สำมะโนอุตสำหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ รำชอำณำจกั ร THE 2017 INDUSTRIAL CENSUS WHOLE KINGDOM
หนว่ ยงำนเจ้ำของเรื่อง Division in Charge กองสถิตเิ ศรษฐกิจ Economic Statistics Division สำนักงำนสถิติแหง่ ชำติ National Statistical Office, โทรศัพท์ 0 2142 1236-8 Tel. +66 21421236-8 โทรสำร 0 2143 8134 Fax : +66 21438134 ไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ eindust@nso.go.th E-mail : eindust@nso.go.th หน่วยงำนท่เี ผยแพร่ Distributed by กองสถิตพิ ยำกรณ์ Statistical Forecasting Division สำนักงำนสถิติแหง่ ชำติ National Statistical Office, ศนู ย์รำชกำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำฯ The Government Complex, อำคำรรฐั ประศำสนภกั ดี ชน้ั 2 ถนนแจง้ วฒั นะ Ratthaprasasanabhakti Building 2rd Floor เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210 Chaeng Watthana Rd, Laksi, Bangkok 10210 โทรศัพท์ 0 2141 7498 Tel. +66 2141 7498 โทรสำร 0 2143 8132 Fax : +66 2143 8132 ไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ binfopub@nso.go.th E-mail : binfopub@nso.go.th ปีท่จี ดั พมิ พ์ Published 2561 2018 จัดพมิ พโ์ ดย Printed by หำ้ งหนุ้ ส่วนจำกัด บำงกอกบล๊อก Bangkok Block Ltd., Part. ถนนพะเนียง แขวงวดั โสมนัส Paniang Rd., Pomprab. เขตป้อมปรำบฯ กทม. 10400 Bangkok 10400 Thailand โทรศัพท์ 0 2281 2005, 0 2281 5089 Tel. +66 (0) 2281 2005, +66 (0) 2281 5089 โทรสำร 0 2281 0723 Fax +66 (0) 2281 0723
ทว่ั รำชอำณำจักร WHOLE KINGDOM
คำนำ ภำคอุตสาหกรรมการผลิตนับเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สาขาหนึ่งที่มีความสาคัญในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศซึ่งปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายด้านการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีชั้นสูงและนวัตกรรมใหม่ๆมา ใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะ 20 ปีข้างหน้าตามกรอบการพฒั นา ประเทศไทย 4.0 ส ำ นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร จัดเก็บรวบรวมข้อมูลท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดทาสามะโนอุตสาหกรรมขึ้น เพื่อให้ประเทศมีข้อมูลสถิติพื้นฐานทีส่ าคัญทางด้านอุตสาหกรรมการ ผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อภาครัฐและเอกชนใช้ในการกาหนดนโยบาย และวางแผน พัฒนาด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมทั้งใน ระดับประเทศและระดับจังหวัดเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันใน ตลาดโลก
คำนำ v ในการจัดทาสามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ครั้งนี้ได้ กาหนดแผนการดาเนินงานเป็น 2 ขั้นตอน คือ ข้ันการเก็บ รวบร ว ม ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ห รื อ ก า ร นั บ จ ด ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ทุกประเภทซึ่งดาเนินการใน ปี 2559 และขั้นการเก็บรวบรวม ข้ อ มู ล ร า ย ล ะ เ อี ย ด ห รื อ ก า ร แ จ ง นั บ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น อุตสาหกรรมการผลติ ดาเนินการในปี 2560 รายงานฉบับนี้ เป็นรายงานผลในข้ันตอนการเก็บรวบรวม ข้อมูลรายละเอียดสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิต ตามการจัดมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทยปี 2552 (Thailand Standard Industrial Classification: TSIC2009) ที่ตั้งอยู่ ทั่วรำชอำณำจักร สาหรับตารางสถิติรายภาคน้ันไม่ได้ นาเสนอในรายงานฉบับนี้ ซึ่งเป็นฉบับเอกสาร แต่จะมีนาเสนอไว้ ในรายงานผลฉบบั CD-ROM สำนักงานสถิติแห่งชาติ ใคร่ขอขอบคุณผู้ประกอบการ และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ได้ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล ซึ่ง ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้ใช้ข้อมูลทั้งภาครัฐบาลและ ภาคเอกชนต่อไป
Preface The manufacturing industry is one of vital economic activities which has a role in economic growth of the country. At present the Thailand 4.0 policy focuses on creating the high-tech and innovation to enhance production efficiency which will propel Thailand economy over the next 20 years. The National Statistical Office (NSO) is the main responsible authority producing basic statistical information of national economic and social issues, therefore, the NSO decides to conduct the Industrial Census in order to produce the statistical data on basic information of the business and industry continuously and that is important and necessary for the public and private sector in policy formulation and development planning of economic and industry in both the national and provincial level, so as to increase competitiveness in the global trade market.
Preface vii The 2017 Industrial Census is conducted in two stages. The listing stage was conducted in 2016, which basic information of all establishments engaged in all economic activities was collected. For the enumeration stage was conducted in 2017, which detailed information of establishments engaged in only manufacturing was collected. This publication presents the results of the enumeration stage which all manufacturing establishments engaged in economic activities were classified according to the Thailand Standard Industrial Classification (TSIC – 2009) located in the Whole kingdom. As for the statistical tables of the regional report are not presented in this publication, but all those statistical tables will be presented in the CD-ROM version. The National Statistical Office would like to express sincere gratitude to all those concerned for their kind cooperation contributing to the success of this census. This information will be useful for data users, both government and private sector further.
บทสรุปผบู้ ริหาร เนื่องจากบริบทของประเทศมีการเปล่ียนแปลงทั้งด้าน เศรษฐกิจสังคมและการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม ทาให้โครงสร้างการดาเนินธุรกิจและอุตสาหกรรมเปล่ียนแปลงไป ซึ่งถือเป็นกลไกที่สาคัญต่อการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ ดังน้ันข้อมูลสถิติและสารสนเทศโครงสร้างข้ันพื้นฐาน เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรมจึงมีความสาคัญและ จาเป็นสาหรับภาครัฐ และเอกชนใช้ในการกาหนดนโยบายและ วางแผนพฒั นาดา้ นเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรมท้ังในระดบั ประเทศ และระดับท้องถิ่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทาง เศรษฐกิจ สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดาเนินการจัดทาสามะโน อุตสาหกรรม เพื่อให้ประเทศมีข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญทางด้าน อุตสาหกรรมการผลิต เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และติดตาม สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจของประเทศ และภูมิภาค สาหรับปี 2560 เป็นการจัดทาสามะโนอุตสาหกรรมครั้งท่ี 5 ของประเทศไทย สรุปข้อมูลฉบับนี้เป็นข้อมูลนาเสนอผลการดาเนินงานใน รอบปี 2559 (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2559) ของสถานประกอบการ อุตสาหกรรมการผลิตซึ่งจัดจาแนกประเภทสถานประกอบการ ตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย ปี 2552 (Thailand Standard Industrial Classification: TSIC 2009) ที่ตั้งอยู่ ท่ัวประเทศ สรปุ ได้ดงั นี้ DETROIT CHICAGO
x สามะโนอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2560 ทั่วราชอาณาจักร 1. ลักษณะทว่ั ไปของสถานประกอบการ 1.1 จานวนสถานประกอบการ จากการสามะโนอุตสาหกรรม แผนภาพท่ี 1 จานวนสถานประกอบการ รายภาค พ.ศ. 2560 พบว่า ท่ัวประเทศมีสถาน- ป ร ะ ก อ บ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ผ ลิ ต ภาคเหนือ จานวนสถานประกอบการ (แห่ง) 100,419 (869) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จานวนท้ังส้ิน 443,188 แห่ง โดยต้ังอยู่ใน 180,711 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นจานวน ปริมณฑล ภาคกลาง 55,308 มากที่สดุ รองลงมาเปน็ ภาคเหนือ ภาคกลาง 27,844 กรงุ เทพมหานคร กรุงเทพมหานคร ภาคใต้ และปริมณฑล 43,317 ซึง่ ในภาพรวมมีจานวนเพิ่มขนึ้ ร้อยละ 4.5 ภาคใต้ เมื่อเทียบกับสามะโนอุตสาหกรรมการ 35,589 ผลติ เมือ่ 5 ปีทีแ่ ล้ว 1.2 หมวดย่อยอุตสาหกรรม เมื่อพิจารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า เป็นสถานประกอบการ อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารมากที่สุด รองลงมาเป็นการผลิตเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย การผลิตส่ิงทอ และการผลิตไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้และไม้ก๊อก (ยกเว้นเฟอร์นิเจอร์) การผลิตส่ิงของจากฟางและวัสดุถกั สานอื่น ๆ นอกจากนี้เปน็ การผลติ ในหมวดย่อยอื่น ๆ มีสัดส่วนต่ากวา่ รอ้ ยละ 10.0 แผนภาพท่ี 2 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม การผลิตผลิตภัณฑ์ ร้อยละ15.1 การผลิตเสื้อผ้า ร้อยละ 8.3 การผลิตผลิตภณั ฑ์โลหะประดิษฐ์ ร้อยละ 13.8 เครื่องแตง่ กาย (ยกเว้นเครื่องจกั รและอปุ กรณ์) 25.3 อาหาร การผลิตไม้และ ร้อยละ 5.6 การผลิตผลิตภณั ฑ์อืน่ ๆ ร้อยละ ผลิตภัณฑ์จากไม้ และ ร้อยละ 2.8 การผลิตผลิตภณั ฑ์อื่น ๆ ทีท่ าจากแร่ ไม้ก๊อก (ยกเว้น การผลิตสิง่ ทอ เฟอร์นเิ จอร์) การผลิต อโลหะ สิ่งของจากฟางและ ร้อยละ 2.4 การผลิตเฟอร์นิเจอร์ ร้อยละ 14.2 วสั ดถุ ักสานอ่ืน ๆ ร้อยละ 1.8 การพิมพ์และการผลิตซ้าสือ่ บนั ทึกข้อมูล ร้อยละ 1.7 การซ่อมและการตดิ ต้ังเครอื่ งจักรและ อุปกรณ์ ร้อยละ 1.6 การผลิตเครือ่ งดื่ม ร้อยละ 1.4 การผลิตเครื่องหนงั และผลิตภัณฑ์ที่ เกีย่ วขอ้ ง ร้อยละ 1.4 การผลิตผลิตภณั ฑ์ยางและพลาสตกิ ร้อยละ 4.6 อื่น ๆ DETROIT CHICAGO
บทสรปุ ผู้บริหาร xi 1.3 ขนาดสถานประกอบการ (จานวนคนทางาน) แผนภาพท่ี 3 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ (จานวนคนทางาน) คนทางาน 0.7% >.200 คน 1.7% 51 - 200 คน คนทางาน 1 – 15 คน คนทางาน >15 คน ร้อยละ 6.0 1.1% 31 - 50 คน 0.6% 26 - 30 คน ร้อยละ 94.0 1.9% 16 - 25 คน เมื่อพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบการ (จานวนคนทางาน) พบว่า สถานประกอบการผลิตทั่วประเทศ ส่วนใหญ่ร้อยละ 94.0 เป็นสถาน ประกอบการที่มีคนทางาน 1 – 15 คน ส่วนที่เหลือร้อยละ 6.0 เป็นสถาน ประกอบการที่มีคนทางานต้ังแต่ 16 คนขึ้นไป โดยเป็นสถานประกอบการที่มี คนทางาน 16 – 25 คน มีร้อยละ 1.9 รองลงมา คือ สถานประกอบการที่มี คนทางาน 51 – 200 คน และ 31 – 50 คน ร้อยละ 1.7 และ 1.1 ตามลาดับ สว่ นสถานประกอบการขนาดอื่น ๆ นอกจากทีก่ ลา่ วข้างต้นมีสดั สว่ นต่ากว่าร้อยละ 1.0 1.4 รูปแบบการจดั ต้ังทางเศรษฐกจิ หากพิจารณาตามรูปแบบการ จัดต้ังทางเศรษฐกิจ พบว่า สถาน แผนภาพท่ี 4 ร้อยละของสถานประกอบการ ประกอบการร้อยละ 97.5 เป็น จาแนกตามรูปแบบการจดั ตั้งทางเศรษฐกิจ สานักงานแห่งเดียว ร้อยละ 1.5 เปน็ สานกั งานใหญ่ และอกี ร้อยละ ร้อยละ 97.5 1.0 เปน็ สานักงานสาขา สานักงานแหง่ เดียว ร้อยละ 1.5 ร้อยละ 1.0 สานักงานใหญ่ สานกั งานสาขา DETROIT CHICAGO
xii สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ ราชอาณาจักร 1.5 รปู แบบการจัดตั้งตามกฎหมาย แผนภาพท่ี 5 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามรปู แบบการจัดต้ังตามกฎหมาย ร้อยละ ห้างหุ้นส่วนจากดั 2.2 ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบคุ คล ร้อยละ 7.5 บรษิ ทั จากัด บรษิ ทั จากดั (มหาชน) ส่วนบคุ คล ร้อยละ 17.8 ร้อยละ ส่วนราชการ รัฐวสิ าหกิจ ร้อยละ 82.2 8.1 สหกรณ์ และอ่นื ๆ เมื่อพิจารณาตามรูปแบบการจัดตั้งตามกฎหมาย พบว่า สถาน - ประกอบการส่วนใหญ่ ร้อยละ 82.2 เป็นสถานประกอบการส่วนบุคคล สาหรับ สถานประกอบการที่เป็นบริษัทจากัด บริษัทจากัด (มหาชน) ร้อยละ 7.5 สถานประกอบการที่จัดต้ังในรูปแบบอื่น ๆ เช่น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ สหกรณ์ กลุ่มแม่บ้าน ฯลฯ ร้อยละ 8.1 และห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มีรอ้ ยละ 2.2 1.6 ระยะเวลาในการดาเนินกิจการ แผนภาพท่ี 6 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามระยะเวลาการดาเนินกิจการ เมื่อพิจารณาตามระยะเวลาการ ดาเนินกิจการของสถานประกอบการ ร้อยละ 8.8 ระยะเวลา พบว่า สถานประกอบการส่วนใหญ่ ร้อยละ 14.9 ดาเนินกิจการ ร้อยละ 33.9 ดาเนินกิจการมาแล้ว ร้อยละ 33.9 10 – 19 ปี สาหรับสถานประกอบการที่ 30 ปีขนึ้ ไป ดาเนินกิจการ 5 – 9 ปี ร้อยละ 21.3 20 - 29 ปี และไม่เกิน 5 ปี ร้อยละ 21.1 ดาเนิน กิจการมาแล้ว 20 – 29 ปี มีอยู่ร้อยละ 10 – 19 ปี 14.9 และอีกร้อยละ 8.8 ดาเนินกิจการ ตั้งแต่ 30 ปีขนึ้ ไป ร้อยละ 21.3 5 – 9 ปี ร้อยละ 21.1 < 5 ปี DETROIT CHICAGO
บทสรปุ ผบู้ ริหาร xiii 1.7 ทุนจดทะเบยี น แผนภาพท่ี 7 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามทนุ จดทะเบียน มีทุนจดทะเบียน ร้อยละ ไม่มีทนุ จดทะเบียน ร้อยละ 8.8 76.9 ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 91.2 15.8 7.3 ทนุ จดทะเบียน (ลา้ นบาท) < 10 10 – 99 ≥ 100 เมื่อพิจารณาทุนจดทะเบียนของสถานประกอบการอุตสาหกรรมทั่วประเทศ ที่มีทุนจดทะเบียน ร้อยละ 8.8 ของสถานประกอบการทั้งส้ิน ในจานวนนี้ พบว่า ร้อยละ 76.9 มีทุนจดทะเบียนน้อยกว่า 10 ล้านบาท ร้อยละ 15.8 มีทุนจดทะเบียน 10 – 99 ล้านบาท ส่วนสถานประกอบการที่มีทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป มรี ้อยละ 7.3 1.8 การมีต่างประเทศรว่ มลงทนุ หรอื ถือหุน้ เมื่อพิจารณาการร่วมลงทุนจาก แผนภาพท่ี 8 ร้อยละของสถานประกอบการ ต่างประเทศของสถานประกอบการ จาแนกตามการมตี ่างประเทศรว่ มลงทนุ หรอื ทั่วประเทศ มีอยู่เพียง 3,045 แห่ง หรือ ถือหนุ้ ร้อยละ 0.7 ในจานวนนี้ส่วนใหญ่ร้อยละ ไม่มีต่างประเทศ 48.4 มสี ัดสว่ นการลงทุนจากต่างประเทศ ร่วมลงทนุ หรือถือหุ้น 10% - 50% อีกร้อยละ 45.6 มีการลงทนุ ร้อยละ 99.3 จากต่างประเทศมากกว่า 50% และที่ มีต่างประเทศรว่ มลงทุนหรือถือหุ้น เหลือร้อยละ 6.0 มีการลงทุนจาก ต่างประเทศน้อยกว่า 10% ร้อยละ 0.7 >50% ร้อยละ 45.6 10% - 50% ร้อยละ 48.4 <10% ร้อยละ 6.0 DETROIT CHICAGO
xiv สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ทว่ั ราชอาณาจักร 1.9 อตั ราการใช้กาลังการผลติ แผนภาพท่ี 9 ร้อยละของสถานประกอบการ หากพจิ ารณาอัตราการใช้กาลัง จาแนกตามอัตราการใชก้ าลังการผลิต การผลิตต่อปีในปี 2559 ของสถาน- ประกอบการอุตสาหกรรมการผลิต ร้อยละ ร้อยละ 10.0 พบว่า มีการใช้กาลังการผลิตโดยเฉล่ีย ประมาณ 83.0% โดยร้อยละ 69.2 69.2 รายงานว่ามีการใช้กาลังการผลิตต้ังแต่ 80% ขึ้นไป ที่รายงานว่ามีกาลังการผลิต ร้อยละ 60 – 79% มีร้อยละ 20.8 ในขณะที่ สถานประกอบการร้อยละ 10.0 รายงานว่า อตั ราการใช้ 20.8 อตั ราการใช้ มีกาลงั การผลติ น้อยกว่า 60% กาลังการผลิตเฉลีย่ กาลังการผลิต 83.0% < 60% 60 – 79% ≥ 80% อัตราการใช้กาลังการผลิต หมายถึง สัดส่วนระหว่างปริมาณ ผลผลิตจริงกับกาลังการผลิตสูงสุดที่สามารถผลิตได้ในช่วงเวลา หนึ่งคานวณจากปรมิ าณการผลิตจรงิ หารกาลงั การผลิต 2. คนทางานในสถานประกอบการ 2.1 จานวนคนทางาน แผนภาพท่ี 10 ร้อยละของคนทางานในสถานประกอบการ จาแนกตามเพศและสถานภาพการทางาน ร้อยละ ลูกจา้ งอืน่ ๆ รอ้ ยละ 9.2 11.0 25.3 14.5 ลกู จ้างไมม่ ฝี มี อื 27.0 54.2 49.1 ลกู จา้ งมฝี มี อื 47.6 11.331.3 คนทางานโดยไม่ไดร้ บั คา่ จา้ ง/เงินเดือน 14.4 ร้อยละ 49.8 ร้อยละ 50.2 เมื่อพิจารณาคนทางานในสถานประกอบการการผลิตท่ัวประเทศ มีจานวน ประมาณ 4,461,443 คน พบว่า ร้อยละ 49.8 เป็นเพศชาย และร้อยละ 50.2 เป็น เพศหญิง ซึ่งหากพิจารณาตามสถานภาพการทางาน พบว่า ร้อยละ 54.2 ของ คนทางานชายเป็นลูกจ้างมีฝีมือ ซึ่งสูงกว่าเพศหญิงที่มีลูกจ้างมีฝีมือร้อยละ 47.6 ของคนทางานหญิงท้ังหมด DETROIT CHICAGO
บทสรุปผบู้ ริหาร xv 2.2 ค่าตอบแทนแรงงาน 442,101 แผนภาพท่ี 11 ค่าตอบแทนแรงงานเฉลี่ยต่อคนตอ่ ปี จาแนกตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม หมวดยอ่ ยอตุ สาหกรรม คา่ ตอบแทนแรงงานเฉลีย่ (บาท/คน/ป)ี 139,344 อนื่ ๆ การผลติ เครอื่ งจกั รและเคร่อื งมือ ซ่ึงมิได้จดั ประเภทไวใ้ นทอ่ี น่ื 170,437 การผลิตอปุ กรณ์ไฟฟ้า 170,755 การผลิตยานยนต์ รถพว่ ง และรถก่ึงพ่วง 173,292 การผลิตเคมีภณั ฑแ์ ละผลิตภณั ฑเ์ คมี 175,354 การผลติ อปุ กรณข์ นสง่ อน่ื ๆ 185,314 การผลิตผลิตภณั ฑ์ยาสบู 239,394 กิจกรรมการบาบดั และบริการจดั การของเสยี อื่น ๆ 261,165 อืน่ ๆ การผลติ ถา่ นโค้กและผลิตภณั ฑท์ ไ่ี ดจ้ ากการกลัน่ ปโิ ตรเลยี ม เมื่อพิจารณาค่าตอบแทนแรงงานทีล่ ูกจ้างในอุตสาหกรรมการผลิตทวั่ ประเทศ พบว่า ได้รับค่าตอบแทนแรงงานรวมทั้งส้ิน 573,026.4 ล้านบาท หรือเฉล่ีย 147,358 บาท ต่อคนต่อปี โดยลูกจ้างในอุตสาหกรรมการผลิตถ่านโค้กและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการ กลั่นปิโตรเลียม ได้รับค่าตอบแทนแรงงานเฉล่ียต่อคนต่อปีสูงที่สุด คือ 442,101 บาท รองลงมาเปน็ ลกู จ้างทีป่ ฏิบตั ิงานในอตุ สาหกรรมกจิ กรรมการบาบดั และบรกิ ารจัดการ ของเสียอื่น ๆ ได้รับค่าตอบแทนแรงงานเฉล่ียต่อคนต่อปี 261,165 บาท การผลิต ผลิตภัณฑ์ยาสูบ การผลิตอุปกรณ์ขนส่งอื่น ๆ และการผลิตเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี ได้รับค่าตอบแทนแรงงานเฉล่ียต่อคนต่อปี 239,394 185,314 และ 175,354 บาท ตามลาดับ สาหรับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานในแต่ละหมวดย่อยอุตสาหกรรมอื่น ๆ นอกจาก ทีก่ ล่าวข้างต้นได้รับค่าตอบแทนเฉลี่ยตา่ กวา่ 175,000 บาทต่อคนต่อปี DETROIT CHICAGO
xvi สามะโนอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ ราชอาณาจักร 3. ผลการดาเนินกจิ การของสถานประกอบการ แผนภาพท่ี 12 ผลการดาเนินกิจการของสถานประกอบการจาแนกตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม หมวดย่อยอุตสาหกรรม 1,522,439.9 อนื่ ๆ 4,869,622.4 การผลิตผลติ ภณั ฑย์ างและพลาสติก 6,392,062.3 การผลติ ผลิตภณั ฑค์ อมพิวเตอร์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 206,418.7 มลู ค่าผลผลิต (ล้านบาท) และอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในทางทัศนศาสตร์ 788,503.8 หมายถึง รายรบั ของสถานประกอบการ การผลติ ยานยนต์ รถพว่ ง และรถกง่ึ พ่วง 994,922.5 ในรอบปี 2559 การผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร 300,414.1 คา่ ใชจ้ ่ายขน้ั กลาง (ล้านบาท) 1,147,091.5 หมายถึง รายจ่ายที่ใชใ้ นการดาเนินการผลิต 1,447,505.6 ของสถานประกอบการในปี 2559 383,406.5 มลู ค่าเพิม่ (ลา้ นบาท) 1,629,273.9 คานวณโดย: มูลค่าผลผลิต - ค่าใช้จา่ ยขั้นกลาง 2,012,680.4 472,228.0 1,565,040.3 2,037,268.3 เมื่อพิจารณาผลการดาเนินกิจการของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิต ทั่วประเทศ พบว่า ในปี 2559 สถานประกอบการมีมูลค่าผลผลิตรวม 12.9 ลา้ นลา้ นบาท มีค่าใช้จ่ายข้ันกลางรวม 10.0 ล้านล้านบาท ซึ่งก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มจาก อุตสาหกรรมการผลิตทั้งส้ิน 2.9 ล้านล้านบาท และเมื่อพิจารณาตามหมวดย่อย อุตสาหกรรม พบว่าสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร มีมูลค่าผลผลิต ค่าใช้จ่ายข้ันกลาง และมูลค่าเพิ่มสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 15.8 15.7 และ 16.4 ตามลาดับ รองลงมาเป็นสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ รถพ่วง และรถกึ่งพ่วง มีมูลค่าผลผลิต ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง และมูลค่าเพิม่ คิดเปน็ ร้อยละ 15.6 16.3 และ 13.3 ตามลาดบั สว่ นสถานประกอบการที่ประกอบ กิจการอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นมีมูลค่าผลผลิต ค่าใช้จ่ายข้ันกลาง และมูลค่าเพม่ิ ต่ากว่าร้อยละ 12.0 DETROIT CHICAGO
EXECUTIVE SUMMARY Due to country context has considerably changed in economic, social and political, which effected to the business and industry structure changing rapidly. At present new business entities related to trade, services and manufacturing have been highly setting up. Besides, small and medium enterprises (SMEs) play an important role to the growth of country’s economy. Therefore, statistical data on basic information of the business is important and necessary for the public and private sector in policy formulation and development planning of economic and industry in both the national and provincial level, so as to increase competitiveness in the global trade market. National statistical Office (NSO) conducted The Industrial Census to collect the important information of manufacturing establishment for analyzing and following the economic situation of nation and region in order that The Industrial trial census 2017 is the 5th industrial census of Thailand. The data presented in this publication presents the operation result in 2016 (1st January – 31st December 2017) of manufacturing establishment in the economic activities were classified according to the Thailand Standard Classifications (TSIC- 2009) located in the Whole Kingdom as follows; DETROIT CHICAGO
xviii THE 2017 INDUSTRIAL CENSUS: WHOLE KINGDOM 1. CHARACTERISTICS OF ESTABLISHMENTS 1.1 Number of establishments Figure 1 Number of establishments by region The results of the Industrial census 2017 shows that there were 443,188 Northern manufacturing establishments located in 100,419 the Whole Kingdom, in order that the most of establishments located in Northeastern Northeastern 180,711 Vicinity Central 55,308 region. Followed by Northern region, 27,844 Bangkok Central region, Bangkok, Southern region 43,317 and Vicinity. If compared with last 5 years, Southern Number of establishments the result shows that the number of 35,589 establishments increased by 4.5% 1.2 Division of industry Considering in each division of industry, the most of manufacturing were manufacture of food products followed by manufacture of wearing apparels, manufacture of textiles and manufacture of wood and products of wood and cork (except furniture); manufacture of articles of straw and plaiting materials. All of other divisions of industry had the number of establishments less than 10.0% Figure 2 Percentage of establishments by division of industry Manufacture of food Manufacture of wearing 8.3% Manufacture of fabricated metal products products apparels (excepts machinery and equipment) 25.3% 15.1% 5.6% Other manufacture 2.8% Manufacture of other non-metallic mineral Manufacture of 13.8% Manufacture of wood and textiles products of wood and cork products, n.e.c. (except furniture); 2.4% Manufacture of furniture 14.2% manufacture of articles of 1.8% Printing and reproduction of recorded media straw and plaiting materials 1.7% Repair and installation of machinery and equipment 1.6% Manufacture of beverages 1.4% Manufacture of leather and related products 1.4% Manufacture of rubber and plastic products 4.6% Others DETROIT CHICAGO
EXECUTIVE SUMMARY xix 1.3 Size of establishments (persons engaged) Figure 3 Percentage of establishments by Size of establishments (persons engaged) Persons engaged 1 – 15 persons Persons engaged 0.7% >.200 persons 94.0% 6.0% 1.7% 51 - 200 persons Persons engaged 1.1% 31 - 50 persons >15 persons 0.6% 26 - 30 persons 1.9% 16 - 25 persons Considering by size of establishments (persons engaged), the result shows that the most of manufacturing in the Whole Kingdom (94.0%) were establishments with 1 – 15 persons. The rest 6.0% were establishments with more than 16 persons, in this number 1.9% were establishments with 16 – 25 persons, the establishment with 51 – 200 persons and 31 – 50 persons, had about 1.7% and 1.1% respectively and each other size of establishments were less than 1.0%. 1.4 Form of economic organization The most of manufacturing establishments in the Whole Figure 4 Percentage of establishments Kingdom (97.5%) were single by form of organization unit, while the establishments were in head office and branch 97.5% had the proportion of 1.5% and 1.0% respectively. Single unit 1.5% 1.0% Head Office Branch DETROIT CHICAGO
xx THE 2017 INDUSTRIAL CENSUS: WHLOE KINGDOM 1.5 Form of legal organization Figure 5 Percentage of establishments by form of legal organization Individual proprietor 17.8% 2.2% Juristic partnership 7.5% Company limited, Public company limited 82.2% 8.1% Government, state-enterprise, Cooperatives and others Considering by form of legal organization, the result shows that the most of manufacturing establishments in the Whole Kingdom (82.2%) were the individual proprietor. The rest were established in government, state-enterprise, cooperatives and others form 8.1%, company limited and public company limited form 7.5% and establishments in juristic partnership form 2.2% 1.6 Period of operation Figure 6 Percentage of establishments by period of operation The most of establishments in the Whole Kingdom (33.9%) operated 8.8% Period for 10 – 19 years. Follows by 21.3% 14.9% of operation and 21.1% were the establishments 33.9% where operated 5 – 9 years and ≥ 30 years establishments where operated less 21.3% 20 - 29 years than 5 years respectively. There were 21.1% 10 – 19 years 14.9% of establishments where operated 20 – 29 years and 8.8% 5 – 9 years were the establishments where <5 years operated 30 years and over. DETROIT CHICAGO
EXECUTIVE SUMMARY xxi 1.7 Registered capital Figure7 Percentage of establishments by registered capital 76.9% Had no Had registered < 10 15.8% 7.3% registered capital Capital 10 – 99 ≥ 100 91.2% 8.8% Register capital (million baht) Considering the registered capital of the manufacturing establishments, the result shows that 8.8% had the registered capital. In this proportion, 76.9% had the registered capital less than 10 million baht, 15.8% had the registered capital 10 – 99 million baht and 7.3% had the registered capital 100 million baht and over. 1.8 Foreign investment or share holding There were 3,045 establishments Figure 8 Percentage of establishments (0.7%) in the Whole Kingdom had the by foreign investment foreign investment or share holding. In or share holding this number, 48.4% were the establishments where had the foreign Had no foreign investment or share holding 10% - 50%, Investment or share holding 99.3% 45.6% were the establishments where >50% Had foreign investment had the foreign investment more than 10% - 50% or share holding 50% and 6.0% were the establishments where had the foreign investment or 0.7% share holding less than 10%. 45.6% 48.4% <10% 6.0% DETROIT CHICAGO
xxii THE 2017 INDUSTRIAL CENSUS: WHLOE KINGDOM 1.9 Percentage of capacity utilization Figure 9 Percentage of establish In 2017 manufacturing by percentage of capacity utilization establishment in the Whole Kingdom 69.2% 10.0% Percentage had the average capacity utilization about 83.0%, most of establishment Percentage of of capacity (69.2%) had the percentage of capacity utilization capacity utilization more than 80% utilization and over, 20.8% had the 83.0% 20.8% < 60% percentage of capacity utilization 60 – 79% 60 - 79% and 10.0% had the ≥ 80% percentage of capacity utilization Percentage of capacity utilization: Ratio between quantity of true production and maximum capacity during some period less than 60%. 2. Persons engaged in establishment 2.1 Number of persons engaged Figure 10 Percentage of persons engaged in establishment by gender and work status 9.2% Other employees 11.0% 25.3% Unskill labour 27.0% 54.2% Skill labour 47.6% 11.3% Unpaid workers 14.4% 49.8% 50.2% There were 4,461,443 persons worked in manufacturing establishments in the Whole Kingdom. In this number, 49.8% were male workers and 50.2% were female workers. To consider the work status, 54.2% of male workers were skilled labour which that more than female workers who were skilled labour 47.6%, however in the others work status had the proportion of female workers more than male workers. DETROIT CHICAGO
EXECUTIVE SUMMARY xxiii 2.2 Remuneration Figure 11 Average remuneration per person per year by division of industry Division of industry Average remuneration per person per year Others 139,344 Manufacture of machinery and equipment, n.e.c 170,437 Manufacture of electrical equipment 170,755 Manufacture of motor vehicles, trailers and semi-trailers 173,292 Manufacture of chemicals and chemical products 175,354 Manufacture of other transport equipment 185,314 Manufacture of tobacco products 239,394 Remediation activities and other waste management services 261,165 Manufacture of coke and refined petroleum products 442,101 Considering the remuneration, employees working in manufacturing establishments in the Whole Kingdom received the total remuneration 573,026.4 million baht or average 147,358 baht per person per year. The employees engaged in manufacture of coke and refined petroleum products received the highest remuneration about 442,101 baht per person per year, followed by employees engaged in remediation activities and other waste management services the remuneration about 261,165 baht per person per year, employees engaged in manufacture of tobacco products, manufacture of other transports equipment and manufacture of chemicals and chemical products received the remuneration about 239,394 baht, 185,314 baht and 175,354 baht per person per year respectively. For the employees engaged in others division of industry were not mentioned above received the remuneration less than 175,000 baht per person per year. DETROIT CHICAGO
xxiv THE 2017 INDUSTRIAL CENSUS: WHOLE KINGDOM 3.Operation result of establishment Figure 12 Operation result of establishment by division of industry Division of industry 1,522,439.9 Others 4,869,622.4 Manufacture of rubber and plastic products 6,392,062.3 Manufacture of computers, electronic 206,418.7 Value of gross output (million baht) and optical products 788,503.8 Refer to value of goods and service produced as 994,922.5 Manufacture of motor vehicles, trailers output in the process of production in 2016 and semi-trailers 300,414.1 Intermediate consumption (million baht) Manufacture of food products 1,147,091.5 Refer to value of goods and service consumed as 1,447,505.6 input in the process of production in 2016 Value added (million baht) 383,406.5 Compute by: 1,629,273.9 Value of gross output - Intermediate consumption 2,012,680.4 472,228.0 1,565,040.3 2,037,268.3 Considering the operation result of manufacturing establishment located in the Whole Kingdom, the result shows that totally gross value output was about 12.9 trillion baht, intermediate consumption was 10.0 trillion baht and value added was about 2.9 trillion baht. Considering the division of industry, manufacture of food products was the highest proportion of gross value output, intermediate consumption and value added about 15.8%, 15.7% and 16.4% respectively. The follows engaged in manufacture of motor vehicles, trailers and semi-trailers was about 15.6%, 16.3% and 13.3% respectively. While others division of industry had the gross value output, intermediate consumption and value added less than 12.0% of total. DETROIT CHICAGO
สารบัญ xxv สารบญั หนา้ iv คานา ix บทสรปุ สาหรับผบู้ รหิ าร xxix สารบัญแผนภาพ xxxiii สารบัญตาราง 1 บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ความเป็นมา 2 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3 1.3 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ 5 บทที่ 2 ระเบียบวธิ ีสถิติ 5 2.1 ประชากรเป้าหมาย 5 2.2 เวลาอา้ งองิ 6 2.3 คานิยาม 10 2.4 รายการข้อมูลที่เกบ็ รวบรวม 10 2.5 การเก็บรวบรวมข้อมลู 11 2.6 การประมวลผลข้อมูล 11 2.7 การปดั ตัวเลข 11 2.8 ความคลาดเคลื่อนของข้อมลู 12 2.9 การนาเสนอข้อมลู และการจดั ทารายงาน DETROIT CHICAGO
xxvi สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ ราชอาณาจักร หน้า 13 สารบญั (ต่อ) 13 15 บทที่ 3 ผลการสามะโน 23 3.1 หมวดยอ่ ยอุตสาหกรรม 24 3.2 ข้อมูลสถิติทีส่ าคัญ 25 3.3 อัตราการเปลย่ี นแปลง 26 3.4 อตุ สาหกรรมสีเขียว 27 3.5 ปญั หา/อปุ สรรคในการดาเนินกิจการ 3.6 ความต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลือ 61 3.7 การเปรียบเทียบขอ้ มลู ระหว่างภาค 63 67 ภาคผนวก ภาคผนวก ก: แผนแบบการเลือกตวั อยา่ ง 83 ภาคผนวก ข: การประมาณค่าประมาณความคลาดเคลื่อน 103 จากการเลือกตัวอยา่ ง 137 ภาคผนวก ค: คาอธิบายศพั ท์ ภาคผนวก ง: ตารางสถิติ รายงานสามะโน/สารวจอุตสาหกรรมการผลติ DETROIT CHICAGO
CONTENTS xxvii CONTENTS PAGE vi PREFACE xvii EXECUTIVE SUMMARY xxxv LIST OF FIGURES xxxv LIST OF TABLES 31 CHAPTER 1 INTRODUCTION 31 1.1 Background 32 1.2 Objectives 33 1.3 Expected outcome 35 CHAPTER 2 STATISTICAL METHODOLOGY 35 2.1 Target Population 35 2.2 Reference Period 36 2.3 Definition 39 2.4 The items of data 40 2.5 Data Collection 40 2.6 Data Processing 41 2.7 In round figure 41 2.8 Error of the data 41 2.9 Data presentation and reporting DETROIT CHICAGO
xxviii THE 2017 INDUSTRIAL CENSUS: WHOLE KINGDOM PAGE 43 CONTENTS (cont.) 43 45 CHAPTER 3 MAJOR FINDINGS 53 3.1 Division of industry 54 3.2 Principal statistics 55 3.3 Changed rate 56 3.4 Green industry 57 3.5 Problem/obstacle of operation 3.6 Need aid from the government 3.7 Data comparison among regions APPENDIX 61 Appendix A: Sample Design 65 Appendix B: Estimation of Sampling Error 75 Appendix C: Glossary 93 Appendix D: Statistical Tables 103 137 REPORT OF THE MANUFACTURING INDUSTRY CENSUS/SURVEY DETROIT CHICAGO
สารบัญแผนภาพ xxix สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ หน้า 1 จานวนสถานประกอบการ รายภาค x 2 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามหมวดย่อยอตุ สาหกรรม x 3 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามขนาดของ xi สถานประกอบการ (จานวนคนทางาน) 4 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามรปู แบบการจดั ตั้ง xi ทางเศรษฐกิจ 5 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามรปู แบบการจัดตั้ง xii ตามกฎหมาย 6 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามระยะเวลา xii การดาเนินกิจการ 7 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามทนุ จดทะเบียน xiii 8 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามการมีต่างประเทศ xiii ร่วมลงทุนหรือถือหุ้น 9 ร้อยละของสถานประกอบการ จาแนกตามอัตราการใชก้ าลังการผลติ xiv 10 ร้อยละของคนทางานในสถานประกอบการ จาแนกตามเพศและ xiv สถานภาพการทางาน 11 ค่าตอบแทนแรงงานเฉลย่ี ต่อคนต่อปี xv จาแนกตามหมวดยอ่ ยอุตสาหกรรม 12 ผลการดาเนินกิจการของสถานประกอบการ xvi จาแนกตามหมวดยอ่ ยอุตสาหกรรม DETROIT CHICAGO
xxx สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ท่ัวราชอาณาจักร สารบัญแผนภาพ (ต่อ) หน้า 24 แผนภาพที่ 25 13 จานวนสถานประกอบการ จาแนกตามระดบั อุตสาหกรรมสีเขียว 14 ร้อยละของสถานประกอบการท่ปี ระสบปัญหา/อุปสรรค 26 ในการดาเนินกิจการแต่ละด้าน 5 อันดบั แรก 15 ร้อยละของสถานประกอบการทต่ี ้องการให้ภาครัฐช่วยเหลือ แต่ละประเภท 5 อนั ดับแรก DETROIT CHICAGO
LIST OF FIGURES xxxi LIST OF FIGURES FIGURE PAGE 1 Number of establishments by province xviii 2 Percentage of establishments by division of industry xviii 3 Percentage of establishments by Size of establishments xix (persons engaged) 4 Percentage of establishments by form of organization xix 5 Percentage of establishments by form of legal organization xx 6 Percentage of establishments by period of operation xx 7 Percentage of establishments by registered capital xxi 8 Percentage of establishments by foreign investment xxi or share holding 9 Percentage of establish by percentage of capacity utilization xxii 10 Percentage of persons engaged in establishment xxii by gender and work status 11 Average remuneration per person per year by division of industry xxiii 12 Operation result of establishment by division of industry xxiv 13 Number of establishment by green industry level 54 14 Percentage of establishment by problem/obstacle of operation, 55 first 5 problems/obstacles 15 Percentage of establishment by need aid from the government, 56 first 5 need aids DETROIT CHICAGO
DETROIT CHICAGO
สารบญั ตาราง xxxiii สารบัญตาราง ตาราง หน้า ก จานวนและรอ้ ยละของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลติ 14 จาแนกตามหมวดยอ่ ยอุตสาหกรรม ข คนทางาน ลกู จ้าง และค่าตอบแทนแรงงาน จาแนกตามขนาดของ 17 สถานประกอบการ และหมวดยอ่ ยอุตสาหกรรม ค มูลค่าผลผลติ ค่าใชจ้ ่ายข้ันกลาง และมลู คา่ เพิ่มของสถานประกอบการ 19 อตุ สาหกรรมการผลติ จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ และหมวดย่อยอุตสาหกรรม ง มลู ค่าผลผลิต และมลู ค่าเพิ่มเฉลีย่ ต่อสถานประกอบการ 22 และต่อคนทางาน จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ และหมวดย่อยอุตสาหกรรม จ ข้อมลู ทีส่ าคญั ของสถานประกอบการอตุ สาหกรรมการผลติ 23 ปี 2554 และ 2559 ฉ ข้อมลู การดาเนินการของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลติ 29 จาแนกตามภาค DETROIT CHICAGO
DETROIT CHICAGO
LIST OF TABLES xxxv LIST OF TABLES TABLE PAGE A Number and percentage of manufacturing establishment 44 by division industry B Persons engaged, employees and remuneration 47 by size of establishment and division of industry C Value of gross output, intermediate consumption and value added 49 by size of establishment and division of industry D Average value of gross output and average value added 52 by size of establishment and division of industry E Principal data of manufacturing establishments in year 53 2011 and 2016 F Principal data of manufacturing establishments by region 59 DETROIT CHICAGO
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำ สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้จดั ทำสำมะโนอตุ สำหกรรม ทุก 10 ปี ตำมข้อเสนอแนะขององค์กรสหประชำชำติ เพื่อให้ ประเทศมีข้อมูลพื้นฐำนทีส่ ำคัญทำงดำ้ นอุตสำหกรรมกำรผลิต มำอย่ำงต่อเนื่อง เนื่องจำกควำมผันผวนของเศรษฐกิจโลก ทำให้โครงสร้ำงกำรดำเนินธุรกิจและอุตสำหกรรมมีกำร เปลย่ี นแปลงรวดเร็วทำให้หน่วยงำนหลักด้ำนเศรษฐกิจของประเทศ ได้แก่ สำนักงำนเศรษฐกิจอตุ สำหกรรม กระทรวงอุตสำหกรรม สำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ธนำคำรแห่งประเทศไทย และกระทรวงพำณิชย์ มีควำม จำเป็นต้องใช้ข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อใช้ในกำรวิเครำะห์และ ติดตำมสถำนกำรณ์ด้ำนเศรษฐกิจของประเทศและภูมิภำค จึงขอให้สำนักงำนสถิติแห่งชำติจัดทำสำมะโนอุตสำหกรรม จำกทุก 10 ปี เป็นจัดทำทุก 5 ปี ประกอบกับประเทศต่ำง ๆ สว่ นใหญ่ไดม้ ีกำรจดั ทำสำมะโนดำ้ นเศรษฐกิจทุก 5 ปี โดยในปี 2555 สำนกั งำนสถิติแห่งชำติ ไดว้ ำงแผนปรับกำรจัดทำสำมะโน อุตสำหกรรมเป็นประจำทุก 5 ปี ซึ่งสำมะโนอุตสำหกรรม จัดทำมำแล้ว 4 คร้ัง ในปี 2507 ปี 2540 ปี 2550 และ ปี 2555 สำหรับในปี 2560 ครบรอบ 5 ปี ในกำรจัดทำสำมะโน อตุ สำหกรรมซึง่ นับเป็นครั้งท่ี 5 ของประเทศไทย
2 สำมะโนอตุ สำหกรรม พ.ศ. 2560 ทว่ั รำชอำณำจักร สำหรับกำรจัดทำสำมะโนอุตสำหกรรม พ.ศ. 2560 ได้กำหนดแผนกำร ดำเนินงำนเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นกำรเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐำนหรือกำรนับจด สถำนประกอบกำรทุกประเภท ดำเนินกำรในปี 2559 และขั้นกำรเก็บรวบรวม ข้อมูลรำยละเอียดหรือกำรแจงนับสถำนประกอบกำรในอุตสำหกรรมกำรผลิต ซึง่ ดำเนินกำรในปี 2560 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐำน ที่แสดงให้เห็นโครงสร้ำง และกำร กระจำยตัวของสถำนประกอบกำรประเภทต่ำง ๆ เช่น สถำนประกอบกำรธุรกิจ ทำงกำรค้ำ ธุรกิจทำงกำรบริกำร อุตสำหกรรมกำรผลิต กำรก่อสร้ำง กำรขนส่ง ทำงบก สถำนที่เก็บสินค้ำ กิจกรรมด้ำนข้อมูลข่ำวสำรและกำรสื่อสำร และ โรงพยำบำลเอกชน เป็นต้น 2. เพื่อเก็บรวบรวมรำยละเอียด กำรดำเนินงำนของสถำนประกอบกำร เกี่ยวกับจำนวนและขนำดของสถำนประกอบกำร ประเภทอุตสำหกรรม จำนวน คนทำงำน ลูกจ้ำง ค่ำตอบแทนแรงงำน ค่ำใช้จ่ำยในกำรผลิต และดำเนินงำน มูลค่ำขำยผลผลิตและรำยรับ ส่วนเปล่ียนแปลงของวัตถุดิบ และสินค้ำคงเหลือ มูลค่ำสินทรัพย์ถำวรของสถำนประกอบกำร และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ อตุ สำหกรรมกำรผลติ DETROIT CHICAGO
บทท่ี 1 บทนำ 3 1.3 ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะได้รบั ข้อมลู ที่ได้จะเปน็ ประโยชน์สำหรับผู้ใชข้ ้อมูลท้ังในภำครฐั และเอกชน ดังนี้ ภำครัฐ 1. ใช้ในกำรวำงแผนและกำหนดนโยบำยพัฒนำเศรษฐกิจด้ำนอุตสำหกรรม กำรผลิตท้ังในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้ำงศักยภำพของ อุตสำหกรรมให้สำมำรถแข่งขนั ได้ในเวทีกำรค้ำโลก 2. ใช้ในกำรจัดทำดัชนีช้ีวัดภำวะเศรษฐกิจและภำวะกำรดำเนินกิจกำร เช่น ผลติ ภัณฑม์ วลรวม ตำรำงปัจจยั กำรผลติ และผลผลิตของประเทศ สดั สว่ นแรงงำน ในภำคกำรผลติ กำรบริกำร เป็นต้น 3. ใช้ในกำรจัดทำแผนวิเครำะห์สถำนกำรณ์ในกำรส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อมของประเทศ 4. ใช้ประกอบกำรพิจำรณำกำหนดนโยบำย ออกกฎหมำยและมำตรกำร ต่ำง ๆ เพื่อส่งเสริมและกำหนดทิศทำงกำรประกอบธุรกิจทำงกำรค้ำ ธุรกิจ ทำงกำรบรกิ ำร และอตุ สำหกรรมกำรผลติ ให้เปน็ ไปตำมแนวนโยบำยทีก่ ำหนดไว้ 5. เป็นข้อมูลพื้นฐำนในกำรวำงแผนจัดหำโครงสร้ำงพื้นฐำน (Infrastructure) เพือ่ สนับสนุนอตุ สำหกรรมกำรผลติ ของประเทศ 6. ใช้ในกำรพัฒนำระบบข้อมูลเพื่อกำรวำงแผนเตือนภัยทำงเศรษฐกิจ และสังคม 7. ใช้ประโยชน์ในทำงสถิติเพื่อจัดทำกรอบตัวอย่ำง สำหรับกำรเก็บรวบรวม ข้อมลู จำกสถำนประกอบกำรของหน่วยสถิติต่ำง ๆ DETROIT CHICAGO
4 สำมะโนอตุ สำหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ รำชอำณำจักร ภำคเอกชน 1. ผู้ประกอบกำรใช้ข้อมูลพื้นฐำนและข้อมูลกำรดำเนินกิจกำร เปน็ เครือ่ งมือ สำหรับกำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์ด้ำนเศรษฐกิจ รวมทั้งกำรวำงแผนตัดสินใจ เกีย่ วกับกำรลงทนุ ขยำยกิจกำร/สำขำ บริหำรและควบคุมกำรดำเนินกิจกำรในด้ำน ต่ำง ๆ ใหม้ ีประสทิ ธิภำพย่งิ ขนึ้ 2. ใช้ข้อมูลเป็นมำตรฐำนเพื่อเปรียบเทียบผลกำรดำเนินงำนของตนเองกับ กิจกำรอื่น ๆ ในอุตสำหกรรมประเภทเดยี วกนั หรือขนำดต่ำง ๆ 3. สำหรับนักวิชำกำร นักวิจัย และสถำบันกำรศึกษำ นำไปศึกษำวิเครำะห์ ต่อยอด สร้ำงนวัตกรรม เพื่อสนบั สนุน ส่งเสรมิ และพฒั นำธุรกจิ ทำงกำรค้ำ ธรุ กิจ ทำงกำรบริกำรและอุตสำหกรรมกำรผลิตที่อยู่ในควำมสนใจและเรื่องต่ำง ๆ ที่ เกีย่ วข้อง DETROIT CHICAGO
บทที่ 2 ระเบียบวิธีสถิติ 2.1 ประชากรเปา้ หมาย สถานประกอบการที่อยู่ในขอบข่ายสามะโนครั้งนี้ ได้แก่ สถาน- ประกอบการที่ดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการผลิต การจัดหาน้า การจดั การและการบาบดั น้าเสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกลู และการจดั พิมพ์ จาหน่ายหรือเผยแพร่ ตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม ประเทศไทย ปี 2552 (Thailand Standard Industrial Classification: TSIC- 2009) โดยคุ้มรวมสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตทุกแห่ง ที่ตั้งอยู่ในกรงุ เทพมหานคร เมืองพัทยา ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล ท่ัวประเทศ 2.2 เวลาอ้างอิง ข้อมูลเกี่ยวกับจานวนและลักษณะต่าง ๆ ของสถานประกอบการ ที่เก็บรวบรวมเป็นข้อมูลของสถานประกอบการที่ดาเนินกิจการในรอบปี 2559 (การดาเนินกิจการระหวา่ ง 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559)
6 สามะโนอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ ราชอาณาจักร 2.3 คานิยาม 1. สถานประกอบการอตุ สาหกรรมการผลิต หมายถึง สถานประกอบการ ที่ดาเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิต ซึ่งหมายถึงการเปล่ียนรูปวัตถุให้เป็นผลิตภัณฑ์ ชนิดใหม่ด้วยเครื่องจักรหรือเคมีภัณฑ์ โดยไม่คานึงถึงว่างานน้ันทาด้วยเครื่องจักร หรือด้วยมือ หรือทาในโรงงาน โรงซ่อม หรือเคหะสถาน หรือผลิตภัณฑ์นั้นขายส่ง หรือขายปลีกก็ตาม การประกอบช้ินสว่ นของผลติ ภณั ฑน์ บั ว่าเป็นการผลิตด้วย 2. การจาแนกประเภทอุตสาหกรรมการผลิต ในการจัดทาสามะโน อุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ได้จาแนกประเภทอุตสาหกรรมการผลิตที่จัดอยู่ ในประเภท D (หมวดยอ่ ย 10 – 33) E (หมวดยอ่ ย 37 – 39) และ J เฉพาะหมวดยอ่ ย 58 การจัดจาแนกโครงสรา้ งประเภทอุตสาหกรรมการผลิต เปน็ ดังนี้ หมวดย่อยอตุ สาหกรรม ได้แก่ กลุ่มอตุ สาหกรรม ซึง่ แบ่งเปน็ กลุ่มย่อย จากหมวดใหญ่ และใช้แทนด้วยเลขรหัส 2 ตัวแรก ต้ังแต่รหัส 10 – 33 37 – 39 และ 58 รวม 28 หมวดยอ่ ย หมู่ใหญ่อุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มย่อย จากหมวดยอ่ ยอุตสาหกรรม และใชแ้ ทนดว้ ยเลขรหัส 3 ตวั แรก ตั้งแต่รหสั 101 – 332 370 - 390 และ 581 - 582 รวม 78 หมใู่ หญ่ หมู่ย่อยอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มย่อย จากหมู่ใหญ่อุตสาหกรรม และใชแ้ ทนด้วยเลขรหัส 4 ตัวแรก ตั้งแต่รหสั 1011 – 3320 3700 - 3900 และ 5811 - 5820 รวม 164 หมยู่ อ่ ย กจิ กรรมอตุ สาหกรรม ได้แก่ กลุ่มอตุ สาหกรรมทย่ี อ่ ยที่สดุ และใชแ้ ทน ด้วยเลขรหัส 5 ตัวแรก ตั้งแต่รหัส 10111 – 33200 37000 – 39000 และ 58111 – 58203 รวม 409 กิจกรรม DETROIT CHICAGO
บทท่ี 2 ระเบียบวิธีสถติ ิ 7 3. คนทางาน หมายถึง คนที่ทางานในสถานประกอบการทั้งที่ได้รับเงินเดือนและไม่ได้รับ เงินเดือนที่สถานประกอบการมีอยู่ตามปกติ รวมทั้งผู้ที่ปกติทางานอยู่ในสถาน- ประกอบการแห่งนี้ แต่ในวันดังกล่าวไม่ได้มาทางาน เนื่องจากเจ็บป่วย ลาหยุด พักผ่อน โดยไดร้ ับค่าจ้าง/เงินเดือน 4. คา่ ตอบแทนแรงงาน 1) ค่าจ้าง เงินเดือน หมายถึง เงินที่นายจ้างหรือสถานประกอบการจ่ายให้ ลูกจ้างระหว่างเดือนมกราคม - เดือนธันวาคม 2559 (ก่อนหักภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา เงินสมทบกองทุนประกันสังคมในส่วนที่ลูกจ้างต้องจ่ายค่าประกันชีวิต และรายจ่ายอื่น ๆ ของลูกจ้าง) ตามข้อตกลงการจ้างแรงงาน โดยอาจจ่ายตาม เงือ่ นไขของระยะเวลา หรือจ่ายตามปริมาณงาน 2) คา่ ล่วงเวลา โบนัส เงินรางวัลพิเศษ เงินเพิ่มคา่ ครองชีพ ค่านายหนา้ หมายถึง เงินนอกเหนือจากค่าจ้าง เงินเดือนที่สถานประกอบการจ่ายให้แก่ลูกจ้าง เป็นค่าตอบแทนในการทางาน 3) สวัสดิการและผลประโยชน์ตอบแทนอื่น ๆ หมายถึง ผลประโยชน์ ตอบแทนแรงงานที่นายจ้างหรือสถานประกอบการจ่าย หรือบริการให้แก่ลูกจ้าง ได้แก่ ค่าตอบแทนแรงงานที่จ่ายเป็นส่ิงของหรือผลผลิต และสวัสดิการที่นายจ้าง จัดหาหรือบริการลูกจ้าง เช่น อาหาร เครื่องดื่ม บ้านพักคนงาน ค่าเช่าบ้าน ค่าซ่อมแซมทีอ่ ยู่อาศัย ค่ารักษาพยาบาล บริการดูแลบตุ ร พาหนะรับส่งมาทางาน บันเทิงหรือนนั ทนาการต่าง ๆ ทีจ่ ัดใหล้ กู จ้าง เปน็ ต้น ทั้งนีไ้ มร่ วมเสื้อผ้า เครือ่ งแบบ ที่ใช้เฉพาะในการปฏิบัติงาน (ค่าเสื้อผ้า เครื่องแบบ ที่ใช้เฉพาะในการปฏิบัติงาน ถือเป็นค่าใชจ้ ่ายอืน่ ๆ ของสถานประกอบการ) DETROIT CHICAGO
8 สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ทวั่ ราชอาณาจักร 4) เงินที่สถานประกอบการจ่ายสมทบเขา้ กองทนุ เพอื่ การประกันสงั คม ฯลฯ หมายถึง เงนิ ที่สถานประกอบการจ่ายสมทบเข้ากองทนุ เพือ่ การประกันสังคม ของท้ังรัฐบาลและเอกชน เพื่อมิให้ลูกจ้างได้รับความเดือดร้อนเมื่อต้องขาดรายได้ ไปบางส่วนหรือทั้งหมดอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยหรือประสบอันตรายทั้งในและ นอกเวลาทางาน การคลอดบุตร ทุพพลภาพ การว่างงาน ชราภาพ และเสียชีวิต เงินดังกล่าว เช่น เงินสมทบกองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุน สารองเล้ยี งชีพ เป็นต้น 5. มูลค่าเพิม่ คานวณโดย : มลู ค่าเพิม่ = มูลค่าผลผลติ – ค่าใชจ้ ่ายข้ันกลาง มูลค่าผลผลิต หมายถึง รายรับของสถานประกอบการในรอบปี 2559 ซึ่งได้แก่ 1) มลู ค่าขายผลผลิต 2) รายรบั จากการขายสนิ ค้าที่ซื้อมาจาหน่ายในสภาพเดิม 3) รายรับจากการรับจ้างเหมาทาการผลิตสินค้าให้สถานประกอบการอื่น โดยสถานประกอบการจดั หาวัสดุให้ 4) รายรับจากการให้บริการ บารุงรักษา ซ่อมแซม และติดต้ังให้แก่สถาน- ประกอบการอืน่ 5) รายรับจากการให้เช่าอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน ยานพาหนะ เครื่องจักร และเครื่องมือ ฯลฯ และรายรบั อื่น ๆ 6) สว่ นเปล่ยี นแปลงมูลค่าสินค้าคงเหลือ DETROIT CHICAGO
บทท่ี 2 ระเบียบวิธีสถติ ิ 9 คา่ ใชจ้ ่ายขั้นกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ใช้ในการดาเนินการในขบวนการผลิตของ สถานประกอบการในรอบปี 2559 ซึ่งได้แก่ 1) ค่าซื้อวัตถดุ ิบและวัสดปุ ระกอบทีใ่ ชใ้ นการผลิต 2) ค่าใช้จ่ายในการผลิต (ค่าเชื้อเพลิงและค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการผลิต ค่าติดตั้ง ซ่อมแซมและบารุงรักษาสินค้าที่จาหน่ายให้ลกู ค้า ค่าติดต้ังซอ่ มแซม และ บารงุ รักษาเครื่องจกั ร เครือ่ งมือฯ และค่าใชจ้ ่ายในการผลิตอื่น ๆ) 3) ค่าซื้อสินค้าทีซ่ ื้อมาจาหน่ายในสภาพเดิม 4) ค่าจ้างเหมาจ่ายให้สถานประกอบการอื่นผลิตสินค้าให้ โดยสถาน- ประกอบการจดั หาวัสดใุ ห้ 5) ค่าธรรมเนียมทีจ่ ่ายสาหรับลูกจ้างเชา่ (แรงงานเช่า) 6) ค่าใช้จ่ายในการขายของสถานประกอบการ (ค่าโฆษณา ค่าขนส่งสินค้าที่ขาย ค่านายหน้า ค่าประกันภยั และค่าใช้จ่ายในการขายอืน่ ๆ) 7) ค่าใช้จ่ายในการบริหารและดาเนินงานของสถานประกอบการ (ค่าใช้จ่าย ในการบริหารและดาเนินงานฯ หักด้วยค่าเช่าที่ดิน ค่าดอกเบี้ยจ่าย หนี้สูญ และขาดทุนจากการเปล่ยี นแปลงอัตราแลกเปลย่ี นฯ) 8) สว่ นเปลย่ี นแปลงมลู ค่าวตั ถดุ ิบและวสั ดปุ ระกอบฯ คงเหลือ DETROIT CHICAGO
10 สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ทว่ั ราชอาณาจักร 2.4 รายการข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวม สาหรบั แบบสอบถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ และบนั ทึกรายละเอยี ดข้อมูลของ สถานประกอบการทอ่ี ยู่ในข่ายการสามะโนนี้ ประกอบดว้ ย 1) ข้อมูลทั่วไปของสถานประกอบการ ได้แก่ ชื่อและที่ตั้งสถาน - ประกอบการ ประเภทอุตสาหกรรมการผลิตของสถานประกอบการ รูปแบบการ จัดต้ังตามกฎหมาย รูปแบบการจัดตั้งทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาในการดาเนิน กิจการ ทุนจดทะเบียน การมีต่างประเทศร่วมลงทุนหรือถือหุ้น การส่งผลผลิต ออกไปจาหน่ายต่างประเทศ การใช้วัตถุดิบหรือวัสดุประกอบการผลิตที่มาจาก ต่างประเทศ และอัตราการใช้กาลังการผลติ 2) คนทางาน ลูกจ้างและค่าตอบแทนแรงงาน 3) ต้นทุนการผลติ และค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจการ 4) ผลผลิตและรายรับ 5) สนิ ทรพั ย์ถาวรของสถานประกอบการ 6) การทาธรุ กรรมเกย่ี วกับสนิ ค้าและบรกิ ารกบั ต่างประเทศ 7) การมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานประกอบการ เป็นต้น 2.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีการส่งเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นข้าราชการและ ลูกจ้างของสานักงานสถิติแห่งชาติออกไปทาการสัมภาษณ์เจ้าของ ผู้ประกอบการ หรือผู้แทนทีส่ ถานประกอบการมอบหมายให้เป็นผู้ใหข้ ้อมูล DETROIT CHICAGO
บทท่ี 2 ระเบียบวิธีสถติ ิ 11 2.6 การประมวลผลขอ้ มลู การประมวลผลข้อมูลทุกขั้นตอน และการจัดทารายงานผลระดับจังหวัด ดาเนินการที่สานักงานสถิติจังหวัด โดยสานักงานสถิติแห่งชาติในส่วนกลางให้การ สนับสนุนทางด้านวิชาการ เช่น การจัดทาโปรแกรมสาหรับการบันทึกข้อมูล และ การประมวลผลข้อมูล และการจัดทาต้นแบบตารางเสนอผลและรายงานผล เป็นต้น สาหรบั ข้อมูลพื้นฐานระดบั ภาค และทัว่ ราชอาณาจกั ร จะทาการประมวลผลข้อมูล และจัดทารายงานทีส่ านกั งานสถติ ิแห่งชาติในสว่ นกลาง 2.7 การปัดตัวเลข ผลรวมของแต่ละจานวนอาจไมเ่ ท่ากบั ยอดรวม ทั้งนเี้ นือ่ งจากการปดั เศษ 2.8 ความคลาดเคลอ่ื นของขอ้ มูล ข้อมูลที่นาเสนอไว้ในรายงานฉบับนี้อาจจะมีความคลาดเคลื่อนอยู่บ้าง ความคลาดเคลื่อนดังกล่าวเป็นความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง (Sampling error) และความคลาดเคลื่อนที่ไม่ได้เกิดจากการสุ่มตัวอย่าง (Non-Sampling error) เช่น ผู้ตอบไม่ให้ข้อมูลตามความเป็นจริง ข้อมูลในแบบสอบถามไม่ครบถ้วน การลงรหัสผิดพลาดหรือการบนั ทึกข้อมูลผิดพลาด เป็นต้น อย่างไรกด็ ีสานักงาน- สถิติแห่งชาติได้พยายามควบคุมให้ข้อมูลมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด จึงขอให้ ผู้ใช้ข้อมลู ใชข้ ้อมูลดว้ ยความระมดั ระวังตามสมควร DETROIT CHICAGO
12 สามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 ทว่ั ราชอาณาจักร 2.9 การนาเสนอผลข้อมลู และการจดั ทารายงาน การจัดทารายงานผลสามะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2560 การเก็บรวบรวม ข้อมลู รายละเอยี ด ดงั นี้ 1) รายงานผลเบื้องต้นระดบั ภาค และท่ัวราชอาณาจักร 2) รายงานผลระดับจงั หวดั จานวน 76 ฉบับ 3) รายงานผลระดับภาคและท่ัวราชอาณาจักร จานวน 7 ฉบับ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และท่ัวราชอาณาจักร DETROIT CHICAGO
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186