใช้ท�ำการเกษตรมากท่ีสุด รองลงมา เพ่ือใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคอ่ืนๆ ในครัวเรือน ซ้ือ/เช่าซื้อบ้าน/ท่ีดิน ใช้ประกอบธุรกิจ ใช้ในการศึกษาอน่ื ๆ ตามล�ำดบั แต่มภี าคใต้กบั กรงุ เทพมหานครและ 3 จงั หวดั ท่ีมคี วามน่าเปน็ ห่วง เน่ืองจากมีสัดส่วนของการกู้เพื่อใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคในครัวเรือนสูงมากกว่าร้อยละ 40 ตาราง 19 มูลคา่ หน้สี ินเฉลี่ยตอ่ ครวั เรอื นและร้อยละของมลู ค่าหน้สี ินของครัวเรอื นเกษตรทเี่ ป็นหน้ี จ�ำแนกตามวตั ถปุ ระสงค์ของการก้ยู มื พ.ศ. 2550 - 2558  วตั ถปุ ระสงคใ์ นการก้ยู มื 2550 2552 2554 2556 2558 บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ รวม 107,262 100.0 121,965 100.0 140,404 100.0 168,119 100.0 200,689 100.0 ซอ้ื /เชา่ ซอ้ื บา้ น และ/หรอื ทด่ี นิ 11,879 11.1 12,338 10.1 13,038 9.3 15,740 9.4 13,561 6.8 ใช้ในการศกึ ษา 1,655 1.5 1,969 1.6 1,824 1.3 1,603 1.0 1,704 0.8 ใช้จ่ายเพ่ือการอปุ โภค 27,699 25.8 26,394 21.6 41,715 29.7 53,867 32.0 61,799 30.8 บริโภคอืน่ ๆในครัวเรอื น ใชป้ ระกอบธุรกจิ 3,713 3.5 7,801 6.4 7,304 5.2 6,391 3.8 11,642 5.8 ใชท้ �ำการเกษตร 60,510 56.4 71,736 58.8 75,034 53.4 89,048 53.0 111,288 55.5 อืน่ ๆ 1,805 1.7 1,726 1.4 1,489 1.1 1,470 0.9 695 0.3

หน้ีสินของครวั เรือนเกษตร พ.ศ. 2558 25 ตาราง 20 มูลคา่ หนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือนและร้อยละของมูลคา่ หนี้สนิ ของครัวเรอื นเกษตรท่เี ปน็ หน้ี จำ� แนกตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการกู้ยมื และภาค พ.ศ. 2550 - 2558 ภาค วตั ใถนปุ กราะรสกงู้ ค์ 2550 2552 2554 2556 2558 บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ บาท รอ้ ยละ 1 434,259 100.0 303,863 100.0 384,430 100.0 237,769 100.0 255,733 100.0 2 0 0.0 7,859 2.6 202,123 52.6 0 0.0 0 0.0 กรงุ เทพมหานคร 3 6,875 1.6 257 0.1 194 0.1 0 0.0 0 0.0 และ 3 จงั หวดั 4 31,875 7.3 83,794 27.6 155,470 40.4 184,869 77.8 111,124 43.5 5 424 0.1 101,111 33.3 1,683 0.4 0 0.0 27,568 10.8 6 395,085 91.0 110,843 36.5 24,961 6.5 47,851 20.1 117,041 45.8 7 0 0.0 0 0.0 0 0.0 5,049 2.1 0 0.0 1 196,530 100.0 173,912 100.0 187,568 100.0 187,611 100.0 236,648 100.0 2 15,810 8.0 10,018 5.8 9,882 5.3 12,997 6.9 15,785 6.7 3 1,885 1.0 1,321 0.8 1,461 0.8 712 0.4 1,462 0.6 กลาง 4 27,605 14.0 23,308 13.4 35,035 18.7 43,701 23.3 61,056 25.8 5 6,928 3.5 15,876 9.1 7,638 4.1 8,373 4.5 27,757 11.7 6 143,672 73.1 121,545 69.9 131,496 70.1 120,036 64.0 129,665 54.8 7 631 0.3 1,844 1.1 2,055 1.1 1,793 1.0 923 0.4 1 104,945 100.0 119,601 100.0 133,589 100.0 167,099 100.0 204,089 100.0 2 11,817 11.3 11,256 9.4 7,731 5.8 11,715 7.0 10,244 5.0 3 1,567 1.5 1,315 1.1 2,461 1.8 1,105 0.7 1,315 0.6 เหนอื 4 19,558 18.6 17,977 15.0 21,155 15.8 34,313 20.5 38,861 19.0 5 2,737 2.6 6,858 5.7 6,124 4.6 4,623 2.8 8,119 4.0 6 67,634 64.4 81,313 68.0 95,703 71.6 115,302 69.0 145,245 71.2 7 1,633 1.6 882 0.7 415 0.3 42 0.0 304 0.1 1 72,052 100.0 87,781 100.0 103,005 100.0 128,949 100.0 162,881 100.0 2 6,333 8.8 7,808 8.9 6,436 6.2 13,253 10.3 7,500 4.6 ตเฉะยี วงนัเหอนออกื 3 1,608 2.2 2,157 2.5 1,476 1.4 1,396 1.1 1,287 0.8 4 21,847 30.3 19,291 22.0 33,700 32.7 37,933 29.4 52,939 32.5 5 2,394 3.3 4,678 5.3 3,106 3.0 5,770 4.5 7,867 4.8 6 37,718 52.3 51,984 59.2 56,413 54.8 68,514 53.1 92,125 56.6 7 2,151 3.0 1,863 2.1 1,874 1.8 2,083 1.6 1,164 0.7 1 150,887 100.0 194,078 100.0 247,964 100.0 294,117 100.0 266,115 100.0 2 30,526 20.2 35,677 18.4 45,512 18.4 38,254 13.0 36,211 13.6 3 1656 1.1 3624 1.9 2,213 0.9 4,647 1.6 3,971 1.5 ใต้ 4 70,649 46.8 75,112 38.7 121,238 48.9 168,540 57.3 129,847 48.8 5 8,087 5.4 8,316 4.3 26,706 10.8 10,740 3.7 14,409 5.4 6 37,857 25.1 68,178 35.1 50,401 20.3 69,908 23.8 81,677 30.7 7 2,112 1.4 3,171 1.6 1,894 0.8 2,028 0.7 0 0.0 หมายเหตุ: - วัตถปุ ระสงคข์ องการกูย้ ืม 1=รวม 2=ซอ้ื /เช่าซ้อื บา้ น และ/หรือท่ดี ิน 3=ใช้ในการศึกษา 4=ใช้จา่ ยเพือ่ การอุปโภคบริโภคอนื่ ๆในครวั เรือน 5=ใชป้ ระกอบธุรกจิ 6=ใชท้ �ำการเกษตร 7= อืน่ ๆ - 3 จงั หวัด ได้แก่ ปทมุ ธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ

26 หน้ีสนิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 2.4 ความสามารถในการชำ� ระหน้ี 2.4.1 ความสามารถในการช�ำระหนี้ (ด้านรายได้) สัดส่วนหน้ีสินต่อรายได้ของครัวเรือน แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการช�ำระหนี้ของ ครวั เรอื น หากมสี ดั สว่ นทสี่ งู แสดงถงึ ความสามารถในการช�ำระหนไี้ ดใ้ นระดบั ตำ�่ กลบั กนั หากมสี ดั สว่ น ทตี่ ำ�่ จะแสดงถงึ ความสามารถในการชำ� ระหนใ้ี นระดบั สงู เมอ่ื เปรยี บเทยี บความสามารถในการชำ� ระหนี้ ของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หน้ี ปี 2550 – 2558 พบวา่ ครวั เรอื นมคี วามสามารถในการชำ� ระหนลี้ ดลง โดยปี 2550 มสี ดั สว่ นที่ 8.7 และปี 2558 มสี ดั สว่ นท่ี 9.1 ทง้ั นอ้ี าจเนอ่ื งมาจากในปี 2558 ครวั เรอื น มรี ายไดล้ ดลง แตก่ ลบั มมี ลู คา่ หนสี้ นิ ทเี่ พม่ิ มากขน้ึ และเมอ่ื เปรียบเทียบกันระหว่างภาค พบว่า ในปี 2550 – 2554 ครัวเรอื นเกษตรทีเ่ ป็น หนใี้ นภาคใต้มคี วามสามารถในการช�ำระหน้ดี ีสุด รองลงมาคอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคกลาง ภาคเหนือ และ กรงุ เทพมหานครและ 3 จังหวัด ส่วนในปี 2556 - 2558 ครัวเรอื นเกษตรทเ่ี ปน็ หนี้ ในภาคกลางมีความสามารถในการช�ำระหนี้ดีที่สุด รองลงมาคือ กรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคเหนือตามล�ำดับ ตาราง 21 มลู ค่าหน้ีสิน รายได้ทั้งส้นิ และสดั สว่ นมลู คา่ หนีส้ ินต่อรายได้ท้ังส้นิ ของครวั เรอื นเกษตร ที่เป็นหนี้ พ.ศ. 2550 - 2558  ภาค 2550 2552 2554 2556 2558 123123123123123 ทว่ั ราชอาณาจกั ร 107 12 8.7 122 16 7.8 140 20 7.1 168 22 7.6 201 22 9.1 กรงุ เทพมหานคร 434 58 7.5 304 28 10.9 384 37 10.3 238 36 6.7 256 31 8.1 และ 3 จงั หวดั กลาง 197 19 10.2 174 22 8 188 24 7.9 188 30 6.3 237 30 7.8 เหนอื 105 10 10 120 14 8.3 134 16 8.3 167 20 8.5 204 19 10.9 ตะวนั ออก 72 9 8.2 88 11 8 103 15 6.9 129 17 7.6 163 19 8.5 เฉยี งเหนอื ใต้ 151 22 6.9 194 29 6.6 248 44 5.7 294 39 7.5 266 29 9.2 หมายเหตุ: - 1 มลู ค่าหนีส้ นิ เฉลย่ี ตอ่ ครัวเรือนเกษตรท่เี ป็นหนี้ (พนั บาทต่อครวั เรอื น) - 2 รายได้ท้ังสนิ้ เฉลีย่ ต่อเดือนของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี (พันบาทตอ่ เดือน) - 3 สัดส่วนมูลค่าหน้ีสินเฉลีย่ ตอ่ ครัวเรือนท่ีเปน็ หน้ี / รายไดท้ งั้ สิ้นเฉลีย่ ตอ่ เดือนของครัวเรือนเกษตรที่เป็นหน้ี (เท่า) - 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ ปทมุ ธานี นนทบรุ ี และสมุทรปราการ ความสามารถในการช�ำระหน้ีแบ่งตามระดับรายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือนเกษตรท่ีเป็นหน้ี พบวา่ ในปี 2558 ครวั เรอื นทมี่ รี ายไดท้ งั้ สน้ิ ไมเ่ กนิ 10,000 บาท เปน็ กลมุ่ ทม่ี คี วามสามารถในการ ชำ� ระหนใี้ นระดบั แยส่ ดุ จากสดั สว่ นหนส้ี นิ ตอ่ รายไดส้ งู สดุ คอื 15.5 เทา่ ในขณะทคี่ รวั เรอื นทมี่ รี ายได้ ตง้ั แต่ 30,001 บาทขน้ึ ไปมคี วามสามารถในการชำ� ระหนใ้ี นระดบั ดสี ดุ จากสดั สว่ นหนส้ี นิ ตอ่ รายได้ 7.7 เทา่

หนี้สนิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 27 ตาราง 22 รายไดท้ ง้ั สนิ้ เฉลย่ี ตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น มลู คา่ หนส้ี นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื น และสดั สว่ นมลู คา่ หนสี้ นิ ตอ่ รายไดท้ งั้ สนิ้ ของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ จำ� แนกตามระดบั รายไดท้ ง้ั สน้ิ ของครวั เรอื น พ.ศ. 2558 ระดบั รายได้ทง้ั สน้ิ ของครวั เรือน รายได้ท้ังส้ิน มูลค่าหนส้ี นิ เฉล่ยี สดั ส่วนหน้สี ิน เฉลย่ี ตอ่ เดอื นต่อ ต่อครวั เรือน ต่อรายได้ รวม ครวั เรอื น (บาท) (บาท) (เท่า) ไม่เกนิ 10,000 บาท 200,689 9.1 10,001-20,000 บาท 22,035 99,570 15.5 20,001-30,000 บาท 6,443 138,372 9.6 ตงั้ แต่ 30,001 บาทขึ้นไป 14,446 230,566 9.5 24,319 44,767 7.7 57,535 2.4.2 ความสามารถในการช�ำระหนี้ (ด้านทรพั ย์สิน) นอกจากรายไดท้ แี่ สดงถงึ ความสามารถในการชำ� ระหนแ้ี ลว้ ทรพั ยส์ นิ ของครวั เรอื นกเ็ ปน็ อีกปัจจัยส�ำคัญที่สามารถแสดงถึงความสามารถในการช�ำระหนี้ได้เช่นกัน หากน�ำทรัพย์สินเหล่า น้นั มาเปล่ียนสภาพเปน็ ตวั เงิน เปรยี บเทยี บปี 2556 – 2558 พบว่าสดั สว่ นหนี้สินกบั ทรัพย์สินของ ครัวเรือนเกษตรท่เี ปน็ หน้ี มีแนวโน้มของความสามารถในการชำ� ระหนี้ (ดา้ นทรพั ยส์ ิน) ทดี่ ขี ้นึ จาก ปี 2556 ที่สัดส่วน 8.2 ในปี 2558 ที่สดั สว่ น 7.8 และเม่ือพจิ ารณาเป็นรายภาค พบวา่ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสามารถในการช�ำระหน้ีท่ีแย่ลงเมื่อเทียบกับปี 2556 และ ภาคท่ีมคี วามสามารถในการชำ� ระหนแ้ี ยส่ ดุ คอื ภาคกลาง และภาคเหนือ ท่ีสดั ส่วน 8.9 ในปี 2558 ตาราง 23 มลู คา่ หนสี้ นิ มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ และสดั สว่ นมลู คา่ หนสี้ นิ ตอ่ มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ของครวั เรอื นเกษตร ทเี่ ป็นหน้ี พ.ศ. 2550 - 2558 ภาค 2550 2552 2554 2556 2558 3 12312312312312 7.8 ทวั่ ราชอาณาจกั ร 107 888 12.1 122 1,212 10.1 140 1,415 9.9 168 2,050 8.2 201 2,574 7.9 กรงุ เทพมหานคร 434 6,035 7.2 304 5,587 5.4 384 3,838 10 238 2,407 9.9 256 3,228 และ 3 จงั หวดั 8.9 กลาง 197 1,332 14.8 174 1,476 11.8 188 1,776 10.6 188 2,606 7.2 237 2,661 8.9 เหนอื 105 656 16 120 876 13.7 134 1,002 13.3 167 1,561 10.7 204 2,296 7.6 ตะวนั ออก 72 709 10.2 88 958 9.2 103 1,206 8.5 129 1,897 6.8 163 2,141 เฉยี งเหนอื 6.3 ใต้ 151 1,544 9.8 194 2,490 7.8 248 2,717 9.1 294 3,120 9.4 266 4,231 หมายเหตุ: - 1 มูลค่าหน้สี ินเฉลี่ยตอ่ ครัวเรือนเกษตรทเี่ ปน็ หน้ี (พนั บาทต่อครวั เรอื น) - 2 มูลค่าทรัพยส์ ินเฉล่ยี ตอ่ ครัวเรือนเกษตรทีเ่ ป็นหน้ี (พันบาทต่อครวั เรอื น) - 3 สดั สว่ นมูลค่าหนสี้ ินเฉลยี่ ต่อครัวเรือนที่เปน็ หนี้ / มลู ค่าทรพั ย์สินเฉล่ยี ตอ่ ครัวเรือนท่เี ป็นหนี้ (ร้อยละ เทา่ ) - 3 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี นนทบรุ ี และสมุทรปราการ

28 หนส้ี ินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 º··่Õ 3 »˜¨¨ÂÑ ·Õ่ÁÍÕ Ô·¸¾Ô ŵ‹Í ¡ÒÃ໚¹Ë¹Õ¢้ ͧ¤ÃÑÇàÃ×͹à¡ÉµÃ

หนี้สนิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 29 บทท่ี 3 ปัจจัยทมี่ อี ิทธพิ ลต่อการเปน็ หน้ีของครวั เรอื นเกษตร ในบทกอ่ นหนา้ นจ้ี ะเปน็ การอธบิ ายเชงิ พรรณนา เกย่ี วกบั ลกั ษณะทว่ั ไปทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมของครวั เรอื นเกษตรในภาพรวมและของครวั เรอื นเกษตรทเี่ ปน็ หนี้ รวมถงึ สถานการณก์ าร เปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตร แตย่ งั ไมค่ รอบคลมุ ถงึ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตร เพื่อให้หน่วยงานท่ีสนใจได้น�ำข้อมูลไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจและวางแผนนโยบายในการ แกไ้ ขปญั หาหนไ้ี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซง่ึ แทจ้ รงิ แลว้ การเปน็ หนไี้ มไ่ ดเ้ กดิ จากปจั จยั ใดปจั จยั หนงึ่ แตเ่ กดิ จากหลายๆ ปจั จยั ประกอบกนั ในบทนจ้ี งึ ศกึ ษาปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปน็ หนขี้ องครวั เรอื นเกษตร 3.1 นิยามที่ใช้ในการศกึ ษา ครัวเรือนเกษตร หมายถึง ครัวเรือนที่มีสถานะเศรษฐกิจและสังคมเป็นกลุ่มผู้ถือครอง ท�ำการเกษตร (ครัวเรือนที่มีรายได้หลักจากการประกอบอาชีพทางการเกษตร) ซึ่งประกอบด้วย การปลูกพืช การเลี้ยงปศุสัตว์ การเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำ การประมง ป่าไม้ ล่าสัตว์ หาของป่า และ การบรกิ ารทางการเกษตร รวมกล่มุ คนงานเกษตร หัวหนา้ ครวั เรอื น หมายถึง บุคคลในครัวเรอื นท่มี อี ายุ 15 ปขี ้ึนไปและไดร้ ับการยอมรับ นบั ถอื จากสมาชกิ ในครวั เรอื นใหเ้ ปน็ หวั หนา้ ครอบครวั อาจจะเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบทางดา้ นการเงนิ หรอื สวสั ดกิ ารของครัวเรือนหรอื ไม่กต็ าม สมาชิกในครัวเรือน หมายถงึ - ผูท้ ่อี าศยั อยเู่ ปน็ ประจำ� ในครัวเรอื น - ผู้ที่อยู่เป็นประจ�ำในครวั เรอื น แต่ได้จากไปทอี่ ่นื ชว่ั คราว โดยไมม่ วี ัตถุประสงค์ จะไปอยปู่ ระจำ� ท่อี ่ืน และมลี ักษณะอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ดังนี้ o จากไปที่อื่นชว่ั คราวมรี ะยะเวลานอ้ ยกวา่ 3 เดอื น นับจากวนั ทจ่ี ากไปถงึ วนั กอ่ นหน้าวนั สมั ภาษณ์ เช่น จากไปเพ่อื ทำ� งาน เรยี นหนงั สือ เปน็ ตน้ o จากไปเพ่ือศึกษา อบรม ดูงานต่างประเทศน้อยกว่า 6 เดอื น นบั จากวันที่ จากไปถึงวนั ก่อนวนั สัมภาษณ์ o จากไป 3 เดอื นขึ้นไป แต่ไมม่ ีท่ีอยอู่ าศัยประจำ� ทีอ่ ื่น เชน่ ไปท�ำงานในเรือ 4 เดอื น เซลสแ์ มน เปน็ ตน้ - ผู้ที่มาอยู่ช่ัวคราว (มีความสัมพันธ์ฉันท์ญาติ) 3 เดือนข้ึนไป ไม่รวมคนอาศัย คนรบั ใช้ และนายจา้ ง สถานภาพสมรส หมายถงึ ความผกู พนั ระหวา่ งชายกบั หญงิ ในการเปน็ สามภี รรยา แบง่ ไดด้ งั นี้ - โสด ไดแ้ ก่ ผู้ทยี่ ังไม่เคยสมรส - สมรส ได้แก่ ผู้ท่ีอยู่ร่วมกันฉันท์สามีภรรยาไม่ว่าจะได้ท�ำการสมรสกันถูกต้อง ตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม และแม้ว่าระหว่างไปท�ำการส�ำรวจ ท้ังสามีและภรรยาจะไม่ได้

30 หนส้ี นิ ของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 อยดู่ ้วยกนั แต่ยงั มีความสมั พนั ธ์ ฉันทส์ ามีภรรยากันอยู่ เชน่ สามีไปทำ� งานต่างจังหวดั หรือไปท�ำงานต่างประเทศ ก็ถอื วา่ ยงั สมรสกันอยู่ - หมา้ ย ไดแ้ ก่ ผู้ทค่ี สู่ มรสไดต้ ายไปแล้ว และขณะนยี้ งั ไมไ่ ด้สมรสใหม่ - หยา่ ได้แก่ สามภี รรยาที่หยา่ กนั โดยถกู ตอ้ งตามกฎหมายแลว้ - แยกกันอยู่ ได้แก่ ผู้ท่ีมิได้อยู่ร่วมกันฉันท์สามีภรรยาแล้ว แต่ยังไม่ได้หย่ากัน ตามกฎหมาย รวมทง้ั ผทู้ ไ่ี มไ่ ดส้ มรสอยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย แตไ่ มไ่ ดอ้ ยรู่ ว่ มกนั ฉนั ทส์ ามภี รรยาแลว้ - เคยสมรสแต่ไม่ทราบสถานภาพสมรส ได้แก่ ผู้ที่สมรสแต่ไม่ทราบว่าเป็น สถานภาพใดแน่ เคยสมรส ในการส�ำรวจน้ีหมายถงึ สมรส (รวมอยกู่ นิ ฉันทส์ ามีภรรยา) หมา้ ย หย่า แยกกนั อยู่ และเคยสมรสแต่ไม่ทราบสถานภาพสมรส อตั ราการพึ่งพงิ หมายถึง อัตราส่วนระหว่าง ประชากรเด็ก (อายุ 0-14 ป)ี รวม ผสู้ งู อายุ (อายุ 60 ปีขน้ึ ไป) ตอ่ ประชากรวัยแรงงาน ( อายุ 15 - 59 ปี ) ระดับการศึกษาสูงสุด หมายถึง ช้ันหรือปีที่สอบไล่ได้เป็นคร้ังสุดท้ายนับถึงวันก่อน สัมภาษณ์ (ไม่รวม วิชาชพี ระยะส้ันที่ไมม่ ีการสอนวชิ าสามัญ เชน่ ตดั ผม ตัดเส้ือ ซ่อมวทิ ยุ เปน็ ต้น) - ระดับต่�ำกว่าประถมศึกษา หมายถึง บุคคลที่เคยรับการศึกษาแต่ไม่ส�ำเร็จ การศกึ ษาช้ันใด หรือบุคคลท่ีสำ� เรจ็ การศกึ ษา ต�ำ่ กวา่ ชน้ั สูงสุดของระดับประถมศึกษา เชน่ ตำ่� กวา่ ช้นั ป.4 ตามการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ตำ่� กว่าช้ัน ป.7 ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2503 หรือ ต�่ำกวา่ ชัน้ ป.6 ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 - ประถมศึกษา หมายถงึ บุคคลทีส่ �ำเร็จการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา หรือชัน้ ที่ สูงกวา่ แตไ่ ม่ส�ำเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมตอนต้น เชน่ บุคคลท่สี ำ� เร็จการศึกษาชนั้ ม.3 เดิม ชั้น ป.7 ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2503 หรือช้ัน ป.6 ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ - มัธยมศกึ ษา หมายถึง บคุ คลท่สี �ำเร็จการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรอื มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย o มัธยมศกึ ษาตอนต้น หมายถงึ บุคคลท่ีส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดับ มัธยมศึกษา ตอนต้น เช่น ม.6 เดมิ ม.ศ.3 ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 หรอื ชนั้ ท่ีสูงกวา่ และยงั ไม่ ส�ำเร็จการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย o มัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ หมายถงึ บุคคลทส่ี ำ� เรจ็ การศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายสามญั เช่น ม.8 เดิม หรอื ม.ศ.5 ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503 หรอื ม.6 ตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2520 และยังไมส่ �ำเร็จการศึกษาในระดับทส่ี งู กว่า - อนปุ รญิ ญา หมายถงึ บคุ คลทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สงู (ปวส.) หรือเทียบเทา่ ประกาศวิชาชพี เทคนิค (ปวท.) และอนุปริญญา ทกุ สาขา

หน้ีสินของครวั เรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 31 - ระดับอุดมศึกษา หมายถึง บุคคลที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือ เทยี บเทา่ บคุ คลทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเทา่ และบคุ คลทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกหรอื เทียบเท่า รายไดข้ องครวั เรือน หมายถึง เงนิ หรอื สงิ่ ของท่สี มาชิกทกุ คนในครวั เรอื นได้รับมาจาก การทำ� งาน และรายไดจ้ ากแหลง่ อนื่ ทไี่ มใ่ ชจ่ ากการทำ� งาน เชน่ คา่ จา้ ง/เงนิ เดอื น (รวมผลประโยชน์ ตอบแทนอื่นๆ รายได้จากการประกอบการเกษตร รายได้จากประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรมหรือ วิชาชีพ และเงนิ ชว่ ยเหลือ เปน็ ต้น - ค่าจ้างและเงินเดือน หมายถึง ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินหรือส่ิงของที่ลูกจ้าง ได้รับจากการท�ำงาน - ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ สำ� หรับลกู จา้ ง หมายถงึ รายไดข้ องลูกจ้างท่ีได้รบั จากการท�ำงาน นอกเหนือจากคา่ จ้าง ซงึ่ อาจเปน็ เงิน สง่ิ ของ หรือ เป็นสวสั ดกิ าร - เงินพิเศษอ่ืนๆ ได้แก่ คา่ ลว่ งเวลา เงนิ โบนสั และอนื่ ๆ เชน่ คา่ ทปิ เปน็ ตน้ สวัสดิการต่างๆ ซ่ึงอาจเป็นเงินหรือส่ิงของ เช่น อาหารและเคร่ืองดื่มท่ีอยู่อาศัย ค่าน�้ำ ค่าไฟ คา่ โทรศพั ท ์ คา่ รกั ษาพยาบาล คา่ พาหนะ หรอื คา่ เลา่ เรยี น และอน่ื ๆ เชน่ คา่ ครองชพี เงนิ ชว่ ยเหลอื บตุ ร ชดุ ทำ� งาน เปน็ ตน้ - รายไดจ้ ากการทำ� การเกษตร (ท้ังท่ีเปน็ ตัวเงิน และไมเ่ ปน็ ตัวเงนิ ) หมายถงึ มูลคา่ ผลผลิตทีผ่ ลิตได้ท้ังส้นิ (รวมท้ังขายและไมข่ าย เชน่ บรโิ ภค ใช้หน้ี ฯลฯ) ซง่ึ ยังไม่หกั คา่ ใชจ้ า่ ย ในการดำ� เนนิ การ - รายไดจ้ ากการประกอบธรุ กจิ อตุ สาหกรรม หรอื วชิ าชพี ทไี่ มใ่ ชเ่ กษตร หมายถงึ รายไดจ้ ากการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของครวั เรอื น (ทไ่ี มเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล) ซงึ่ ยงั ไมห่ กั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การ - รายไดจ้ ากแหลง่ อน่ื ๆ ทไี่ มใ่ ชจ่ ากการทำ� งาน หมายถงึ รายไดอ้ นื่ ๆ ทส่ี มาชกิ ใน ครัวเรือนได้รับ นอกเหนือจากการประกอบการเกษตร ค่าจ้าง/เงินเดือน การประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือวิชาชีพ เช่น เงินบ�ำเหน็จ/บ�ำนาญ เงินชดเชย/ทดแทนการออกจากงาน เงินสงเคราะห/์ เงนิ ชว่ ยเหลอื รายไดจ้ ากการใหเ้ ชา่ ทรพั ยส์ นิ ดอกเบยี้ /เงนิ ปนั ผล เงนิ รางวลั ตา่ งๆ มรดก คา่ นายหนา้ และเงนิ จากการขายสนิ ทรพั ย์ เปน็ ตน้ คา่ ใชจ้ า่ ยของครวั เรอื น หรอื คา่ ใชจ้ า่ ยทงั้ สน้ิ หมายถงึ การใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั “สงิ่ ของหรอื การบริการด้านต่างๆ” ท่ีจ�ำเป็นตอ่ การครองชีพที่ครัวเรอื นต้องซ้อื /จา่ ยด้วยเงนิ หรอื ได้มาโดยไม่ได้ ซื้อ/จ่าย (ผลติ เองได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น รัฐเปน็ สวัสดิการจากการทำ� งาน หรอื เบิกจาก นายจ้าง) ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายเพ่ือการอุปโภคบริโภค และค่าใช้จ่ายท่ีไม่เกี่ยวกับการอุปโภค บรโิ ภค มรี ายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี

32 หนีส้ นิ ของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 ค่าใช้จา่ ยเพ่ือการอุปโภคบรโิ ภค ประกอบไปด้วย คา่ ใช้จ่าย 12 ประเภท ดังนี้ - อาหารและเครือ่ งดืม่ ทไ่ี มม่ แี อลกอฮอล์ ได้แก่ อาหารสด อาหารแหง้ อาหาร ส�ำเร็จรูป (ข้าว แป้ง อาหารท่ีท�ำจากแป้ง เนื้อสัตว์และสัตว์ปีกทุกชนิด ปลาและสัตว์น้�ำอื่นๆ นม เนย เนยแข็ง และไข่ น้�ำมันและไขมัน ผลไม้และถั่วเปลือกแข็ง ผัก น�้ำตาลและขนมหวาน) เครอื่ งปรงุ รสและเครอ่ื งเทศ และเครอ่ื งดมื่ ไมม่ แี อลกอฮอล์ ทง้ั ทบ่ี รโิ ภคในบา้ นและบรโิ ภคนอกบา้ น - เครอ่ื งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอล์ ไดแ้ ก่ เบยี ร์ ไวน์ สรุ า และอนื่ ๆ ทงั้ ทบ่ี รโิ ภคในบา้ นและ บรโิ ภคนอกบา้ น - ยาสบู หมาก ยานตั ถุ์ และอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ บุหรี่ ซกิ าร์ ยาเส้น ยาตั้ง ยานตั ถุ์ หมาก พลู ยาฉนุ ยาจืด และผลติ ภัณฑ์อื่นๆ ประเภทเดยี วกนั - ที่อยอู่ าศยั (รวมค่าประเมินค่าเช่าบ้านของตนเอง) ประกอบไปด้วย o คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั ทอี่ ยอู่ าศยั ไดแ้ ก่ คา่ เชา่ หรอื คา่ ประเมนิ คา่ เชา่ บา้ นและทด่ี นิ การตดิ ตงั้ /ซอ่ มแซมบา้ น ระบบประปา ระบบไฟฟา้ และเครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณส์ ำ� หรบั ซอ่ มแซมบา้ น o ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับเครื่องตกแต่งบ้าน เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด และการด�ำเนิน การในครวั เรอื น ได้แก่ เครอื่ งเรอื นและเฟอรน์ เิ จอร์ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ในครวั เรอื น สิง่ ทอส�ำหรบั ใชใ้ นบา้ น เครื่องครัว เครื่องใช้สอยเบ็ดเตล็ด ค่าเช้ือเพลิง/แสงสว่าง/การใช้น้�ำ และค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการ ทำ� ความสะอาด o ค่าจ้างบุคคลที่บริการแก่ครัวเรือน ได้แก่ ค่าจ้างคนรับใช้และคนงานทั้งที่ เป็นสมาชกิ ในครัวเรือนและไมไ่ ด้เปน็ สมาชิกในครวั เรอื น รวมค่าอาหารและสิ่งของที่ซอ้ื ให้ - เครอื่ งนงุ่ หม่ และรองเทา้ ไดแ้ ก่ เสอ้ื กระโปรง กางเกงทกุ ประเภท ผา้ นงุ่ โสรง่ ผา้ ขาวมา้ ชดุ ชนั้ ใน เครอ่ื งแตง่ กายอน่ื ๆ รวมถงึ คา่ จา้ งตดั เยบ็ /ซอ่ มแซม คา่ เชา่ เสอ้ื ผา้ คา่ ซกั รดี /ซกั แหง้ รองเทา้ ทกุ ประเภท (ยกเวน้ รองเทา้ กฬี า) และคา่ ซอ่ ม/บรกิ ารทำ� ความสะอาดรองเทา้ - คา่ ใชจ้ า่ ยสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ ของใชส้ ว่ นบคุ คล และคา่ บรกิ ารสว่ นบคุ คล (เสรมิ สวย จดั ฟนั นวด ลดความอว้ น ฯลฯ) - เวชภัณฑ์และค่าตรวจรักษาพยาบาล ได้แก่ ค่ายาและเวชภัณฑ์ที่ซื้อมา รกั ษาเอง (ยาแผนปจั จบุ นั /แผนโบราณ ยาสมนุ ไพร ยาคมุ กำ� เนดิ และถงุ ยางอนามยั วติ ามนิ อาหารเสรมิ ตา่ งๆ อปุ กรณป์ ฐมพยาบาล) คา่ รกั ษาพยาบาลทสี่ ถานอี นามยั /โรงพยาบาลรฐั /โรงพยาบาลเอกชน/ คลนิ กิ แพทย์ ทง้ั กรณที เ่ี ปน็ คนไขน้ อกและเปน็ คนไขใ้ น - การเดนิ ทาง ไดแ้ ก่ คา่ ซอ้ื ยานพาหนะ คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั ยานพาหนะและการบำ� รงุ รกั ษาอน่ื ๆ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางปกติ คา่ ใชจ้ า่ ยในการทอ่ งเทย่ี วทง้ั ในและตา่ งประเทศ - การสื่อสาร ไดแ้ ก่ คา่ ซอ้ื เครื่องโทรศัพทท์ ุกประเภท คา่ ใชบ้ รกิ าร คา่ สมาชิก และ บริการอนิ เทอร์เน็ต คา่ ส่งพสั ดุ ฯลฯ

หนีส้ นิ ของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 33 - การศึกษา ได้แก่ ค่าเล่าเรียน/ค่าธรรมเนียม/ค่าบ�ำรุงการศึกษาในโรงเรียนหรือ สถานศกึ ษาของรฐั /เอกชน คา่ หนงั สอื เครอื่ งเขยี น อปุ กรณก์ ารเรยี น คา่ เรยี นพเิ ศษ/เรยี นวชิ าชพี / เรยี นดนตรแี ละคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ - การบันเทิง การอ่าน และกิจกรรมทางศาสนา ได้แก่ ค่าซ้ืออุปกรณ์การ บันเทิง และกีฬา รวมรองเทา้ กฬี า ค่าซ้ือของเล่น สตั วเ์ ล้ียง ไม้ประดับ คา่ ผ่านประตูดูภาพยนตร์ กฬี า การแสดง สวนสนกุ พิพธิ ภณั ฑ์ ฯลฯ ค่าเรยี นและเลน่ กฬี า คา่ ใชจ้ า่ ยเก่ยี วกับการอา่ น ยกเว้น หนังสือเรยี น และค่าอาหาร/ของถวายพระ/ไหวเ้ จ้า - การจัดงานพิธีในโอกาสพิเศษ ได้แก่ ค่าจัดงานแต่งงาน งานวันเกิด งานบวช งานศพและอนื่ ๆ คา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ มเ่ กยี่ วกบั การอปุ โภคบรโิ ภค ไดแ้ ก่ - ภาษี (ทกุ ประเภท) คา่ บรกิ ารทางการเงนิ คา่ ปรบั ทางกฎหมาย - คา่ สมาชกิ กลมุ่ อาชพี เชน่ สหภาพแรงงาน กลมุ่ เกษตรกรฯ - เงนิ /สง่ิ ของ ทสี่ ง่ ใหบ้ คุ คลนอกครวั เรอื น - เงนิ บรจิ าค/ซอ้ื สงิ่ ของใหแ้ กอ่ งคก์ รและมลู นธิ ติ า่ งๆ - เงนิ ทำ� บญุ เงนิ ชว่ ยงานอน่ื ๆ เชน่ งานบวช งานแตง่ ของขวญั ฯลฯ - เบย้ี ประกนั ภยั /ทรพั ยส์ นิ /ประกนั ชวี ติ (ไมใ่ ชป่ ระเภทสะสมทรพั ย)์ เงนิ ฌาปนกจิ ศพ และ เงนิ สมทบประกนั สงั คม - เงนิ ซอ้ื สลากกนิ แบง่ /หวย และการพนนั อน่ื ๆ - ดอกเบยี้ จา่ ย/ดอกเบย้ี แชร์ - อนื่ ๆ เชน่ เงนิ ชดเชยคา่ เสยี หาย เงนิ ตกหาย/ถกู ขโมย คา่ นายหนา้ คา่ ขนยา้ ยบา้ น ฯลฯ หนสี้ นิ ของครวั เรอื น หมายถงึ จำ� นวนเงนิ กยู้ มื ทงั้ หมดของสมาชกิ ในครวั เรอื นทคี่ า้ งช�ำระ ทั้งจากสถาบันการเงินและบุคคลอ่ืนนอกครัวเรือน และหนี้สินเกิดจากการเช่าซ้ือ การซื้อสินค้า เงินผ่อน/การซอ้ื เชา่ สนิ คา้ การจ�ำน�ำ การจ�ำนอง และเงินสง่ แชร์ตาย เปน็ ต้น มูลค่าทรัพย์สินท้ังสิ้นของครัวเรือน หมายถึง มูลค่า (บ้าน ท่ีดิน และส่ิงปลูกสร้าง) ทค่ี รวั เรอื นเปน็ เจา้ ของ มลู คา่ (ยานพาหนะทกุ ประเภท) ทคี่ รวั เรอื นเปน็ เจา้ ของ (ทง้ั ใชใ้ นครวั เรอื นและ ใชท้ ำ� ธรุ กจิ ) มลู คา่ สนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ เชน่ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร สลากออมสนิ /ธกส. เบยี้ ประกนั ชวี ติ พนั ธบตั ร/หนุ้ กู้ กองทนุ รวม ทอง อญั มณี เงนิ สด และลกู หนี้ ฯลฯ พน้ื ทที่ ำ� การเกษตร หมายถงึ เนอ้ื ทรี่ วมของทด่ี นิ ทกุ ผนื ทถี่ อื ครองและใชท้ ำ� การเกษตร (เพาะ ปลกู พชื เลย้ี งสตั ว์ และเพาะเลยี้ งสตั วน์ ำ้� ) ซงึ่ ทด่ี นิ ดงั กลา่ วอาจเปน็ เจา้ ของ เชา่ หรอื ทำ� ฟรใี นทขี่ องผอู้ นื่ ท่ี สาธารณะ/ปา่ สงวน กไ็ ด้ โดยทดี่ นิ ทใ่ี ชท้ ำ� การเกษตรผนื ใดมบี รเิ วณในไรน่ า ยงุ้ ฉาง โรงเกบ็ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ บา้ นและบรเิ วณบา้ น ปา่ คนั บอ่ ฯลฯ อยดู่ ว้ ย ใหร้ วมเนอ้ื ทดี่ งั กลา่ วเขา้ ไปดว้ ย แตไ่ มร่ วม ทส่ี าธารณะทไ่ี ดน้ ำ� สตั วไ์ ปเลยี้ ง เชน่ นำ� ววั ควาย ไปเลยี้ งกลางทงุ่ หรอื นำ� เปด็ ไปเลยี้ งรมิ คลอง คนู ำ�้ สาธารณะ โดยไมไ่ ดถ้ อื ครอง

34 หนส้ี นิ ของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 การเปน็ เจา้ ของทดี่ นิ หมายถงึ การครอบครองหรอื ใชท้ ด่ี นิ เพอื่ ทำ� การเกษตรในลกั ษณะตา่ งๆ ของผถู้ อื ครอง อาจเปน็ เนอื้ ทข่ี องตนเอง หรอื เปน็ เนอ้ื ทไี่ มใ่ ชข่ องตนเอง - เปน็ เจา้ ของทด่ี นิ หมายถงึ มหี นงั สอื สำ� คญั แสดงกรรมสทิ ธใิ์ นทด่ี นิ เชน่ โฉนดทด่ี นิ น.ส.5 น.ส.3 น.ส.2 น.ส.1 ส.ป.ก. ฯลฯ รวมไปถงึ ทด่ี นิ ของพอ่ แมญ่ าตพิ นี่ อ้ ง ทตี่ นเองใชท้ ำ� การเกษตร - ไมเ่ ปน็ เจา้ ของทดี่ นิ หมายถงึ ผถู้ อื ครองเชา่ ทดี่ นิ จากผอู้ นื่ ทำ� การเกษตร หรอื เปน็ พนื้ ทท่ี ำ� ฟร/ี ทส่ี าธารณะ/ทบ่ี คุ คลอน่ื อนญุ าตใหท้ ำ� การเกษตรโดยไมต่ อ้ งจา่ ยคา่ ตอบแทน - การทำ� เกษตรแบบไมใ่ ชท้ ด่ี นิ หมายถงึ ผทู้ ำ� ประมง ปา่ ไม้ ลา่ สตั ว์ หาของปา่ และ บรกิ ารทางการเกษตร 3.2 ขั้นตอนการวเิ คราะห์ ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ เพ่ือป้องกันการเกิดปัญหาตัวแปรอิสระมี สหสัมพันธ์ (Correlation) ระหวา่ งตัวแปรอิสระในระดบั คอ่ นข้างสูง (Multicollinearity) โดยใช้ สถติ ทิ ดสอบ (Pearson Correlation) โดยมีเกณฑ์คือจะต้องมีความสมั พนั ธก์ ันเองไม่เกิน 0.700 ทดสอบการเลอื ก Model ทเ่ี หมาะสม พจิ ารณาจาก Goodness of Fit ของ Model ไดแ้ ก่ - Classification table แสดงการคำ� นวณคา่ ความนา่ จะเปน็ ของการพยากรณ์ ของโมเดล (Predictive efficiency) คา่ ของ Percent correct prediction สงู แสดงวา่ โมเดลนน้ั มคี วาม แมน่ ยำ� ในการพยากรณ์ - Pseudo R2(Cox&Snell R Square , Nagelkerke R Square) คอื คา่ ของความ แปรปรวนของตวั แปรตามทสี่ ามารถอธบิ ายไดโ้ ดยตวั แปรอสิ ระ - Likelihood Estimation (MLE) การเปรยี บเทยี บคา่ -2 log likelihood ของ โมเดลทม่ี คี า่ ตำ�่ กวา่ แสดงถงึ ความเหมาะสมของโมเดลทด่ี กี วา่ - Model chi-square หรอื Model likelihood ratio (LR) ใชท้ ดสอบ overall model โอกาสทต่ี วั แปรตามจะขนึ้ กบั ตวั แปรอสิ ระอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั หรอื ตวั แปรอสิ ระอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั มคี วามสมั พนั ธก์ บั ตวั แปรตาม ทดสอบสมมตฐิ านของสมั ประสทิ ธิ์ โดยใชส้ ถติ ทิ ดสอบ - Wald statistic ใชท้ ดสอบ โอกาสทตี่ วั แปรตามจะขนึ้ กบั ตวั แปรอสิ ระแตล่ ะตวั หรอื ตวั แปรอสิ ระแตล่ ะตวั มคี วามสมั พนั ธก์ บั ตวั แปรตามหรอื ไม่ - Likelihood Ratio Test (LR) วเิ คราะหป์ จั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปน็ หนข้ี องครวั เรอื นเกษตร - Binary Logistic regression

หนีส้ ินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2558 35 3.3 การแปลผลการวเิ คราะห์ เพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การแปลผลการวเิ คราะห์ Binary Logistic regression จะพจิ ารณาจากคา่ Odd Ratio (OR) เนอ่ื งจากการแปลผลจากคา่ สมั ประสทิ ธถ์ิ ดถอย (ß) มคี วามยากตอ่ การตคี วาม Odd ratio (OR) คอื อตั ราการเปลยี่ นแปลงของความนา่ จะเปน็ หรอื โอกาสทจ่ี ะเกดิ เหตกุ ารณ์ ทสี่ นใจ เมอ่ื ตวั แปรอสิ ระเปลยี่ นไปหนงึ่ หนว่ ย ในงานวจิ ยั เลม่ นี้ คอื โอกาสทค่ี รวั เรอื นเกษตรจะเปน็ หนี้ ระหวา่ งกลมุ่ ของครวั เรอื นเกษตรทมี่ ลี กั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เมอื่ เทยี บกบั กลมุ่ อา้ งองิ โดยกลมุ่ อา้ งองิ จะ มคี า่ Odd ratio เทา่ กบั 1 ซงึ่ งานวจิ ยั เลม่ นตี้ วั แปรอสิ ระประกอบไปดว้ ย ตวั แปรทม่ี ลี กั ษณะเชงิ กลมุ่ และ ตวั แปรแบบตอ่ เนอื่ งซงึ่ มกี ารแปลผลของคา่ Odd ratio ทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั นี้ กรณที ต่ี วั แปรอสิ ระเปน็ ตวั แปรเชงิ กลมุ่ Odds Ratio > 1 หมายถงึ ครวั เรอื นเกษตรทอี่ ยใู่ นกลมุ่ ทสี่ นใจมโี อกาสทจี่ ะเปน็ หนม้ี ากกวา่ กลมุ่ อา้ งองิ เทา่ กบั ....เทา่ ตวั อยา่ งเชน่ กำ� หนดใหก้ ลมุ่ ทส่ี นใจ คอื ครวั เรอื นเกษตรทอ่ี าศยั อยภู่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และกลมุ่ อา้ งองิ เปน็ กลมุ่ ของครวั เรอื นเกษตรทอี่ าศยั อยใู่ นภาคใต้ ถา้ คา่ Odds Ratio เทา่ กบั 4.581 หมายถงึ ครวั เรอื นเกษตรทอ่ี าศยั อยใู่ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มโี อกาสทเ่ี ปน็ หนมี้ ากกวา่ ภาคใต้ 4.6 เทา่ Odds Ratio < 1 หมายถงึ ครัวเรอื นเกษตรท่ีอย่ใู นกลุ่มทสี่ นใจมโี อกาสท่จี ะเปน็ หน้ีน้อย กว่ากลมุ่ อ้างอิงเทา่ กับ....เท่า (หรอื ท�ำการแปรผลในรูปรอ้ ยละ ((Odds Ratio -1)*100)) ตัวอย่างเช่น ก�ำหนดให้กลมุ่ ที่สนใจ คอื หัวหนา้ ครวั เรอื นเกษตรสถานภาพโสด และกลมุ่ อา้ งองิ เปน็ กลมุ่ หวั หนา้ ครวั เรอื นเกษตรทม่ี สี ถานภาพสมรส ถา้ คา่ Odds Ratio เทา่ กบั 0.326 หมายถึง หัวหน้าครัวเรือนเกษตรสถานภาพโสดมีโอกาสเป็นหนี้น้อยกว่าหัวหน้าครัวเรือนเกษตรสถานภาพ สมรสร้อยละ 67 มาจาก ((0.326-1)*100) Odds Ratio = 1 หมายถงึ ครวั เรอื นเกษตรทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ ทสี่ นใจมโี อกาสทจ่ี ะเปน็ หนเ้ี ทา่ กบั กลุ่มอ้างอิง หรือการเปลยี่ นแปลงของตัวแปรท่ีสนใจ (ตวั แปรอิสระ) ไม่มีผลต่อตัวแปรตาม กรณที ต่ี วั แปรอสิ ระเปน็ ตวั แปรเชงิ ปรมิ าณ Odds ratio > 1 หมายถึง เมื่อครัวเรือนเกษตรที่อยู่ในกลุ่มที่สนใจ (ตัวแปรอิสระ) เพม่ิ ขน้ึ ทำ� ใหโ้ อกาสทคี่ รวั เรอื นเกษตรเปน็ หนเี้ พมิ่ ขน้ึ เมอื่ (ตวั แปรอสิ ระ) เปลยี่ นไป 1 หนว่ ย โอกาสท ่ี ครวั เรอื นเกษตรทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ ทสี่ นใจ (ตวั แปรอสิ ระ) จะเพมิ่ ขน้ึ ......เทา่ เมอื่ เทยี บกบั คา่ เดมิ ของ X หรอื เพม่ิ ขนึ้ ......% ((Odds Ratio -1)*100) (คา่ สมั ประสทิ ธถ์ิ ดถอย จะมคี า่ เปน็ บวก) ตัวอย่างเช่น ก�ำหนดให้กลุ่มท่ีสนใจ คือ ครัวเรือนเกษตรมีจ�ำนวนสมาชิกในครัวเรือน เพมิ่ ขน้ึ 1 คนถา้ คา่ Odds Ratio เทา่ กบั 1.110 หมายถงึ เมอื่ ครวั เรอื นเกษตรมจี ำ� นวนสมาชกิ ในครวั เรอื น เพม่ิ ขน้ึ 1 คนจะมโี อกาสทจ่ี ะเปน็ หนเี้ พมิ่ ขนึ้ 1.1 เทา่ หรอื เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ11 มาจาก ((1.110-1)*100)

36 หนี้สินของครัวเรอื นเกษตร พ.ศ. 2558 Odds ratio < 1 หมายถึง เมื่อครัวเรือนเกษตรท่ีอยู่ในกลุ่มที่สนใจ (ตัวแปรอิสระ) เพม่ิ ขนึ้ ทำ� ใหโ้ อกาสทคี่ รวั เรอื นเกษตรเปน็ หนล้ี ดลง เมอื่ (ตวั แปรอสิ ระ) เปลยี่ นไป 1 หนว่ ย โอกาสที่ ครวั เรอื นเกษตรทอี่ ยใู่ นกลมุ่ ทส่ี นใจ (ตวั แปรอสิ ระ) จะลดลง......เทา่ เมอื่ เทยี บกบั คา่ เดมิ ของ X หรอื ลดลง ......% ((Odds Ratio -1)*100) (ค่าสมั ประสิทธถิ์ ดถอย จะมคี า่ เปน็ ลบ) ตัวอย่างเช่น ก�ำหนดให้กลุ่มท่ีสนใจ คือ อายุของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรเพ่ิมขึ้น 1 ป ี ถา้ คา่ Odds Ratio เทา่ กบั 0.982 หมายถึง ครัวเรือนเกษตรทมี่ หี ัวหน้าครวั เรอื นอายุเพม่ิ ขนึ้ 1 ปี มโี อกาสทีจ่ ะเป็นหนล้ี ดลง 0.98 เท่า หรือ ลดลงร้อยละ 2 มาจาก ((0.982-1)*100) Odds ratio = 1 หมายถึง เมื่อครัวเรือนเกษตรท่ีอยู่ในกลุ่มที่สนใจ (ตัวแปรอิสระ) เพม่ิ ขนึ้ ทำ� ใหโ้ อกาสของการเกดิ เหตกุ ารณท์ สี่ นใจเทา่ กบั เหตกุ ารณท์ ไี่ มส่ นใจ หรอื การเปลย่ี นแปลง ของตวั แปรทส่ี นใจ (ตวั แปรอสิ ระ) ไม่มผี ลตอ่ ตัวแปรตาม 3.4 ผลการวเิ คราะห์ 3.4.1 ทดสอบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรอสิ ระ เพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ ปญั หาตวั แปรอสิ ระมี สหสมั พนั ธ์ (Correlation) ระหวา่ งตวั แปรอสิ ระในระดบั คอ่ นขา้ งสงู (Multicollinearity) ดงั นนั้ จงึ มกี าร ทดสอบตวั แปรอสิ ระทง้ั หมด 13 ตวั แปร (ตาราง 24) ไดแ้ ก่ ภาค สถานภาพสมรสของหวั หนา้ ครวั เรอื น การศกึ ษาของหวั หนา้ ครวั เรอื น เพศของหวั หนา้ ครวั เรอื น อายขุ องหวั หนา้ ครวั เรอื น อตั ราพงึ่ พงิ จำ� นวน สมาชกิ ในครวั เรอื น จำ� นวนเนอ้ื ทถ่ี อื ครองทำ� การเกษตร เขตการปกครอง รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ และการเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ พบวา่ ไมม่ ตี วั แปรอสิ ระตวั ใดมคี วามสมั พนั ธก์ นั สงู รายละเอยี ด (ตาราง ผ9) ตาราง 24 สรปุ ตวั แปรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา การจ�ำแนก ตวั แปร 1 = กรุงเทพมหานคร และ 3 จงั หวดั 1.ดา้ นภูมศิ าสตร์ 2 = กลาง ภมู ิภาค 3 = เหนือ 4 = ตะวันออกเฉียงเหนือ เขตท่อี ยอู่ าศัย 5 = ใต้ (อ้างอิง) 2.ด้านสงั คม 1 = ในเขตเทศบาล (อา้ งอิง) เพศของหวั หน้าครัวเรือน 2 = นอกเขตเทศบาล 1 = เพศหญิง 2 = เพศชาย (อา้ งองิ )