Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานประกันคุณภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานประกันคุณภาพ

Published by pjumlong2522, 2021-01-30 04:31:58

Description: ตีพิมพิ์ระดับชาติ นายปฏิพล จำลอง

Search

Read the Text Version

..........ก..า.ร..ป..ร.ะ..ช.มุ..ว..ชิ .า..ก.า..ร.ร..ะ.ด..บั..ช..า.ต..ิ .ม..ห..า.ว..ทิ ..ย.า..ล.ัย..ร.า..ช..ภ..ัฏ.ก..ล..มุ่ ..ศ.ร..ีอ..ย.ุธ..ย..า..ค..ร.้ัง.ท..ี่.1..0...“.ว..ิจ.ัย...น..ว.ตั..ก..ร.ร..ม...น.าํ..ก..า.ร..พ..ฒั ..น..า.ท..้อ..ง.ถ..่ิน..”..4...–...5..ก..ร.ก..ฎ..า.ค..ม...2..5.6..2...ณ...ม..ห..า.ว..ทิ ..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ.ฏั..พ..ร..ะ.น..ค..ร..ศ.ร..อี ..ย.ธุ..ย.า........... ความสมั พันธร์ ะหว่างการมสี ว่ นรว่ มกบั การดาเนนิ งานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 The Relationship between Participation and Operation Internal Quality Assurance In Schools under Secondary Educational Service Area Office 33 ปฏพิ ล จาลอง1 ศรีเพญ็ พลเดช2 และ โกวิท วัชรนิ ทรางกรู 3 1นกั ศึกษาปรญิ ญาโท สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บรุ รี มั ย์ 2, 3 อาจารย์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั บุรรี ัมย์ 1Email : [email protected] บทคดั ย่อ การวิจัยคร้งั นี้มีความมุง่ หมาย เพ่ือศกึ ษาการมสี ่วนรว่ มและการดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ตามความคิดเหน็ ของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 33 และเพ่อื ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการ ดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครู สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 33 โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้บริหารสถานศึกษา และครู จานวน 416 คน ได้มาด้วยการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตาราง เครจซี และมอร์แกน และใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิอย่างมีสดั ส่วนตามขนาดโรงเรียน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ คือ แบบตรวจสอบรายการ (Check list) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) และแบบปลายเปิด (Open ended form) มีค่าความ เช่ือม่ัน เท่ากับ 0.981 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมติฐานโดยใช้ค่า สัมประสทิ ธส์ิ หสัมพันธ์แบบเพยี รส์ นั ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) การมสี ว่ นร่วมตามความคิดเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครู สงั กดั สานกั งานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.51) 2) การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ตามความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.48) และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมมีความสัมพันธ์ในทางบวกอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .01 และมีความสัมพันธใ์ นระดับสูงมาก (rXY = .825) เป็นไปตาม สมมติฐานการวิจัย คาสาคัญ : ความสมั พนั ธ์, การมีส่วนร่วม, การดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน Abstract The purpose of research were to study level of participation and operation internal quality assurance in school of school administrators and teachers’ opinions under secondary educational service area office 33 and to investigate relationship between participation and operation internal quality assurance in school of school administrators and teachers’ opinions under secondary educational service area office 33. The sample consisted of 416 school administrators and teachers. They were selected by using a table of Krejcie & Morgan. A stratified random sampling technique were also employed according to school size. The instrument used in this study was a 3-part Questionnaire including checklist, rating scale and Open ended form with its reliability value of 0.981. The data were analyzed by the following statistics i.e., percentage, mean and standard deviation. The hypothesis was tested by using Pearson Correlation Coefficient. The research results revealed that : 1) The opinions of school administrators and teachers on participation under secondary educational service area office 33 were also found at a high level ( X = 3.51) . 2) The opinions of school administrators and teachers on operation internal quality assurance in school under secondary educational service area office 33 were also found at a moderate level ( X = 3.48) and 3) The relationship between participation and operation internal quality assurance in school under secondary educational service area office 33 was overall found positively at the statistical significant level of .01 and it was also discovered at a very high level ( rXY = .825) . This was consistent with a hypothesis set. Keywords : Relationship, Participation, Operation Internal Quality Assurance 232.ภ..า..ค..บ...ร..ร.ย..า..ย.....................................................................................................................................................................................................................

..........ก..า.ร..ป..ร.ะ..ช.มุ..ว..ชิ .า..ก.า..ร.ร..ะ.ด..ับ..ช..า.ต..ิ .ม..ห..า.ว..ิท..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ..ฏั .ก..ล..ุม่ ..ศ.ร..ีอ..ย.ธุ..ย..า..ค..ร.ง้ั.ท..ี่.1..0...“.ว..ิจ.ยั...น..ว.ตั..ก..ร.ร..ม...น.ํา..ก..า.ร..พ..ัฒ..น..า.ท..้อ..ง.ถ..น่ิ ..”..4...–...5..ก..ร.ก..ฎ..า.ค..ม...2..5.6..2...ณ...ม..ห..า.ว..ิท..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ.ฏั..พ..ร..ะ.น..ค..ร..ศ.ร..อี ..ย.ุธ..ย.า........... บทนา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 เป็น หน่วยงานทางการศึกษาที่มีหน้าที่ในการบริหารจัดการศึกษาระดับ การดาเนินงานในทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน จะประสบ การศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ในจังหวัด ความสาเร็จตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สรุ นิ ทร์ มีผลการดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาที่ นั้น ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร โดยเฉพาะอย่าง ผา่ นมายังไม่เป็นระบบ ขาดความต่อเนอื่ ง บุคลากรขาดความรู้ความ ย่ิงด้านการจัดการศึกษา ท่ีจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศได้อย่าง เข้าใจในการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน ขาดความ ยั่งยนื การกาหนดให้ทกุ ภาคสว่ นเข้ามามสี ว่ นรว่ ม จึงเป็นยทุ ธศาสตร์ ร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทางการศึกษา ขาด สาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. การสนบั สนนุ จากชุมชนและหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ซึง่ ส่งผลตอ่ ผลการ 2560 – 2564) ที่ยึดหลักการมีส่วนร่วมในการพัฒนา และมุ่ง ประเมินคุณภาพภายนอก อันทาให้เกิดความน่าเช่ือถือในคุณภาพ เสริมสร้างกลไกการพัฒนาประเทศเชิงบูรณาการกับหน่วยงานโดย และได้มาตรฐานของสถานศึกษา ในการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นได้เต็ม ยึดพ้ืนท่ีเป็นหลัก รวมถึงกาหนดให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ตามศักยภาพ โดยพบว่าผลการประเมินภายนอกรอบสาม พ.ศ. ในการนาพาประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนภายในอีก 2554 - 2558 ของสถานศึกษาในสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 20 ปีขา้ งหน้า กระทรวงศึกษาธิการ [1] มัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 85 โรงเรียน มีสถานศึกษาที่ผ่านการ ประเมินจานวน 55 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 64.71 และโรงเรียนท่ี พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข ไม่ผ่านการประเมินจานวน 30 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 35.29 เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทในการจัด สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 [5] การศึกษา ได้กาหนดให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทั้ง ภาครฐั เอกชน และประชาชน ดว้ ยการกระจายอานาจการบรหิ ารไป จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ยังสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง เพื่อให้ แสดงให้เห็นว่าการมีส่วนร่วมมีความสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิง ผู้บริหารสถานศึกษาได้บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและมี สาหรับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งถือว่า อานาจเป็นนิติบุคคล ทาให้เกิดความคล่องตัวและมีความรวดเร็วใน เป็นงานหน่ึงที่มีความสาคัญ และถือเป็นงานหลักท่ีผู้บริหาร การดาเนินงานมากข้ึน อีกท้ังต้องจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามที่ สถานศึกษาจะต้องเอาใจใส่ เพราะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนา กาหนดไว้ในหมวด 6 เร่ืองมาตรฐานและการประกันคุณภาพ คณุ ภาพของสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อสร้างความม่ันใจในการ การศึกษา ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ท้ัง เข้ารับบริการทางการศึกษา ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความสัมพันธ์ ผู้ปกครอง ครูและบุคคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ ระหว่างการมีส่วนร่วมและการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา และนักเรยี น กระทรวงศกึ ษาธกิ าร [2] สถานศึกษา เพื่อให้การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาเกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย ส่งผลให้ ในการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่ การดาเนินงานของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ กาหนดไว้ในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ยงั่ ยนื ต่อไป [3] ด้วยการให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในแบบมี ส่วนร่วมใน 6 ข้ันตอน คือ 1) การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย สถานศึกษา 2) การจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพ การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา 3) การดาเนินงานตาม 1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 4) การประเมินผลและ สถานศึกษาและครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 5) ติดตามผลการ เขต 33 ดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา และ 6) จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่ 2. เพื่อศึกษาการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษา โดยให้ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสานักงาน บุคลากรในสถานศึกษาเข้ามามีส่วนปฏิบัติงาน อาจมีส่วนร่วมในการ เขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33 วางแผน การตดั สนิ ใจ การดาเนินงาน และการประเมินผล ซึง่ จะทา ให้เกิดการทางานเป็นทีมท่ีมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีขวัญ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการ กาลังใจในการทางาน มีความรักความสามัคคี มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีต่อ ดาเนนิ งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามความคิดเหน็ ของ กันช่วยให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการทางาน ลดความขัดแย้ง ลดการ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ต่อต้านจากฝ่ายปฏิบัติ ได้มีโอกาสร่วมทางาน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ มธั ยมศึกษา เขต 33 ลดปัญหาในการทางาน ทาให้งานสาเร็จได้รวดเร็ว เพราะความ รว่ มมือจากทุกคน ทุกฝ่าย นอกจากน้ีการบริหารแบบมีส่วนร่วม ยัง สมมตฐิ านการวิจยั ทาให้เกิดความรู้สึกรับผิดชอบร่วมกัน ทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของ สถานศึกษา แสดงถึงการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพของผู้บริหาร การมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์กับการดาเนินงานประกันคุณภาพ สถานศึกษาด้วย จนั ทรานี สงวนนาม [4] ภายในสถานศกึ ษา 233.ภ..า..ค..บ...ร..ร.ย..า..ย.....................................................................................................................................................................................................................

..........ก..า.ร..ป..ร.ะ..ช.มุ..ว..ิช.า..ก.า..ร.ร..ะ.ด..บั..ช..า.ต..ิ .ม..ห..า.ว..ทิ ..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ..ฏั .ก..ล..มุ่ ..ศ.ร..ีอ..ย.ุธ..ย..า..ค..ร.งั้.ท..่ี.1..0...“.ว..จิ .ยั...น..ว.ัต..ก..ร.ร..ม...น.ํา..ก..า.ร..พ..ัฒ..น..า.ท..้อ..ง.ถ..นิ่ ..”..4...–...5..ก..ร.ก..ฎ..า.ค..ม...2..5.6..2...ณ...ม..ห..า.ว..ิท..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ.ฏั..พ..ร..ะ.น..ค..ร..ศ.ร..ีอ..ย.ุธ..ย.า........... กรอบแนวความคดิ การวจิ ัย ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูเก่ียวกับ การมีส่วนร่วม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating การวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการ scale) ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ด้านการมีส่วนร่วมศึกษาจาก ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูเก่ียวกับ แนวคิดและหลกั การ ของ ธร สนุ ทรายทุ ธ [6] ถวิล เกษสุพรรณ์ [7] การดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มี ศริ ิชัย กาญจนวาสี และคณะ [8] เมตต์ เมตต์การุณ์จิต [9] จนิ ตวรี ์ ลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) เกษมศขุ [10] เจริญ ราชโสภา [11] ประเสรฐิ ศักดิ์ เหินไธสง [12] Cohen & Uphoff [13] Shadid et. al. [ 1 4] แ ล ะ ด้ า น ก า ร ตอนท่ี 4 ความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการ ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ศึกษาจาก ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบ กฎกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกัน ปลายเปิด (Open ended form) คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2546 [15] กฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 [16] และ กฎกระทรวงศึกษาธิการการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยการส่งแบบสอบถาม [3] สรปุ ได้ดังแสดงในรูปท่ี 1 ผ่านทางไปรษณีย์ พร้อมกับแนบซองติดดวงตราไปรษณีย์ และจ่า หน้าซองถึงผู้วิจัย หากไม่ได้รับแบบสอบถามกลับในระยะเวลาท่ี กาหนด จะไปรับแบบสอบถามด้วยตนเอง ทาให้ได้รับคืนทั้งหมดที่ สง่ ไป จานวน 416 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 การมีส่วนรว่ ม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวางแผน 2. การตดั สินใจ 1. การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา ผู้วิจัยใช้การประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม 2. การจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษา คอมพิวเตอร์สาเรจ็ รูปทางสถิติ ดงั นี้ 3. การดาเนินการ 3. การดาเนินงานตามแผนพัฒนา 4. การประเมินผล 1. ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ด้วยการแจก การจัดการศกึ ษา แจงความถ่ีและรอ้ ยละ เสนอขอ้ มลู เป็นตารางประกอบความเรียง 4. การประเมนิ ผลและตรวจสอบ 2. ศึกษาการมีส่วนร่วมและการดาเนินงานประกันคุณภาพ คุณภาพการศกึ ษา ภายในของสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา 5. การตดิ ตามผลการดาเนินการ และครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 6. การรายงานผลการประเมินตนเอง วิเคราะห์ด้วยการหาค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และ จัดอันดับข้อมูลเป็นตารางประกอบ รูปท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ความเรยี ง ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการดาเนินงาน ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ ประชากรทใี่ ช้ในการวิจยั คร้งั น้ี ได้แก่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาและครู การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33 ตามความคิดเหน็ ของผบู้ ริหารและครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ปีการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 วิเคราะห์ 2561 จานวน 3,496 คน จาแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จานวน ด้วยการหาค่าสัมประสทิ ธส์ิ หสมั พันธแ์ บบเพยี ร์สนั โดยใชเ้ กณฑ์ 85 คน และครู จานวน 3,411 คน ภัทราพร เกษสังข์ [27] กลุ่มตวั อย่างได้จากประชากรโดยกาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ งตาม 0.81 ขน้ึ ไป หมายถงึ มีความสมั พนั ธ์ระดับสูงมาก ตาราง เครจซี และมอรแ์ กน [17] แลว้ ทาการสมุ่ แบบชนั้ ภมู ิอยา่ งมี 0.61 – 0.80 หมายถงึ มีความสัมพนั ธ์ระดับสูง สดั สว่ นตามขนาดโรงเรยี น ได้กลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 416 คน จาแนก 0.41 –0.60 หมายถึง มีความสัมพันธร์ ะดบั ปานกลาง เป็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จานวน 70 คน และครู จานวน 346 คน 0.21 – 0.40 หมายถงึ มีความสัมพันธ์ระดับค่อนข้างนอ้ ย 0.01 – 0.20 หมายถงึ มีความสัมพันธร์ ะดับน้อย เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั 0 หมายถงึ ไม่มคี วามสัมพันธก์ ันเชงิ เส้นตรง และกาหนดค่าสถติ ิทรี่ ะดับนยั สาคญั .05 เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจยั สร้างข้ึน สาหรับผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยศกึ ษาจากเอกสาร ตาราและ สรุปผลการวิจัย งานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง และตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ มีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) อยรู่ ะหวา่ ง 0.67 – 1.00 และผ่านการทดลอง จากการวิเคราะห์ข้อมูล เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วน ใช้ มีค่าความเชื่อม่ันเทา่ กบั 0.981 แบ่งเป็น 4 ตอน ดงั นี้ ร่วมกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 33 สรปุ ผลการวิจัยได้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตาม ดังนี้ สถานภาพและขนาดสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบ รายการ (Check list) 234.ภ..า..ค..บ...ร..ร.ย..า..ย.....................................................................................................................................................................................................................

..........ก..า.ร..ป..ร.ะ..ช.ุม..ว..ิช.า..ก.า..ร.ร..ะ.ด..บั..ช..า.ต..ิ .ม..ห..า.ว..ทิ ..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ..ัฏ.ก..ล..ุ่ม..ศ.ร..อี ..ย.ุธ..ย..า..ค..ร.ัง้.ท..่ี.1..0...“.ว..จิ .ัย...น..ว.ัต..ก..ร.ร..ม...น.าํ..ก..า.ร..พ..ัฒ..น..า.ท..อ้..ง.ถ..นิ่ ..”..4...–...5..ก..ร.ก..ฎ..า.ค..ม...2..5.6..2...ณ...ม..ห..า.ว..ทิ ..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ.ฏั..พ..ร..ะ.น..ค..ร..ศ.ร..ีอ..ย.ธุ..ย.า........... 1. ผลการศึกษาการมีส่วนร่วม ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร อภปิ รายผลการวจิ ัย สถานศึกษาและครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า 1. การศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาและครู ด้านท่ีมีค่าเฉลยี่ สงู สุด คือ การมสี ว่ นร่วมในการดาเนินการ รองลงมา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ คอื ดา้ นการมสี ่วนร่วมในการวางแผน และดา้ นท่ีมีคา่ เฉลี่ยต่าสุด คือ ในระดับมาก อาจเน่ืองจาก ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ การมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) กาหนดใหท้ ุกภาคส่วนมา ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ด้วยการกระจายอานาจการบริหารไป 2. ผลการศึกษาการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ยังสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง ทาให้ สถานศึกษา ตามความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครู สังกัด ผู้บริหารสถานศึกษาได้บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและมี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ใน อานาจเป็นนิติบุคคล ทาให้เกิดความคล่องตัวในการดาเนินของ ระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ย สถานศึกษา อีกทั้งผู้บริหารสถานศึกษาและครู เป็นบุคลากรภายใน สูงสุด คือ ด้านการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา สถานศึกษา จึงมีส่วนร่วมโดยตรงในการจัดการศึกษา ซ่ึงอาจมีส่วน รองลงมา คือ ด้านการรายงานผลการประเมินตนเอง และด้านที่มี ร่วมในทางตรงหรือทางอ้อม โดยอาจมีส่วนร่วมในการวางแผน การ ค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ด้านการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ ตัดสินใจ การดาเนินการ หรือการประเมินผล ภายในสถานศึกษา การศกึ ษา สอดคล้องกับผลการวิจัยของ เดือนเพ็ญ ยลไชย [18] ที่ศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 3. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต พบว่า การมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับมาก และยังสอดคล้องกับ พ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมมีความสัมพันธ์ใน ผลการวิจัยของ รัชตา กาญจนโรจน์ [19] ที่ศึกษาเร่ือง ภาวะผู้นา ทางบวกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 มีความสัมพันธ์กันใน เชิงกลยุทธ์ต่อระดับการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด ระดับสูงมาก ซงึ่ เป็นไปตามสมมตฐิ านท่ตี ้ังไว้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 พบว่า การมีสว่ นร่วมโดยรวมอย่ใู นระดับมาก ตารางท่ี 1 แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างการมสี ว่ นรว่ มและ การดาเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายใน เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในการ ดาเนินการ อยู่ในระดับมาก และมคี ่าเฉลี่ยสูงสุด อาจเนือ่ งจาก การ การมีสว่ นร่วม มีส่วนร่วมในการดาเนินการ เป็นกระบวนการท่ีเกิดขึ้นต่อจาก กระบวนการวางแผน เป็นการนาแผนงานที่กาหนดไว้ไปร่วมกันทา การดาเนนิ งาน 1. การวางแผน รวม โดยมกี ารเตรียมการ การสนับสนุนทรัพยากร การประสานงาน การ ประกันคณุ ภาพ 2. การตัด ิสนใจ ขอความร่วมมือ และความช่วยเหลือ การพฒั นาสถานศึกษาให้ดีขึ้น 3. การดาเ ินนการ อย่างเป็นระบบจะต้องมีการทางานด้วยการแบ่งหน้าที่กันรับผดิ ชอบ ภายใน 4. การประเมินผล ตามความสามารถ และความชานาญของแต่ละบุคคล ทาให้การ ทางานประสบผลสาเร็จได้ตามเป้าหมายขององค์กร สอดคล้องกับ 1. การกาหนด .730** .653** .284** .661** .765** ผลการวิจัยของ บุรพร กาบุญ และ ชลกนก โฆษิตคณิน [20] ท่ี มาตรฐานการศกึ ษา .503** .553** .266** .534** .612** ศึกษาเรื่อง การมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของ 2. การจัดทาแผน .533** .510** .176** .533** .576** บุคลากรทางการศกึ ษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี พบว่า บคุ ลากร พัฒนาสถานศกึ ษา มีส่วนร่วมในการดาเนินการ อยู่ในระดับมาก และยังสอดคล้องกับ 3. การดาเนินงาน .704** .650** .287** .712** .774** ผลการวิจัยของ รัชตา กาญจนโรจน์ [19] ท่ีศึกษาเรื่อง ภาวะผู้นา ตามแผนพัฒนาการ .575** .612** .187** .609** .653** เชิงกลยุทธ์ต่อระดับการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด จดั การศกึ ษา .513** .485** .157** .462** .532** สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 พบว่า 4. การประเมินผล .750** .731** .285** .740** .825** ผู้บริหารสถานศึกษาและครู มีส่วนรว่ มในการดาเนินการ อยู่ในระดับ และตรวจสอบ มาก คณุ ภาพการศกึ ษา 5. การติดตามผล 2. การศึกษาการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การดาเนินการ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครู สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา 6. การรายงานผล มัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง อาจเนื่องจาก การประเมินตนเอง การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นการ ดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของสถานศึกษา เพอื่ พัฒนาคุณภาพ รวม ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษามีส่วน ร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตามประเมินผล พัฒนา ** มีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 ปรับปรุงให้สถานศึกษามีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา 235.ภ..า..ค..บ...ร..ร.ย..า..ย.....................................................................................................................................................................................................................

..........ก..า.ร..ป..ร.ะ..ช.ุม..ว..ชิ .า..ก.า..ร.ร..ะ.ด..ับ..ช..า.ต..ิ .ม..ห..า.ว..ทิ ..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ..ฏั .ก..ล..มุ่ ..ศ.ร..ีอ..ย.ธุ..ย..า..ค..ร.งั้.ท..ี่.1..0...“.ว..ิจ.ัย...น..ว.ัต..ก..ร.ร..ม...น.าํ..ก..า.ร..พ..ัฒ..น..า.ท..้อ..ง.ถ..น่ิ ..”..4...–...5..ก..ร.ก..ฎ..า.ค..ม...2..5.6..2...ณ...ม..ห..า.ว..ิท..ย.า..ล.ยั..ร.า..ช..ภ.ฏั..พ..ร..ะ.น..ค..ร..ศ.ร..ีอ..ย.ธุ..ย.า........... เพ่ือสร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการการศึกษา ท้ังยังเป็นการป้องกัน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ผลการวิจัย พบว่า การจัดการศึกษาที่ดอ้ ยคุณภาพและเป็นการสร้างสรรคก์ ารศึกษาให้ การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับ เ ป็ น ก ล ไ ก ท่ี มี พ ลั ง ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ ช า ก ร ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ สู ง ข้ึ น ประสิทธิผลของสถานศึกษา อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 สอดคล้องกับผลการวิจัยของ สมนึก นครวงศ์ [21] ที่ศึกษาเร่ือง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.87 และยังสอดคล้องกับ สภาพการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ ผลการวิจัยของ โศภิดา คล้ายหนองสรวง และ สุเมธ งามกนก [26] สถานศึกษา สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32 พบว่า ท่ีศึกษาเรื่อง การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง และยังสอดคล้องกบั ผลการวิจัยของ สถานศกึ ษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด กานต์สินี วาดวงศ์ [22] ทศ่ี กึ ษาเรื่อง การพัฒนาแนวทางการประกัน เขต 3 ผลการวิจัย พบว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหาร คุณภาพภายใน สาหรับสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ สถานศึกษา มีความสัมพันธท์ างบวกกับประสิทธิผลของสถานศึกษา การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ พบว่า การดาเนินงานประกัน ในระดบั สูง อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 คุณภาพภายใน โดยรวมอยใู่ นระดับ ปานกลาง ข้อเสนอแนะการวจิ ัย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการดาเนินงานตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษา อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวิจยั ไปใช้ อาจเน่ืองจาก แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น จากผลการวิจัยพบขอ้ เสนอแนะการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ดังน้ี เปรียบเสมือนเข็มทิศชี้ทางการทางาน เพื่อให้ทุกคนทุกฝ่ายมี 1. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด เป้าหมาย และแนวทางการดาเนินงานที่ไม่ขัดแย้งกัน ดังนั้น การ ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ครู บุคลากรทางการ ดาเนินงานของสถานศึกษา จึงควรปฏิบัตงิ านตามแผนงาน โครงการ ศกึ ษา และผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ไดม้ ีส่วนร่วมตัดสินใจในการดาเนินงาน ที่กาหนดไว้ รวมท้ังมีการส่งเสริม สนับสนุน กากับ ติดตาม และให้ ของสถานศึกษาในทุกข้นั ตอน ความช่วยเหลือแก่ บุคลากรทุกคนทุกฝ่ายให้สามารถปฏิบัติงานได้ 2. การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้านการ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ตามทีก่ าหนดไว้ สอดคล้องกบั ผลการวจิ ยั ของ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เป็นด้านท่ีมีค่าเฉล่ีย กาญจนา วงศ์ธิมารัตน์ [23] ท่ีศึกษาเรื่อง สภาพการดาเนินงาน ตา่ สดุ ดังนน้ั สถานศกึ ษาควรจัดให้มกี ารอบรม หรือศึกษาดูงาน ดา้ น ประกันคุณภาพภายในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพื่อสร้างความ ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า การดาเนินงานประกันคุณภาพ เข้าใจและเพมิ่ ศักยภาพการดาเนินงานของบคุ ลากร ภายในสถานศึกษา ด้านการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัด 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในการดาเนินการกับการ การศึกษา อยู่ในระดับมาก และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน มีความสัมพันธ์กันในระดับ แสงมณี วงศ์คูณ [24] ท่ีได้ศึกษาเรื่อง การดาเนินงานประกัน ค่อนข้างน้อย ดังนั้นสถานศึกษาควรมีการกาหนดบทบาทหน้าท่ีใน คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา การดาเนินงานของของบุคลากรในสถานศึกษาท่ีชัดเจน มีการ มัธยมศึกษา เขต 28 พบว่า การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน กระจายภาระงานให้ทุกคนมามีส่วนในการดาเนินงาน และ สถานศกึ ษา ดา้ นการดาเนินงานตามแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา อยู่ ดาเนนิ งานทุกอย่างใหเ้ ป็นภารกิจปกติของสถานศึกษา ในระดับมาก ข้อเสนอแนะการทาวิจยั คร้งั ตอ่ ไป 1. ควรมีการศึกษาปัจจัยที่มีส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการ 3. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับการ ตัดสนิ ใจของผ้บู ริหารสถานศึกษาและครู ดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ตามความคิดเห็นของ 2. ควรศึกษารูปแบบการพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการการประเมินผล ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 33 พบว่า โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในระดับสูงมาก และรายด้าน เอกสารอ้างอิง ทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 อาจเนื่องจาก การมีส่วนร่วมมีความสาคัญ และจาเป็น [1] แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 อย่างยิ่งสาหรับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ การดาเนินงานของ (พ.ศ. 2560 - 2564), กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2560. สถานศกึ ษาจึงควรเปิดโอกาสให้ ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานในทุกงาน และทุก [2] แนวทางปฏิรปู การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ขั้นตอนเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานของสถานศึกษา โดย กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2550. เฉพาะงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นงานหลัก และถือเป็นกลไกสาคัญในขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา [3] “กฏกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561” ของสถานศึกษา จึงจาเป็นต้องให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการ (2561, 23 กมุ ภาพันธ)์ . ราชกจิ จานุเบกษา, ดาเนินการระบบประกันคุณภาพภายใน สอดคล้องกับผลการวิจัย เล่ม 135 ตอนที่ 11 ก. หน้า 1 - 5. ของ สุนันท์ ถึงสุข และ คณะ [25] ท่ีศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษา [4] จันทรานี สงวนนาม, ทฤษฎีและแนวปฏิบัตใิ นการบรหิ าร สถานศึกษา พิมพค์ รัง้ ท่ี 3 บคุ๊ พอยท์, 2553. [5] แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2561, สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 33, 2561. 236.ภ..า..ค..บ...ร..ร.ย..า..ย.....................................................................................................................................................................................................................

..........ก..า.ร..ป..ร.ะ..ช.มุ..ว..ิช.า..ก.า..ร.ร..ะ.ด..ับ..ช..า.ต..ิ .ม..ห..า.ว..ิท..ย.า..ล.ัย..ร.า..ช..ภ..ฏั .ก..ล..ุ่ม..ศ.ร..ีอ..ย.ุธ..ย..า..ค..ร.ั้ง.ท..่ี.1..0...“.ว..ิจ.ยั...น..ว.ัต..ก..ร.ร..ม...น.าํ..ก..า.ร..พ..ฒั ..น..า.ท..อ้..ง.ถ..ิ่น..”..4...–...5..ก..ร.ก..ฎ..า.ค..ม...2..5.6..2...ณ...ม..ห..า.ว..ิท..ย.า..ล.ัย..ร.า..ช..ภ.ฏั..พ..ร..ะ.น..ค..ร..ศ.ร..ีอ..ย.ธุ..ย.า........... [6] ธร สนุ ทรายทุ ธ, การบริหารจัดการเชิงปฏริ ปู : ทฤษฏี วจิ ัย [19] รชั ตา กาญจนโรจน,์ “ภาวะผู้นาเชงิ กลยทุ ธ์ตอ่ ระดับการมสี ว่ น และปฏบิ ตั ิทางการศกึ ษา, 2551. ร่วมของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรุ ี เขต 1,” วทิ ยานิพนธ์ [7] ถวิล เกษสพุ รรณ,์ “การศกึ ษาสภาพการมสี ว่ นรว่ มของ บริหารธรุ กิจ, มหาวทิ ยาลัยแสตมฟอรด์ , 2560. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานในการบรหิ ารงาน โรงเรียนขนาดเล็ก สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา [20] บุรพร กาบุญ และชลกนก โฆษติ คณิน. “การมสี ว่ นร่วมใน อุบลราชธานีเขต 5,” วิทยานิพนธ์ครุศาสตรม์ หาบณั ฑิต สาขา การประกนั คณุ ภาพการศึกษาของบุคลากรทางการศกึ ษามหา การบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธาน,ี วทิ ยากรงุ เทพธนบรุ ,ี ” วารสารมนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ 2552. และศลิ ปะ. 10(1) : 1746 -1757, 2560. [8] เมตต์ เมตตก์ ารณุ จ์ ิต, การบริหารการศึกษาแบบมสี ่วนร่วม [21] สมนกึ นครวงศ,์ “สภาพการดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพ ประชาชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและราชการ, การศึกษาภายในสถานศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3, 2553. มัธยมศึกษา เขต 32,” วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรม์ หาบัณฑติ การบรหิ ารการศกึ ษา, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์, 2561. [9] ศิรชิ ยั กาญจนวาส,ี ทฤษฎีการประเมนิ พมิ พค์ รัง้ ท่ี 8, 2554. [10] จนิ ตวีร์ เกษมศุข, การสือ่ สารกบั การเปลยี่ นแปลง [22] กานตส์ นิ ี วาดวงศ,์ “การพัฒนาแนวทางการประกนั คณุ ภาพ ภายใน สาหรับสถานศึกษา สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ที่ ของสังคม, 2554 การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ,” วทิ ยานิพนธก์ ารศกึ ษา [11] เจรญิ ราชโสภา, “การพฒั นารูปแบบการบริหารจดั การงาน มหาบัณฑิต การบรหิ ารการศึกษา, มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2560. วชิ าการแบบมสี ว่ นรว่ มของสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน,” วทิ ยานิพนธ์การศกึ ษาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาการบริหารและ [23] กาญจนา วงศ์ธิมารตั น,์ “สภาพการดาเนินงานประกันคณุ ภาพ พัฒนาการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554. ภายในโรงเรียน สงั กดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา [12] ประเสรฐิ ศกั ด์ิ เหนิ ไธสง, “การพฒั นาระบบการบรหิ ารแบบมี ประถมศกึ ษาบรุ รี ัมย์ เขต 2,” วิทยานพิ นธ์ครุศาสตร์ สว่ นรว่ มในการจัดสภาพแวดล้อมการเรยี นรู้ สาหรับโรงเรยี น มหาบัณฑติ การบรหิ ารการศกึ ษา, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ประถมศกึ ษาขนาดเลก็ ,” วทิ ยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต บรุ รี มั ย,์ 2561. สาขาการบรหิ ารและพฒั นาการศกึ ษา, มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2559. [24] แสงมณี วงศค์ ณู , “การดาเนินงานประกนั คณุ ภาพภายใน [13] Cohen, J. M. and Uphoff, N. T., “Rural Development สถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา Participation: Concept and Measures for Project เขต 28. วิทยานิพนธ์ ครศุ าสตรม์ หาบณั ฑิต สาขาการ Design Implementation and Evaluation,” บริหารการศกึ ษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2559. Cornell University, 1980. [14] Shadid, W. et.al., “Access and Participation : A [25] สุนันท์ ถึงสขุ , ศักดา สถาพรวจนา และ เนติ เฉลยวาเรศ. Theoretical Approach in Participation of the Poor “ความสัมพันธ์ระหว่างการบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ มกบั the Development,” University of Leiden, 1982. ประสทิ ธผิ ลของสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ที่ [15] “กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั การศึกษาประถมศกึ ษา,” วารสารครุศาสตรป์ รทิ รรศน.์ คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษา 4(2) : 93 - 99. 2560, พฤษภาคม - สงิ หาคม. ขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ. 2546 ” (2546, 1 สงิ หาคม), ราชกจิ จานเุ บกษา, เล่ม 120 ตอนท่ี 74 ก. หนา้ 3 - 7. [26] โศภดิ า คล้ายหนองสรวง และ สเุ มธ งามกนก. “การบรหิ าร [16] “กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกัน แบบมสี ่วนรว่ มทส่ี ่งผลตอ่ ประสิทธผิ ลของสถานศึกษาสงั กัด คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2553” (2553, 2 เมษายน), สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3,” ราชกิจจานเุ บกษา, เลม่ 127 ตอนที่ 23 ก. หน้า 22 - 35. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา. 27(2) : [17] Krejcie, R. V. and Morgan D. W. (1970). “Determining 135 – 146. 2558. Sample Size for Research Activities,” Education March and Psychological Measurement. 30(3) : [27] ภทั ราพร เกษสังข,์ การวจิ ยั ทางการศึกษา, เลย : 607 - 610. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย. 2549. [18] เดือนเพ็ญ ยลไชย, “แนวทางการพฒั นาการบริหารงานแบบมี สว่ นร่วมในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาบรุ ีรัมย์ เขต 1,” วทิ ยานพิ นธค์ รุศาสตร์ มหาบณั ฑิต การบริหารการศกึ ษา, มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย,์ 2562. 237.ภ..า..ค..บ...ร..ร.ย..า..ย.....................................................................................................................................................................................................................