หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน สาระสาคญั ค่าแรงงานเป็ นปัจจยั สาคญั ในการแปรสภาพวตั ถุดิบให้เป็ นสินคา้ สาเร็จรูป ค่าแรงงาน แบ่งไดเ้ ป็ น 2 ประเภท คือค่าแรงงานทางตรงและค่าแรงงานทางออ้ ม ในการดาเนินการเกี่ยวกบั คา่ แรงงานจะตอ้ งมีการวางแผนการทางาน การเกบ็ เวลาทางาน การคานวณเวลาท่ีใชใ้ นการทางาน กิจการอาจจ่ายค่าแรงงานเป็ นรายชวั่ โมง รายวนั รายสัปดาห์ รายเดือน รายชิ้นของสินคา้ ท่ีผลิต และการจ่ายในรูปของค่าล่วงเวลา ดงั น้นั กิจการจะตอ้ งบนั ทึกเกี่ยวกบั เวลาทางาน อตั ราค่าแรงงาน ค่าล่วงเวลา เงินประกนั สังคม ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย และรายการหกั ต่าง ๆ ให้แก่พนกั งานและ คนงานเป็นไปตามระเบียบและถูกตอ้ งตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ การคานวณและการบนั ทึกบญั ชีคา่ แรงงาน จะมีการบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ค่าแรงงานต้งั แต่ การจ่ายเงินให้แก่พนักงานหรือคนงาน จนถึงการแบ่งสรรค่าแรงงานเป็ นต้นทุนการผลิตและ ค่าใชจ้ ่าย สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายและประเภทของคา่ แรงงาน 2. การดาเนินการเก่ียวกบั คา่ แรงงาน 3. เอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั การบนั ทึกชว่ั โมงทางาน 4. การคานวณค่าแรงงาน 5. เงินประกนั สังคม ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ยและรายการหกั ต่าง ๆ 6. การบนั ทึกรายการเก่ียวกบั ค่าแรงงาน
หน่วยที่ 3 คา่ แรงงาน 71 ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั 1. บอกความหมายและประเภทของค่าแรงงานได้ 2. อธิบายการดาเนินการเกี่ยวกบั ค่าแรงงานได้ 3. บอกเอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั การบนั ทึกชว่ั โมงทางานได้ 4. คานวณค่าแรงงานได้ 5. คานวณเงินประกนั สังคม ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่ายและรายการหกั ต่าง ๆ ได้ 6. บนั ทึกรายการเก่ียวกบั ค่าแรงงานได้
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 72 แผนผงั ความคดิ ค่าแรงงาน สาระการเรียนรู้ ความหมายและประเภทของคา่ แรงงาน การดาเนินการเก่ียวกบั คา่ แรงงาน เอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั การบนั ทึก ชวั่ โมงทางาน การคานวณค่าแรงงาน เงินประกนั สังคม ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย และรายการหกั ต่าง ๆ การบนั ทึกรายการเก่ียวกบั ค่าแรงงาน
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 73 ความหมายและประเภทของค่าแรงงาน ความหมายของค่าแรงงาน ค่าแรงงาน (Labour or Labor) หมายถึง คา่ จา้ ง (Wages) เงินเดือน (Salaries) และค่าตอบแทน ของพนกั งานหรือคนงาน ท่ีทาหนา้ ที่ผลิตสินคา้ และบริการในโรงงาน ซ่ึงจะมีลกั ษณะการจ่ายค่าจา้ ง เป็นรายชวั่ โมง (Hourly) รายวนั (Daily) หรือรายชิ้นท่ีผลิตได้ (Piecework) ส่วนการจ่ายเงินเดือนจะ มีการจา่ ยที่เทา่ กนั ทุกเดือน ประเภทของค่าแรงงาน ค่าแรงงานถือเป็ นตน้ ทุนการผลิตท่ีสาคญั อีกอย่างหน่ึง ในการแปรสภาพวตั ถุดิบให้เป็ น สินคา้ สาเร็จรูป แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor) หมายถึง ค่าแรงงานท่ีจ่ายให้พนกั งานหรือคนงาน ท่ีทาหน้าที่แปรสภาพวตั ถุดิบให้เป็ นสินคา้ สาเร็จรูปโดยตรง สามารถระบุตน้ ทุนค่าแรงเขา้ เป็ น ตน้ ทุนของสินคา้ สาเร็จรูปต่อหน่วยท่ีผลิตไดโ้ ดยง่าย และสามารถคานวณไดว้ า่ เป็ นของผลิตภณั ฑ์ ชิ้นใด ค่าแรงงานทางตรงจะผนั แปรไปตามปริมาณการผลิต คือ ถา้ มีการผลิตสินคา้ ปริมาณมาก ค่าแรงงานทางตรงจะมาก มีการผลิตสินคา้ ปริมาณน้อย ค่าแรงงานทางตรงจะน้อย ค่าแรงงาน ทางตรงจดั เป็นตน้ ทุนการผลิตประเภทท่ี 2 ดงั ภาพที่ 3.1 และตารางท่ี 3.1 ภาพที่ 3.1 ค่าแรงงานทางตรง คนงานเยบ็ เส้ือผา้ ที่มา : www.manager.co.th
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 74 ตารางท่ี 3.1 ค่าแรงงานทางตรงของแตล่ ะโรงงานการผลิต โรงงานผลติ สินค้า ค่าแรงงานทางตรง โรงงานผลิตเส้ือผา้ สาเร็จรูป คา่ แรงงานช่างตดั เยบ็ โรงงานผลิตสบั ปะรดกระป๋ อง คา่ แรงงานคนงานปอกสบั ปะรด โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ คา่ แรงงานช่างไม้ โรงงานผลิตถุงมือยางพารา ค่าแรงงานคนงานข้ึนรูปถุงมือ 2. ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect Labor) หมายถึง ค่าแรงงานท่ีจ่ายให้พนกั งานหรือคนงานที่ ไม่ไดท้ าการผลิตโดยตรง แต่ใหบ้ ริการแก่ฝ่ ายต่าง ๆ ในโรงงาน ทาให้เกิดความสะดวกและช่วยให้ การผลิตน้นั สาเร็จ จึงยากท่ีจะคานวณเป็ นตน้ ทุนของสินคา้ หน่วยใดหน่วยหน่ึงได้แน่นอนและ ชดั เจน เช่น เงินเดือนผูจ้ ดั การโรงงาน เงินเดือนผูค้ วบคุมการผลิต เงินเดือนวิศวกรโรงงาน ตลอดจน ตน้ ทุนที่เกี่ยวขอ้ งกบั ผลประโยชน์ที่กิจการให้คนงาน เงินค่าภาษีที่ออกให้ลูกจา้ งและสวสั ดิการต่าง ๆ เป็ นตน้ ค่าแรงงานทางออ้ มจดั เป็ นส่วนหน่ึงของตน้ ทุนการผลิตประเภทที่ 3 คือ ค่าใชจ้ ่ายการผลิต ดงั ภาพที่ 3.2 ภาพที่ 3.2 ค่าแรงงานทางออ้ ม คนงานทาความสะอาด ที่มา : www.cleanplusthailand.com
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 75 การดาเนินการเกย่ี วกบั ค่าแรงงาน ค่าแรงงานจดั เป็ นตน้ ทุนสาคญั ของกิจการผลิต อาจเกิดการทุจริตและผิดพลาดได้ง่าย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กิจการขนาดใหญ่ มีพนกั งานจานวนมาก เนื่องจากจะมีผเู้ ก่ียวขอ้ งในการจดั การ ทาขอ้ มูลเพ่ือจ่ายค่าจา้ งแรงงานจากหลายแผนกท่ีทาการผลิต อาจจะมีการจ่ายค่าจา้ งให้แก่ผูท้ ่ีไม่มี ตวั ตน ไมต่ รงเวลาหรือจา่ ยไม่ถูกตอ้ งตามกฎหมายแรงงาน จึงตอ้ งมีการควบคุมภายในการดาเนินงาน เกี่ยวกบั การจ่ายค่าจา้ งแรงงานให้รัดกุมและถูกตอ้ ง ในขณะเดียวกนั การจ่ายค่าแรงงานจะตอ้ ง ดาเนินการหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย เงินประกนั สังคมใหเ้ ป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด ซ่ึงจะตอ้ ง มีฝ่ ายหรือแผนกท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือรับผดิ ชอบเกี่ยวกบั ค่าแรงงาน ดงั น้ี 1. ฝ่ ายบุคคล มีหน้าที่ในการรับสมคั รคดั เลือก บรรจุ กาหนดอตั ราค่าจา้ ง รวบรวม ประวตั ิตรวจเช็คเวลาทางานของพนกั งานและลูกจา้ งให้เป็ นไปตามระเบียบของกิจการ กฎหมาย แรงงาน และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2. ฝ่ ายผลิต มีหนา้ ท่ีในการกาหนดแผนการผลิตว่าจะใช้แรงงานประเภทใด ในแผนกใด เป็นจานวนเท่าใด ทาการผลิตสินคา้ ใด ในเวลาใด และรับผิดชอบในการรวบรวมเวลาทางานของ คนงานแตล่ ะคนท่ีทางาน จากบตั รบนั ทึกเวลาทางานประจาวนั โดยในแต่ละวนั จะใหผ้ รู้ ับผิดชอบ เทียบกบั บตั รลงเวลาเมื่อลูกจา้ งและพนกั งานเดินทางมาถึงกิจการ เพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ งให้ ตรงกนั และจะส่งให้แผนกบญั ชีตน้ ทุนใชเ้ ป็ นขอ้ มูลในการจดั สรรค่าแรงงานเป็ นตน้ ทุนการผลิต ตอ่ ไป 3. แผนกบัญชีเงินเดือนและค่าแรงงาน มีหน้าท่ีนาข้อมูลเก่ียวกบั เวลาการทางานและ อตั ราค่าจา้ งตลอดจนขอ้ มูลอ่ืนจากฝ่ ายบุคคล เพ่ือคานวณเงินไดท้ ้งั หมดของพนกั งานและคนงาน เป็นรายบุคคล และจะตอ้ งทาการหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย เงินประกนั สงั คมและรายการหกั อ่ืน ๆ ของพนกั งานเพื่อนามาจดั ทาทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน (Payroll Record) 4. แผนกบัญชีเจ้าหนี้ มีหนา้ ที่นาสมุดทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงานมาจดั ทาใบสาคญั จ่ายสั่งจ่ายเงินเดือนและค่าแรงงาน นาส่งภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย เงินประกนั สังคม ตลอดจน รายการหักอื่น ๆ (ถา้ มี) ซ่ึงจะตอ้ งนาส่งหน่วยงานราชการหรือผูเ้ กี่ยวขอ้ งตามท่ีกฎหมายกาหนด เมื่อดาเนินการแลว้ ใหส้ ่งใบสาคญั จ่ายใหแ้ ก่แผนกการเงินดาเนินการในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งตอ่ ไป 5. แผนกการเงิน มีหนา้ ที่เตรียมจ่ายเงิน อาจจ่ายเป็ นเงินสด เช็ค หรือโอนเงินเขา้ บญั ชี เงินฝากธนาคารของพนกั งานและคนงาน ปัจจุบนั กิจการส่วนใหญ่จะใช้วิธีการโอนเงินเขา้ บญั ชี นอกจากน้นั จะตอ้ งเตรียมเงินสดหรือเช็ค เพ่ือจดั ส่งภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย เงินประกนั สังคม และรายการหกั อ่ืน ๆ (ถา้ มี) ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง รวมท้งั มีหนา้ ท่ีในการเสนอรายงานขอ้ มูล ท่ี
หน่วยที่ 3 คา่ แรงงาน 76 เกี่ยวกบั เงินได้ ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย และเงินประกนั สังคมในแต่ละเดือนเพ่ือสรุปรวมท้งั ปี ตลอดจนออกหนงั สือรับรองการหกั ภาษีให้แก่พนกั งานและลูกจา้ งแต่ละคน นาไปใช้ประกอบการ ยน่ื แบบเสียภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่ายตอ่ ไป 6. แผนกบัญชีต้นทุน มีหนา้ ที่จดั สรรเงินเดือนค่าแรงงานของพนกั งานและคนงานเขา้ เป็ น ตน้ ทุนการผลิตหรือคา่ ใชจ้ ่าย โดยใชข้ อ้ มูลจากแผนกท่ีเก่ียวขอ้ งขา้ งตน้ ในการคานวณ เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกบั การบนั ทกึ ช่ัวโมงทางาน 1. บัตรลงเวลา (Clock Card) คือ บตั รท่ีใชบ้ นั ทึกเวลาในการทางานของพนักงานและ ลูกจา้ งแต่ละคน เม่ือเดินทางมาถึงกิจการ พนกั งานแต่ละคนจะตอ้ งนาบตั รประจาตวั ของตนมาทา การบนั ทึกเวลาเขา้ ออกจากโรงงาน โดยกิจการส่วนใหญ่จะใชน้ าฬิกาอตั โนมตั ิในการบนั ทึกเวลา ทางานของพนกั งานแต่ละคน และนามาเปรียบเทียบกบั บตั รบนั ทึกเวลาและคานวณค่าแรงงาน ประจาวนั ว่าตรงกนั หรือไม่ เมื่อตรวจสอบเวลาทางานแลว้ จะส่งไปให้แผนกบญั ชีเงินเดือนและ คา่ แรงงาน เพื่อคานวณและจดั ทาทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน ดงั ตวั อยา่ งภาพท่ี 3.3 บตั รลงเวลา เลขทบ่ี ัตร 75 แผนก ตกแต่ง ชื่อ นายร่ารวย มากมี รหัส 111 ประจาสัปดาห์ เริ่มวนั ที่ 12 มกราคม ถึงวนั ท่ี 17 มกราคม 2559 วนั เวลาทางานปกติ ล่วงเวลา เข้า ออก เข้า ออก รวม เข้า ออก รวม จนั ทร์ 07.58 12.00 12.48 17.00 8 องั คาร 07.50 12.01 12.49 17.02 8 พธุ 07.48 12.05 12.53 17.03 8 17.59 20.05 2 พฤหสั บดี 07.56 12.03 12.56 17.04 8 ศุกร์ 07.57 12.00 12.58 17.05 8 เสาร์ 07.59 12.02 6 12.58 15.03 อาทิตย์ 40 ชั่วโมง อนุมัติ 8 ช่ัวโมง …………………… ช่ัวโมงการทางานปกติ 48 ชั่วโมง จานวนช่ัวโมงการทางานล่วงเวลา รักชาติ มน่ั คง จานวนชั่วโมงการทางานรวม ภาพที่ 3.3 การบนั ทึกบตั รลงเวลา
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 77 2. บตั รบันทกึ เวลาทางาน (Time Ticket) บตั รท่ีใชบ้ นั ทึกเวลาในการทางานของพนกั งานหรือ คนงาน วา่ ทางานประเภทใด ที่ไหน ใชเ้ วลาเท่าใด ทาใหส้ ามารถจดั จาแนกคา่ แรงงานท่ีเกิดข้ึนได้ ชัดเจน ซ่ึงผูร้ ักษาเวลา (Time Keeper) จะเป็ นผูร้ วบรวมบตั รบนั ทึกเวลาทางานจากหัวหน้าผู้ ควบคุมงานของแผนกตา่ ง ๆ นามาตรวจสอบกบั บตั รลงเวลา (Clock Card) โดยทาการรวบรวมเป็ น รายสัปดาห์ เมื่อถูกตอ้ งตรงกนั แล้วจะถูกส่งไปแผนกบญั ชีเงินเดือนและค่าแรงงาน เพ่ือคานวณ ค่าแรงงาน ถา้ มีความแตกต่างเกิดข้ึนจะตอ้ งทาการสอบสวนหาสาเหตุท่ีเกิดข้ึนทนั ที ในกรณีที่ จานวนเวลาในบตั รลงเวลามีมากกวา่ บตั รบนั ทึกเวลาทางาน ความแตกต่างน้นั เรียกว่า เวลาท่ีสูญ เปล่า (Idel Time) ไม่ถือเป็นค่าแรงทางตรงแต่จะถือเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต สาหรับพนกั งานที่กาหนดตาแหน่งให้ทาหน้าที่บริการแก่แผนกผลิต ไม่ตอ้ งทาบตั ร บนั ทึกเวลาทางาน จะทาเฉพาะพนกั งานหรือคนงานที่ทาหน้าที่ในการผลิตโดยตรง และได้รับ ค่าจา้ งเป็ นรายชว่ั โมง รายวนั รายชิ้นงาน หรือรายเดือน บตั รบนั ทึกเวลาทางานจดั ทาโดยแผนก ควบคุมเวลาทางานสามารถจดั ทาได้ 2 ประเภท คือ 2.1 บัตรบันทกึ เวลาประจางาน (Job Time Ticket) ใชร้ วบรวมตน้ ทุนค่าแรงงาน จากการทางานแตล่ ะประเภทของคนงานแต่ละคน ดงั ตวั อยา่ งภาพท่ี 3.4 บัตรบันทกึ เวลาประจางาน แผนก ประกอบ ช่ือคนงาน นายดารัส เช่ือมลวด รหัส 305 วนั ที่ 15 มิถนุ ายน 2559 เลขประจาตวั 110 ลกั ษณะงาน เริ่มต้น สิ้นสุด จานวนช่ัวโมง อตั ราค่าแรง จานวนเงิน ปกติ ล่วงเวลา ปกติ ล่วงเวลา ประกอบชิ้นส่วน 07.56 17.10 8 40 320 ประเภทของงาน ทางตรง 320 บาท หัวหน้าผู้ควบคุมงาน สรรชยั ไชยยงค์ ทางอ้อม บาท ภาพท่ี 3.4 การบนั ทึกบตั รบนั ทึกเวลาประจางาน
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 78 2.2 บตั รบนั ทกึ เวลาประจาวนั (Daily Time Ticket) ใชร้ วบรวมตน้ ทุนค่าแรงงานใน กรณีที่พนกั งานหรือคนงานแต่ละคนทางานหลายประเภทหรือหลายชิ้นในแต่ละวนั กิจการสามารถ จดั ทาบตั รบนั ทึกเวลาประจาวนั แทนการทาบตั รบนั ทึกเวลาประจางานหลาย ๆ ใบ ดงั ตวั อยา่ งภาพ ที่ 3.5 บตั รบนั ทกึ เวลาประจาวนั แผนก ตดั แต่งปลา ชื่อ นางสาวลินลี่ หวานกรอบ รหัส 305 วนั ที่ 10 พฤษภาคม 2559 ลกั ษณะงานที่ทา เวลา จานวนชั่วโมง อตั ราค่าแรง จานวน เร่ิมต้น สิ้นสุด ปกติ ล่วงเวลา เงนิ ปกติ ล่วงเวลา ถอดเกลด็ ปลา 07.57 10.00 2 40 80 40 80 ตดั หวั ปลา 10.00 12.05 2 40 120 280 ทาความสะอาดโรงงาน 13.00 16.02 3 รวม 7 จาแนก ค่าแรงทางตรง 160 บาท ลินล่ี หวานกรอบ ค่าแรง ค่าแรงทางอ้อม 120 บาท (คนงาน) ค่าแรงรวม 280 บาท อนุมตั .ิ ...................................... (หัวหน้าคนงาน) ภาพท่ี 3.5 การบนั ทึกบตั รบนั ทึกเวลาประจาวนั 3. ทะเบยี นเงนิ เดือนและค่าแรงงาน (Payroll Record) เป็นเอกสารที่จดั ทาข้ึนเพอ่ื คานวณ ค่าแรงงานของพนกั งานหรือคนงานช่วงระยะเวลาหน่ึง อาจจดั ทาเป็ นรายวนั รายสัปดาห์ รายเดือน รายชิ้นงาน เป็นตน้ โดยแสดงรายละเอียดเก่ียวกบั เงินไดแ้ ละรายการหกั ต่าง ๆ เช่น ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย เงินประกนั สังคม เงินสะสมและรายการหกั อื่น ๆ เพื่อคานวณหาค่าแรงงานสุทธิที่จะตอ้ ง จา่ ยใหพ้ นกั งานหรือคนงานแต่ละคน การรวบรวมค่าแรงงานของพนกั งานหรือคนงานทาการเก็บจากบตั รลงเวลา และตรวจสอบ ความถูกตอ้ งกบั บตั รบนั ทึกเวลาทางาน เม่ือถูกตอ้ งตรงกนั จะทาการคานวณค่าแรงงาน ท่ีตอ้ งจา่ ย ในทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน ตามแบบฟอร์มดงั ตวั อยา่ งภาพท่ี 3.6
ทะเบียนเงนิ เ ระยะเวลาต้งั แต่............................ถึง .......................... แผนก........................................................................... เลข ชื่อ-สกลุ อตั รา ช่ัวโมงทางาน ประจาตวั ค่าแรง วนั ปกติ ล่วงเวลา วนั หยดุ ล่วงเวลา ปกต วนั ปกติ วนั หยดุ ภาพท่ี 3.6 แบบฟอร์มท
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 79 เดือนและค่าแรงงาน เงนิ ได้ รายการหกั เงนิ ได้สุทธิ ติ ล่วงเวลา รวม ภาษี เงนิ เงนิ อื่น ๆ รวม เงนิ ได้ ประกนั สังคม สะสมฯ ทะเบียนเงินเดือนและคา่ แรงงาน หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 79
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 80 การคานวณค่าแรงงาน 1. อตั ราค่าแรงงานปกติและค่าล่วงเวลา กิจการจะตอ้ งปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงานเกี่ยวกบั เวลาทางาน อตั ราค่าจา้ ง และคา่ ล่วงเวลาของคนงานหรือลูกจา้ ง ดงั น้ี 1.1 เวลาทางานปกติ ใหน้ ายจา้ งประกาศเวลาทางานใหล้ ูกจา้ งทราบและถือปฏิบตั ิดงั น้ี 1.1.1 กาหนดเวลาเริ่มตน้ และเวลาสิ้นสุดของการทางานแตล่ ะวนั 1.1.2 การทางานตอ้ งไมเ่ กินวนั ละ 8 ชว่ั โมง 1.1.3 รวมเวลาทางานสัปดาห์ละ ไม่เกิน 48 ชวั่ โมง 1.1.4 งานท่ีอาจเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพและความปลอดภยั ของลูกจา้ งตอ้ งไมเ่ กิน วนั ละ 7 ชว่ั โมง และเม่ือรวมเวลาแลว้ ตอ้ งไม่เกินสัปดาห์ละ 42 ชวั่ โมง 1.2 การทางานล่วงเวลา หมายถึง การทางานนอกเวลาทางานปกติหรือทางานเกิน ชว่ั โมงทางานในแตล่ ะวนั ท่ีนายจา้ งตกลงกบั ลูกจา้ ง มีดงั น้ี 1.2.1 การทางานในวนั หยุด วนั หยุดตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน แบ่งเป็ น 3 ประเภทดงั น้ี 1.2.1.1 วนั หยดุ ประจาสัปดาห์ 1.2.1.2 วนั หยดุ ตามประเพณี 1.2.1.3 วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี 1.2.2 การทางานล่วงเวลาในวนั หยุด หมายถึง การทางานนอกเวลาในวนั หยุด หรือทางานเกินชว่ั โมงการทางานในวนั หยดุ 2. อตั ราค่าแรงงานหรือค่าจ้าง และค่าล่วงเวลา อตั ราค่าแรงงานหรือค่าจา้ ง และค่าล่วงเวลาตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองค่าแรงงานมี ดงั น้ี 2.1 อตั ราค่าแรงงานข้นั ต่า เป็ นอตั ราค่าแรงงานท่ีนายจา้ งพึงจ่ายให้ลูกจา้ ง (ตามอตั รา ค่าแรงงานข้นั ต่าซ่ึงประกาศใหม้ ีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แต่วนั ท่ี 1 เมษายน 2561 คือ วนั ละ 330 บาท) 2.2 ค่าล่วงเวลาในวนั ทางานปกติ หมายถึง กรณีลูกจา้ งทางานเกินเวลาทางานปกติ ในวนั ทางานปกติ นายจา้ งตอ้ งจา่ ยค่าล่วงเวลาใหล้ ูกจา้ งในอตั รา 1.5 เท่าของอตั ราค่าแรงงานปกติต่อ ชวั่ โมง หรืออตั ราคา่ แรงงานปกติต่อหน่วย
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 81 2.3 ค่าทางานในวนั หยุดในเวลาทางานปกติ นายจา้ งตอ้ งจ่ายค่าทางานในวนั หยุดให้แก่ ลูกจา้ ง ดงั น้ี 2.3.1 ลูกจา้ งท่ีมีสิทธิไดร้ ับค่าแรงงานในวนั หยุด เช่น ลูกจา้ งไดท้ ี่รับค่าแรงงานเป็ น เงินเดือนให้จ่ายค่าทางานเพิ่มข้ึนในอตั รา 1 เท่าของอตั ราค่าแรงงานปกติต่อช่วั โมง หรืออตั รา ค่าแรงงานปกติตอ่ หน่วย 2.3.2 ลูกจา้ งท่ีไมม่ ีสิทธิไดร้ ับคา่ แรงงานในวนั หยดุ เช่น ลูกจา้ งที่ไดร้ ับค่าแรงงาน เป็ นรายวนั ใหจ้ ่ายค่าทางานเพ่ิมข้ึนในอตั รา 2 เท่าของอตั ราค่าแรงงานปกติต่อชว่ั โมงหรืออตั รา ค่าแรงงานปกติต่อหน่วย 2.4 ค่าล่วงเวลาในวนั หยุด หมายถึง ลูกจา้ งที่ทางานเกินเวลาทางานปกติในวนั หยุด ให้จ่ายค่าล่วงเวลาในอตั ราไม่นอ้ ยกวา่ 3 เท่าอตั ราค่าแรงงานปกติต่อชว่ั โมง หรืออตั ราค่าแรงงาน ปกติต่อหน่วย 2.5 การคานวณค่าแรงงานข้นั ตน้ ในการคานวณคา่ แรงงานข้ึนอยกู่ บั ขอ้ ตกลงระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ ง ดงั น้ี 1. การจา่ ยค่าแรงงานเป็นรายชว่ั โมง ค่าแรงงาน = จานวนชวั่ โมง x อตั ราค่าแรงงานต่อชว่ั โมง 2. การจ่ายคา่ แรงงานรายชิ้น ค่าแรงงาน = จานวนชิ้นงานที่ทาได้ x อตั ราค่าแรงงานตอ่ ชิ้น 3. การจ่ายค่าแรงงานเป็นรายวนั ค่าแรงงาน = ค่าแรงงานรายวนั ตามอตั ราที่กาหนด 4. การจ่ายคา่ แรงงานเป็นรายเดือน ค่าแรงงาน = เงินเดือนตามอตั ราที่กาหนด ตัวอย่างที่ 3.1 โรงงานผลิตปลากระป๋ องแห่งหน่ึง ไดก้ าหนดเวลาทางานปกติของลูกจา้ ง คือ วนั จนั ทร์ถึงวนั เสาร์ ระหวา่ งเวลา 08.00-17.00 น. (พกั เท่ียง 1 ชวั่ โมง) ดงั น้นั เวลาทางานปกติคือวนั ละ 8 ชวั่ โมง นายเอ ดบั เบิลยู ลูกจา้ งแผนกตดั ตกแต่งปลา ไดร้ ับค่าแรงงานอตั รา 30 บาทต่อชว่ั โมง มีเวลาทางานใน 1 สปั ดาห์ เดือนพฤษภาคม 2559 ดงั น้ี วนั ทางาน เวลาทางาน ช่ัวโมงการทางาน จนั ทร์ 08.00 - 17.00 น. 8 องั คาร 08.00 - 15.00 น. 6 พุธ 08.00 - 19.00 น. 10 พฤหสั บดี 08.00 - 12.00 น. 4
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 82 ศุกร์ 08.00 - 17.00 น. 8 เสาร์ 08.00 - 20.00 น. 11 อาทิตย์ 08.00 - 19.00 น. 10 รวม 57 วธิ ีคานวณค่าแรงงานข้นั ตน้ ของนายเอ ดบั เบิลยู คานวณไดด้ งั น้ี จานวน จานวนช่ัวโมง ชั่วโมงทางานล่วงเวลา ช่ัวโมง ปกติ วนั ท่ีทางาน ทางาน 1.5 เท่า 2 เท่า 3 เท่า จนั ทร์ 8 8 - - - องั คาร 6 6 - - - พุธ 10 8 2 - - พฤหสั บดี 4 4 - - - ศุกร์ 8 8 - - - เสาร์ 11 8 3 - - อาทิตย์ 10 - - 8 2 รวม 57 42 5 8 2 คา่ แรงงานปกติ (42 x 30) 1,260 บาท คา่ ล่วงเวลาในวนั ทางานปกติ (5 x (30 x 1.5) ) 225 บาท ค่าทางานในวนั หยดุ ในเวลาทางานปกติ (8 x (30 x 2) ) 480 บาท คา่ ล่วงเวลาในวนั หยดุ เกินเวลาทางานปกติ (2 x (30 x 3) ) 180 บาท คา่ แรงงานข้นั ตน้ ของนายเอ ดบั เบิลยู รวมเป็นเงิน 2,145 บาท 3. การคานวณค่าแรงงานสุทธิ การคานวณค่าแรงงานสุทธิหรือเงินไดส้ ุทธิของพนกั งานและลูกจา้ ง กิจการมีหนา้ ที่ หกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ย เงินประกนั สงั คม และรายการหกั อ่ืน ๆ ตามขอ้ บงั คบั ของกฎหมายหรือ ภาระผูกพนั ของลูกจ้างท่ีมีต่อกิจการ ที่กาหนดให้ผูม้ ีหน้าที่จ่ายเงินได้จะต้องหักและนาส่ง หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง ดงั น้นั ในการคานวณคา่ แรงงานสุทธิจะตอ้ งนาค่าแรงงานข้นั ตน้ ที่คานวณไดม้ า หักออกจากรายการหักต่าง ๆ ของลูกจา้ งแต่ละคน จึงจะไดเ้ ป็ นค่าแรงงานสุทธิและจ่ายให้ลูกจา้ ง ต่อไป ดงั น้นั ในส่วนน้ีจะกล่าวถึงรายการหักเกี่ยวกบั เงินประกนั สังคม ภาษีเงินไดห้ ัก ณ ท่ีจ่ายและ เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ ซ่ึงเป็นรายการหกั ที่กิจการถือปฏิบตั ิ
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 83 เงนิ ประกนั สังคม ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ทจ่ี ่ายและรายการหักต่าง ๆ 1. เงินประกนั สังคม เงินประกนั สังคม คือ เงินที่เป็ นหลกั ประกนั ในการดารงชีวติ ในกลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้ และจ่ายเงินสมทบเขา้ กองทุนประกนั สังคม เพอื่ รับผิดชอบในการเฉลี่ยความเส่ียงที่อาจเกิดข้ึนและ ใหไ้ ดร้ ับการรักษาพยาบาลและมีการทดแทนรายไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง จากกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เจบ็ ป่ วยหรือประสบภยั อนั ตราย 2. คลอดบุตร 3. ทุพพลภาพ 4. เสียชีวติ 5. สงเคราะห์บุตร 6. ชราภาพ 7. วา่ งงาน การดาเนินงานตามพระราชบญั ญตั ิประกนั สังคม พ.ศ. 2533 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2537 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2542 และไดม้ ีพระราชกฤษฎีกากาหนดระยะเวลาเร่ิมดาเนินการ จดั เก็บเงินสมทบเพื่อเป็ นการให้ประโยชน์ทดแทนในกรณีวา่ งงาน พ.ศ. 2546 และแกไ้ ขเพิ่มเติม พระราชบญั ญตั ิประกนั สังคม (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2558 ไดก้ าหนดใหน้ ายจา้ งท่ีมีลูกจา้ งต้งั แต่ 1 คนข้ึนไป ตอ้ งข้ึนทะเบียนนายจา้ งพร้อมกบั ข้ึนทะเบียนลูกจา้ ง เป็ นผูป้ ระกนั ตน ภายใน 30 วนั และเม่ือมีการ รับลูกจา้ งใหม่เพ่ิมตอ้ งแจง้ ข้ึนทะเบียนลูกจา้ งใหม่ภายใน 30 วนั โดยลูกจา้ งตอ้ งมีอายุไม่ต่ากวา่ 15 ปี บริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปี บริบูรณ์ในวนั เขา้ ทางาน เงินสมทบ คือ เงินท่ีนายจา้ งและลูกจา้ งจะตอ้ งนาส่งเขา้ กองทุนประกนั สังคมทุกเดือนใน อตั ราร้อยละ 5 ของค่าจา้ ง โดยคานวณจากค่าจา้ งที่ลูกจา้ งไดร้ ับคูณกบั อตั ราเงินสมทบที่ตอ้ งนาส่ง สาหรับเศษของเงินสมทบที่มีจานวนต้งั แต่หา้ สิบสตางคข์ ้ึนไปให้ปัดเป็ นหน่ึงบาท ถา้ นอ้ ยกวา่ ให้ปัด ทิ้ง ซ่ึงกาหนดจากฐานค่าจา้ งเป็นรายเดือนต่าสุดเดือนละ 1,650 บาท สูงสุดเดือนละ 15,000 บาท ท้งั น้ี รัฐบาลจะออกเงินสมทบเขา้ กองทุนอีกส่วนหน่ึงตามอตั ราที่กาหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินก่ึง หน่ึงของเงินสมทบท่ีไดร้ ับจากผปู้ ระกนั ตน นายจา้ งจะตอ้ งหักเงินสมทบในส่วนของลูกจา้ งทุกคร้ังท่ีมีการจ่ายค่าจา้ งและนาส่งเงิน สมทบส่วนของนายจา้ งในจานวนเทา่ กบั ที่ลูกจา้ งท้งั หมดถูกหกั รวมกนั ตอ้ งนาส่งเงินประกนั สังคม ภายในวนั ท่ี 15 ของเดือนถดั ไป พร้อมจดั ทาเอกสารตามแบบท่ีกาหนด หรือจดั ทาขอ้ มูลลงแผ่น ดิสเก็ต หรือส่งทางอินเทอร์เน็ต โดยนาส่ง ณ สานักงานประกนั สังคมกรุงเทพมหานครพ้ืนท่ี/
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 84 จงั หวดั ด้วยตนเอง หรือทางไปรษณีย์ เป็ นเงินสด/เช็ค ชาระเงินผ่านธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จากดั (มหาชน) หรือธนาคารธนชาติ จากดั (มหาชน) สาขาใน จงั หวดั ท่ีสถานประกอบการต้งั อยู่ เงินสมทบที่นายจา้ งออกสมทบใหแ้ ก่ลูกจา้ งสามารถนามาหกั เป็ นค่าใชจ้ ่ายของนายจา้ งได้ และเงินท่ีลูกจา้ งถูกหักเงินสมทบ ลูกจา้ งสามารถนาไปหักลดหย่อนจากรายไดข้ องลูกจา้ งก่อน นาไปคานวณภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ย ดงั ตวั อยา่ งที่ 3.2 ตัวอย่างท่ี 3.2 โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์แห่งหน่ึง มีคนงานแผนกผลิต จานวน 3 คน โดยมีเงินเดือน ดงั น้ี 1. นายนิมิตร มากมี เงินเดือน ๆ ละ 20,000 บาท 2. นายปิ ติพงศ์ คงทอง เงินเดือน ๆ ละ 14,000 บาท 3. นายไพโรจน์ พินิจพงศ์ เงินเดือน ๆ ละ 8,000 บาท จากขอ้ มูลขา้ งตน้ คานวณเงินประกนั สงั คมส่วนของลูกจา้ งและนายจา้ งที่จะตอ้ งจ่ายสมทบ ไดด้ งั น้ี ลาดับที่ ช่ือ-สกุล อตั รา เงนิ ประกนั สังคม เงินประกนั สังคม เงนิ เดือน ส่วนของลูกจ้าง ส่วนของนายจ้าง 1 นายนิมิตร มากมี 20,000 *750 *750 2 นายปิ ติพงศ์ คงทอง 14,000 700 700 3 นายไพโรจน์ พนิ ิจพงศ์ 9,000 450 450 รวม 33,000 1,900 1,900 สรุปไดว้ า่ เงินประกนั สงั คมส่วนท่ีหกั จากพนกั งาน 1,900 บาท เงินประกนั สงั คมส่วนท่ีนายจา้ งจา่ ยสมทบ 1,900 บาท เงินประกนั สังคมท่ีกิจการตอ้ งนาส่งสานกั งานประกนั สังคม 3,800 บาท *นายจา้ งและลูกจา้ งนาส่งเงินประกนั สังคมในอตั ราร้อยละ 5 ของเงินเดือนและค่าจา้ งราย เดือนต่าสุดเดือนละ 1,650 บาท สูงสุดเดือนละ 15,000 บาท ดงั น้นั จากกรณีตวั อยา่ งนายนิมิตร มากมี ไดร้ ับเงินเดือน 20,000 บาท กิจการจ่ายสมทบ และหกั เงินประกนั สังคมในอตั ราร้อยละ 5 จากเงินเดือนสูงสุด เท่ากบั 15,000 บาท เงินประกนั สังคม เทา่ กบั 750 บาทท้งั ในส่วนของลูกจา้ งและนายจา้ ง
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 85 2. ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาหกั ณ ทจี่ ่าย ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาหกั ณ ท่ีจ่าย หมายถึง ภาษีเงินไดซ้ ่ึงผจู้ ่ายเงินไดม้ ีหนา้ ที่ตอ้ ง หกั ณ ที่จ่ายทุกคร้ังเม่ือมีการจ่ายเงินใหก้ บั ผรู้ ับ และนาส่งเงินดงั กล่าวใหก้ รมสรรพากรภายในวนั ท่ี 7 ของเดือนถดั ไป หากมิไดห้ กั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ยหรือนาส่ง ผจู้ ่ายเงินไดต้ อ้ งรับผิดร่วมกบั ผูม้ ี เงินไดต้ ามจานวนภาษีท่ีมิไดห้ กั และนาส่ง และเงินเพมิ่ ตามกฎหมายพร้อมท้งั คา่ ปรับทางอาญา สาหรับกิจการผลิตมีการจา้ งพนักงานและลูกจา้ ง ตอ้ งจ่ายเงินเดือนและค่าแรงงาน มีหนา้ ที่หกั ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาหกั ณ ท่ีจ่าย ซ่ึงเจา้ หนา้ ท่ีการเงินจะทาการคานวณเงินไดก้ ่อน หกั ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาหกั ณ ที่จ่าย โดยการนาเงินเดือนและค่าแรงงานที่จ่ายคูณดว้ ยจานวน คราวท่ีตอ้ งจ่ายท้งั ปี หักดว้ ยค่าใช้จ่าย และลดหย่อนต่าง ๆ ตามเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกาหนด เมื่อได้ภาษีท้งั สิ้นเท่าใด ให้นามาหารดว้ ยจานวนคราวท่ีจะตอ้ งจ่าย จะได้ผลลพั ธ์เป็ นภาษีเงิน บุคคลธรรมไดห้ กั ณ ที่จา่ ย เพ่ือนาไปหกั กบั เงินเดือนและค่าแรงงานแต่ละเดือน ในการคานวณเงิน ไดส้ ุทธิ หากเงินไดส้ ุทธิต่ากวา่ เกณฑท์ ่ีกรมสรรพากรกาหนดก็ไม่ตอ้ งหกั ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา หกั ณ ที่จ่าย เกณฑ์ท่ีกรมสรรพากรกาหนดในการคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ท่ีจ่าย นกั เรียนจะไดศ้ ึกษาในรายวิชาภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดากบั การบญั ชี แต่ในหน่วยน้ีจะกาหนดเป็ น อตั ราร้อยละของเงินเดือนและค่าแรงงาน เพ่ือง่ายต่อการคานวณภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย 3. รายการหกั อ่ืน ๆ ในการจ่ายเงินเดือนและค่าแรงงาน กิจการผลิตมีหนา้ ที่หกั เงินประกนั สังคมและภาษี เงินไดบ้ ุคคลธรรมดาหกั ณ ท่ีจ่าย (ถา้ มี) ก่อนจ่ายเงินใหพ้ นกั งานและลูกจา้ ง นอกจากรายการหกั ที่ กล่าวมาแลว้ อาจมีรายการหักอ่ืน ๆ ท่ีลูกจา้ งมีภาระผูกพนั กบั กิจการ เช่น หกั เงินสะสมกองทุน สารองเล้ียงชีพ เงินกยู้ มื หรือเงินล่วงหนา้ ท่ีพนกั งานและลูกจา้ งไดก้ ยู้ มื หรือเบิกล่วงหนา้ ไป เป็ นตน้ แต่ในที่น้ีจะกล่าวถึงเงินสะสมเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ ที่กฎหมายกาหนดให้บริษทั (มหาชน) จากดั จะตอ้ งต้งั กองทุนสารองเล้ียงชีพเพื่อเป็นสวสั ดิการให้กบั พนกั งานและลูกจา้ ง กองทุนสารองเล้ียงชีพ (Provident Fund) คือ กองทุนที่นายจา้ งและลูกจา้ งร่วมกนั จดั ต้งั ข้ึนดว้ ยความสมคั รใจ เพ่อื ส่งเสริมใหล้ ูกจา้ งมีเงินออมไวใ้ ชจ้ ่ายยามเกษียณอายุ ออกจากงาน ทุพพลภาพ หรือเป็นหลกั ประกนั ใหแ้ ก่ครอบครัวกรณีลูกจา้ งเสียชีวติ เงินกองทุนมาจากเงินท่ีลูกจ้างจ่ายเข้ากองทุน เรียกว่า “เงินสะสม” ซ่ึงกฎหมาย กาหนดให้สะสมไดต้ ้งั แต่ 2 - 15% ของเงินเดือน และเงินท่ีนายจา้ งจ่ายเขา้ กองทุนอีกส่วนหน่ึง เรียกวา่ “เงินสมทบ” ซ่ึงกฎหมายกาหนดใหส้ มทบในอตั ราไมต่ ่ากวา่ เงินสะสมของลูกจา้ งข้ึนอยกู่ บั นโยบายของกิจการ ดงั น้นั หากบริษทั มีอตั ราเงินสะสมให้เลือกออม 3% 5% หรือ 10% ควรเลือก
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 86 สะสมสูงสุดที่สามารถเลือกไดค้ ือ 10% เพราะนายจา้ งจะตอ้ งสมทบให้อีก 10% รวมเป็ นเงินสะสม ของลูกจา้ งท้งั หมด 20% ซ่ึงจะเป็นประโยชนต์ ่อลูกจา้ ง เงินสะสมที่ลูกจา้ งจ่ายและนายจา้ งสมทบเขา้ กองทุนน้นั จะมีบริษทั จดั การหรือบริษทั หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทุน (บลจ.) นาเงินไปลงทุนในตราสารทางการเงินประเภทต่าง ๆ เพ่ือสะสม ดอกผลใหก้ บั กองทุน โดยจะนาดอกผลท่ีเกิดข้ึนมาเฉลี่ยคืนใหก้ บั สมาชิกตามสดั ส่วนของเงินที่แต่ละคน มีอยใู่ นกองทุน ซ่ึงดอกผลน้ี เรียกวา่ ผลประโยชนข์ องเงินสะสม และผลประโยชนข์ องเงินสมทบ กองทุนสารองเล้ียงชีพถือเป็ นสวสั ดิการรูปแบบหน่ึงท่ีนายจา้ ง ให้แก่ลูกจา้ งที่เป็ นสมาชิก ของกองทุนสารองเล้ียงชีพ นอกจากมีเงินกอ้ นไวใ้ ชย้ ามเกษียณอายุ มีหลกั ประกนั ทางการเงินแก่ ครอบครัวแลว้ ไดร้ ับประโยชนอ์ ่ืน ๆ ดงั น้ี 1. มีวนิ ยั ในการออมเพื่อเกษียณอยา่ งต่อเนื่อง 2. เหมือนไดร้ ับเงินเดือนเพ่มิ ข้ึนจากเงินสมทบของนายจา้ งจา่ ยให้ 3. มีมืออาชีพมาบริหารเงินออมให้ 4. ไดร้ ับสิทธิประโยชน์ทางภาษี สามารถลดหยอ่ นในการเสียภาษีเงินไดบ้ ุคคล ธรรมดา ต่อไปน้ีเป็ นการคานวณค่าแรงงานสุทธิ แสดงในทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน ดงั ตวั อยา่ งที่ 3.3 ตวั อย่างท่ี 3.3 โรงงานหาดใหญ่อุตสาหกรรม ไดท้ าการสรุปเงินเดือนและค่าแรงงานของคนงาน แผนกผลิต สาหรับงวด 1 - 7 พฤษภาคม 2559 ดงั น้ี ท่ี ชื่อ-สกลุ อตั ราค่าแรงงานต่อ ช่ัวโมงทางาน ช่ัวโมงทางานล่วงเวลาวนั ชั่วโมง (บาท) ปกติ ปกติ (1.5 เท่า) 1 นาย ก 36 48 10 2 นาย ข 34 48 8 3 นาย ค 30 48 12 4 นาย ง 40 48 6 5 นาย จ 46 48 4 ข้อมูลเพม่ิ เติม : 1. โรงงานหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ย 1% 2. โรงงานหกั เงินนาส่งสานกั งานประกนั สงั คม 5% ของค่าแรงงานปกติ
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 87 ทะเบียนเงนิ เดือนและค่าแรงงาน ระยะเวลาต้ังแต่.. 1 พฤษภาคม 2559 ถงึ 7 พฤษภาคม 2559................... แผนก...ผลิต..................................................................... เงนิ ได้ปกติ ค่าล่วงเวลา เงนิ ได้ รายการหัก เงนิ ได้ ภาษี หกั เงินประกนั สุทธิ ที่ ช่ือ ชม. อตั รา จานวน ชม. อตั รา จานวน รวม ณ ท่ีจา่ ย สงั คม เงิน เงิน 2,132.32 2,268 22.68 113 1,917.60 1 นาย ก 48 36 1,728 10 54 540 20.40 102 1,861.20 19.80 99 2,143.20 2 นาย ข 48 34 1,632 8 51 408 2,040 22.80 114 2,335.16 24.84 124 10,389.48 3 นาย ค 48 30 1,440 12 45 540 1,980 110.52 552 4 นาย ง 48 40 1,920 6 60 360 2,280 5 นาย จ 48 46 2,208 4 69 276 2,484 8,928 2,124 11,052 การบันทกึ รายการเกยี่ วกบั ค่าแรงงาน เม่ือมีการเก็บรวบรวมเวลาการทางานของพนกั งานและคนงานแต่ละคน จากบตั รลงเวลา และจดั ทาทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงานท่ีจะตอ้ งจ่ายให้กับคนงาน จากน้ันพนักงานบญั ชี จะบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ค่าแรงงาน ซ่ึงมีหลกั การบนั ทึกเช่นเดียวกบั ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของกิจการ การบนั ทึกบญั ชีค่าแรงงาน เก่ียวกบั ค่าแรงงาน 2 ประเภทคือ ค่าแรงงานทางตรงและค่าแรงงาน ทางออ้ ม มีวธิ ีปฏิบตั ิเช่นเดียวกบั การบญั ชีบนั ทึกบญั ชีคา่ แรงงานทางตรง วธิ ีการบันทกึ รายการเกย่ี วกบั ค่าแรงงานสรุปได้ดงั นี้ รายการ การบันทกึ บัญชี 1. จ่ายค่าแรงงานทางตรงและ คา่ แรงงานทางตรง XX คา่ แรงงานทางออ้ ม ค่าแรงงานทางออ้ ม XX 2. จ่ายค่าแรงงานทางตรงและ ค่าแรงงานทางออ้ มกรณีมีการหกั เงินสด/เงินฝากธนาคาร XX ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ย ค่าแรงงานทางตรง XX XX XX คา่ แรงงานทางออ้ ม XX เงินสด/เงินฝากธนาคาร ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ยคา้ งจา่ ย
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 88 รายการ การบันทกึ บัญชี 3. จ่ายค่าแรงงานทางตรงและ ค่าแรงงานทางตรง XX ค่าแรงงานทางออ้ มกรณีมีการหกั ประกนั สงั คมและนายจา้ งจา่ ยเงิน คา่ แรงงานทางออ้ ม XX สมทบประกนั สังคม เงินสด/เงินฝากธนาคาร XX XX เงินประกนั สงั คมคา้ งจา่ ย เงินสมทบประกนั สงั คม XX เงินประกนั สงั คมคา้ งจา่ ย XX 4. จา่ ยค่าแรงงานทางตรงและ คา่ แรงงานทางตรง XX XX XX ค่าแรงงานทางออ้ ม กรณีมีการหกั ค่าแรงงานทางออ้ ม XX XX เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ เงินสด/เงินฝากธนาคาร XX และนายจา้ งสมทบเงินเขา้ กองทุน เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจ่าย XX XX สารองเล้ียงชีพ เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ XX XX XX เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย XX 5. กิจการจ่ายค่าแรงงานทางตรงและ คา่ แรงงานทางตรง XX XX ค่าแรงทางออ้ ม กรณีหกั ภาษีเงินได้ ค่าแรงงานทางออ้ ม XX ณ ที่จา่ ย หกั ประกนั สังคมและหกั เงินสด/เงินฝากธนาคาร เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่ายคา้ งจ่าย นายจา้ งสมทบประกนั สงั คมและ เงินประกนั สังคมคา้ งจ่าย สมทบกองทุนเล้ียงชีพ เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย เงินสมทบประกนั สงั คม XX เงินประกนั สังคมคา้ งจา่ ย เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ XX เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจ่าย 6. กรณีสิ้นงวดบญั ชีกิจการยงั ไมไ่ ดจ้ ่าย ค่าแรงงานทางตรง XX คา่ แรงงานทางตรงและคา่ แรง คา่ แรงงานทางออ้ ม XX ทางออ้ ม คา่ แรงงานคา้ งจา่ ย
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 89 รายการ การบันทกึ บัญชี 7. กรณีสิ้นงวดบญั ชีกิจการยงั ไมไ่ ดจ้ ่าย คา่ แรงงานทางตรง XX ค่าแรงงานทางตรงและคา่ แรงงาน ค่าแรงงานทางออ้ ม XX ทางออ้ ม กรณีกิจการหกั ภาษีเงินได้ คา่ แรงงานคา้ งจ่าย XX XX ณ ที่จา่ ยและเงินประกนั สงั คมพร้อม ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่ายคา้ งจ่าย XX พจิ ารณาการสมทบประกนั สังคม เงินประกนั สงั คมคา้ งจา่ ย เงินสมทบประกนั สังคม XX เงินประกนั สังคมคา้ งจา่ ย XX XX 8. นาส่งภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ยให้ ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ยคา้ งจ่าย XX XX กรมสรรพากร เงินสด/เงินฝากธนาคาร XX 9. นาส่งเงินประกนั สังคมใหส้ านกั งาน ประกนั สังคม เงินประกนั สังคมคา้ งจ่าย XX 10. นาส่งเงินสะสมและเงินสมทบ เงินสด/เงินฝากธนาคาร กองทุนสารองเล้ียงชีพ เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย XX เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย XX เงินสด/เงินฝากธนาคาร ต่อไปนีเ้ ป็ นตวั อย่างการบนั ทึกค่าแรงงาน ตวั อย่างที่ 3.4 บริษทั ธงชยั การผลิต จากดั ไดท้ าการสรุปจานวนเงินเดือนและค่าแรงงานของคนงาน ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2559 แผนกประกอบชิ้นส่วนเฟอร์นิเจอร์จานวนเงิน 100,000 บาท แผนก ทาความสะอาดจานวนเงิน 30,000 บาท บนั ทึกรายการเก่ียวกบั คา่ แรงงานในสมุดรายวนั ทว่ั ไป ตามกรณีตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี กรณีที่ 1 กิจการยงั ไมจ่ ่ายคา่ แรงงาน ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2559 กรณีที่ 2 กิจการจา่ ยคา่ แรงงานโดยหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย 3% กรณีท่ี 3 กิจการจา่ ยคา่ แรงงานโดยหกั ประกนั สังคม 5% และกิจการจา่ ยสมทบเงิน ประกนั สงั คม 5% กรณีที่ 4 กิจการจา่ ยคา่ แรงโดยมีรายการหกั และจา่ ยสมทบดงั น้ี - เงินประกนั สังคม 5% กิจการจา่ ยสมทบ 5% - เงินสะสมเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ 10% กิจการจ่ายสมทบ 10%
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 90 กรณีท่ี 5 กิจการจา่ ยคา่ แรงโดยมีรายการหกั และจา่ ยสมทบดงั น้ี - ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ย 1% - เงินประกนั สังคม 5% กิจการจา่ ยสมทบ 5% - เงินสะสมเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ 3% กิจการจา่ ยสมทบ 3% กรณที ่ี 1 เดบิต ค่าแรงงานทางตรง 100,000 คา่ แรงงานทางออ้ ม 30,000 เครดิต ค่าแรงงานคา้ งจ่าย 130,000 บนั ทึกคา่ แรงงานคา้ งจ่าย กรณที ่ี 2 เดบิต ค่าแรงงานทางตรง 100,000 ค่าแรงงานทางออ้ ม 30,000 เครดิต เงินสด 126,100 3,900 ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่ายคา้ งจ่าย จ่ายคา่ แรงงานโดยหกั ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย กรณที ี่ 3 เดบิต ค่าแรงงานทางตรง 100,000 ค่าแรงงานทางออ้ ม 30,000 เครดิต เงินสด 123,500 6,500 เงินประกนั สังคมคา้ งจ่าย จ่ายค่าแรงงานโดยหกั เงินประกนั สงั คม 5% เดบิต เงินสมทบประกนั สังคม 6,500 เครดิต เงินประกนั สังคมคา้ งจ่าย 6,500 จา่ ยสมทบประกนั สังคม
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 91 หรือบนั ทกึ บัญชีโดย เดบิต คา่ แรงงานทางตรง 100,000 คา่ แรงงานทางออ้ ม 30,000 เงินสมทบประกนั สังคม 6,500 เครดิต เงินสด 123,500 เงินประกนั สังคมคา้ งจา่ ย 13,000 จ่ายคา่ แรงงานโดยหกั เงินประกนั สงั คมและกิจการจ่ายสมทบเงินประกนั สังคม กรณที ี่ 4 เดบิต ค่าแรงงานทางตรง 100,000 คา่ แรงงานทางออ้ ม 30,000 เครดิต เงินสด 110,500 เงินประกนั สังคมคา้ งจา่ ย 6,500 เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจ่าย 13,000 จา่ ยค่าแรงงานโดยหกั เงินประกนั สังคมและหกั เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ เดบิต เงินสมทบประกนั สงั คม 6,500 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ 13,000 เครดิต เงินประกนั สงั คมคา้ งจา่ ย 6,500 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย 13,000 กิจการจา่ ยสมทบประกนั สังคมและจ่ายสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ หรือบันทกึ บญั ชีโดย เดบิต ค่าแรงงานทางตรง 100,000 ค่าแรงงานทางออ้ ม 30,000 เงินสมทบประกนั สงั คม 6,500 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ 13,000 เครดิต เงินสด 110,500 เงินประกนั สงั คมคา้ งจา่ ย 13,000 เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย 13,000 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย 13,000 จ่ายค่าแรงงานโดยหักเงินประกนั สังคมและเงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพและกิจการ จ่ายสมทบประกนั สงั คมและสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 92 กรณที ่ี 5 เดบิต คา่ แรงงานทางตรง 100,000 คา่ แรงงานทางออ้ ม 30,000 เครดิต เงินสด 118,300 ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่ายคา้ งจา่ ย 1,300 เงินประกนั สงั คมคา้ งจ่าย 6,500 เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย 3,900 จ่ายค่าแรงงานโดยหักภาษีเงินไดห้ ัก ณ ที่จ่าย เงินประกนั สังคมและเงินสะสมกองทุน สารองเล้ียงชีพ เดบิต เงินสมทบประกนั สังคม 6,500 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ 3,900 เครดิต เงินประกนั สังคมคา้ งจ่าย 6,500 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย 3,900 กิจการจ่ายสมทบประกนั สังคมและจ่ายสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ หรือบนั ทกึ บญั ชีโดย เดบิต ค่าแรงงานทางตรง 100,000 ค่าแรงงานทางออ้ ม 30,000 เงินสมทบประกนั สงั คม 6,500 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ 3,900 เครดิต เงินสด 118,300 ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ยคา้ งจ่าย 1,300 เงินประกนั สังคมคา้ งจ่าย 13,000 เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจ่าย 3,900 เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพคา้ งจา่ ย 3,900 จ่ายค่าแรงงานโดยหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย เงินประกนั สังคม เงินสะสมกองทุนสารอง เล้ียงชีพ และกิจการจ่ายสมทบเงินประกนั สังคม จ่ายสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ
หน่วยที่ 3 คา่ แรงงาน 93 สรุปเนื้อหา ค่าแรงงานเป็ นตน้ ทุนการผลิตที่สาคญั ในการแปรสภาพวตั ถุดิบให้เป็ นสินคา้ สาเร็จรูปซ่ึง ค่าแรงงานอาจจ่ายเป็ นค่าจา้ ง เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เป็ นตน้ ค่าแรงงานแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือค่าแรงงานทางตรงเป็ นค่าแรงของคนงานท่ีทาการผลิตโดยตรง และค่าแรงงานทางออ้ มเป็ น ค่าแรงงานที่ไม่ไดท้ าการผลิตสินคา้ แตม่ ีส่วนท่ีทาใหก้ ารผลิตสาเร็จไปดว้ ยดี ในการจ่ายค่าแรงงานอาจจ่ายเป็ นรายชวั่ โมง รายวนั รายสัปดาห์ รายเดือน หรือจ่ายเป็ น รายชิ้นตามจานวนสินคา้ ที่ผลิตได้ รวมถึงการจ่ายในรูปของค่าล่วงเวลา ท้งั น้ีในการรวบรวม ค่าแรงงาน จะตอ้ งรวบรวมจากบตั รลงเวลาทางาน การจาแนกประเภทและการจ่ายค่าแรงงาน สามารถสรุปข้นั ตอนการบนั ทึกรายการเก่ียวกบั ค่าแรงงานดงั น้ี 1. บนั ทึกเวลาที่เขา้ และออกจากโรงงานของคนงานในบตั รลงเวลา 2. บนั ทึกแยกคา่ แรงงานตามลกั ษณะของงาน และจานวนชว่ั โมงที่ทาใหแ้ ตล่ ะวนั ใน บตั รบนั ทึกเวลาทางาน 3. ตรวจสอบบตั รลงเวลาและบตั รบนั ทึกเวลาทางาน 4. คานวณคา่ แรงงานข้นั ตน้ หลงั จากการเปรียบเทียบตามขอ้ 3 แลว้ ถูกตอ้ งตรงกนั 5. คานวณค่าแรงงานสุทธิ การนาค่าแรงงานข้นั ตน้ หกั ดว้ ยรายการหกั ประเภทตา่ ง ๆ ในทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน 6. บนั ทึกค่าแรงงานข้นั ตน้ รายการหกั ประเภทต่าง ๆ และค่าแรงงานสุทธิที่พนกั งาน หรือลูกจา้ งไดร้ ับ 7. บนั ทึกการจ่ายคา่ แรงงาน ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ย เงินประกนั สงั คมและรายการหกั อื่น ๆ
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 94 คา่ จา้ ง ศัพท์ควรรู้ คา่ แรงงาน คา่ แรงงานทางตรง Wages ค่าแรงงานทางออ้ ม Labour or Labor เงินเดือน Direct Labor ทะเบียนเงินเดือนและคา่ แรงงาน Indirect Labor บตั รบนั ทึกเวลาทางาน Salaries บตั รบนั ทึกเวลาประจางาน Payroll Record บตั รบนั ทึกเวลาประจาวนั Time Ticket บตั รลงเวลา Job Time Ticket ผรู้ ักษาเวลา Daily Time Ticket รายชวั่ โมง Clock Card รายชิ้นท่ีผลิตได้ Time Keeper รายวนั Hourly เวลาที่สูญเปล่า Piecework Daily Idel Time
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 95 กจิ กรรมเสนอแนะทเี่ น้นผู้เรียนเป็ นสาคญั หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน หัวข้อกจิ กรรม 1. ทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน 2. การบนั ทึกรายการเก่ียวกบั ค่าแรงงาน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จดั ทาทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงานได้ 2. บนั ทึกรายการเกี่ยวกบั คา่ แรงงานได้ เครื่องมือและอปุ กรณ์ทใี่ ช้ 1. กระดาษปรู๊ฟ หรือกระดาษร้อยปอนด์ 2. ปากกาเมจิก ข้นั ตอนในการปฏบิ ัติกจิ กรรม 1. แบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจกลุ่มละ 5 คน คดั เลือกหัวหน้ากลุ่ม กรรมการและ เลขานุการกลุ่ม 2. ให้แต่ละกลุ่มจดั ทาทะเบียนเงินเดือนและค่าแรงงาน และบนั ทึกรายการเก่ียวกับ คา่ แรงงาน โดยสมมติคนงานจานวน 5 คน กาหนดจานวนชว่ั โมงทางานปกติ ชวั่ โมงล่วงเวลาวนั ปกติ ชว่ั โมงในวนั หยดุ อตั ราคา่ แรงงาน ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย และเงินประกนั สังคม โดยศึกษา เอกสารประกอบการเรียนหน่วยท่ี 3 และคน้ ควา้ จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น ห้องสมุดวิทยาลยั ฯ และอินเทอร์เน็ต 3. แตล่ ะกลุ่มจดั ทาชิ้นงาน เพ่ือนาเสนองานที่ตนเองรับผดิ ชอบ ใชเ้ วลา 1 ชวั่ โมง 4. ใหน้ กั เรียนส่งตวั แทนกลุ่มนาเสนอกลุ่มละ 10 นาที 5. ทาการประเมินชิ้นงานของกลุ่มตนเองและกลุ่มเพื่อน 6. ตวั แทนกลุ่มรวบรวมผลการประเมินส่งครูผสู้ อน แหล่งข้อมูล 1. มุมหนงั สือแผนกวชิ าการบญั ชี 2. หอ้ งสมุดวทิ ยาลยั ฯ และหอ้ งอินเทอร์เน็ต 3. เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการบญั ชีตน้ ทุนเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 2201-2004 4. หนงั สือ ตารา อื่น ๆ
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 96 แบบประเมนิ ผลกจิ กรรมเสนอแนะที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคญั แบบประเมนิ ผล 1 ท่ี รายการ 54321 1 ความร่วมมือในการทางาน 2 ความชดั เจนของเน้ือหาสาระท่ีนาเสนอ 3 ความพร้อมของกลุ่ม 4 การนาเสนอผลงาน 5 เสร็จทนั ตามเวลา 6 มีความคิดสร้างสรรค์ 7 ความถูกตอ้ งของชิ้นงาน 8 การจดั เก็บอุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด เกณฑก์ ารประเมิน 5 = มากท่ีสุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุง คะแนนเตม็ 40 คะแนน รวมคะแนนที่ได.้ ................................... คะแนนเฉลี่ย................................. ประเมินผลโดย ผเู้ รียนกลุ่มท่ี.......................................................ผสู้ อน............................................ แบบประเมินผล 2 ผปู้ ระเมิน กลุ่มท่ี 1 กลุ่มท่ี 2 กลุ่มท่ี 3 กลุ่มท่ี 4 กลุ่มที่ 5 รวมคะแนน คะแนนจากผเู้ รียน คะแนนจากผสู้ อน รวมคะแนน คะแนนเฉล่ีย (10 คะแนน) ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ กลุ่มท่ี 1............................................................................................................................................... กลุ่มท่ี 2 .............................................................................................................................................. กลุ่มท่ี 3 ............................................................................................................................................... กลุ่มที่ 4 ............................................................................................................................................... กลุ่มท่ี 5 ............................................................................................................................................... ผสู้ อน............................................................. (....................................................)
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 97 แบบฝึ กหัด หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน ตอนท่ี 1 ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ค่าแรงงาน หมายถึงอะไร 2. จงอธิบายความหมายของค่าแรงงานทางตรง และคา่ แรงงานทางออ้ มพร้อมยกตวั อยา่ ง ประกอบ 3. ค่าแรงงานทางตรงและค่าแรงงานทางออ้ ม แตกตา่ งกนั อยา่ งไร 4. เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การบนั ทึกชว่ั โมงทางานมีอะไรบา้ ง พร้อมอธิบาย 5. ทะเบียนคา่ แรงงานคืออะไร ตอนท่ี 2 จดั ทาแบบฝึกปฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 จงใส่เคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ที่เห็นวา่ ถูก ลกั ษณะงาน คา่ แรงงานทางตรง ค่าแรงงานทางออ้ ม 1. ช่างเช่ือมในโรงงาน 2. ผจู้ ดั การโรงงาน 3. ช่างไมโ้ รงงานเฟอร์นิเจอร์ 4. พนกั งานทาความสะอาดโรงงาน 5. คนงานตดั ตกแตง่ ปลา 6. คนงานตดั เยบ็ เส้ือผา้ 7. ยามรักษาการณ์ 8. เสมียนโรงงาน 9. คนงานปอกเปลือกสบั ปะรด 10. คนงานพสั ดุ
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 98 ข้อ 2 โรงงานพทั ลุงโคนมไดก้ าหนดวนั เวลาทางานปกติ วนั จนั ทร์ - วนั ศุกร์ เวลา 08.00 - 17.00 น. พกั 1 ชวั่ โมง วนั เสาร์และวนั อาทิตยเ์ ป็ นวนั หยดุ ต่อไปน้ีเป็ นบตั รลงเวลาทางานของนายนิวฒั น์ โชคดี จานวน 1 สปั ดาห์ (ระหวา่ งวนั ท่ี 1 - 7 กรกฎาคม 2559) บตั รลงเวลา เลขทบ่ี ตั ร 663 แผนก ตดั ตกแตง่ สับปะรด ชื่อ นายนิวฒั น์ โชคดี รหัส 118 ประจาสัปดาห์ เริ่มวนั ท่ี 1 กรกฎาคม ถึงวนั ที่ 7 กรกฎาคม 2559 วนั เวลาทางานปกติ ล่วงเวลา เข้า ออก เข้า ออก รวม เข้า ออก รวม จันทร์ 08.00 12.01 12.56 17.00 องั คาร 08.00 12.02 12.58 17.02 พธุ 08.00 12.03 12.58 17.01 17.56 21.00 พฤหัสบดี 08.00 12.02 12.59 15.02 ศุกร์ 08.00 12.05 13.00 17.05 17.58 20.02 เสาร์ 08.00 12.02 อาทติ ย์ 08.00 17.02 18.00 22.00 ช่ัวโมงการทางานปกติ .....................ช่ัวโมง อนุมตั ิ จานวนช่ัวโมงการทางานล่วงเวลา .....................ชั่วโมง ........................... จานวนช่ัวโมงการทางานรวม .....................ช่ัวโมง องอาจ มากนาน ให้ทา ให้คานวณหาจานวนชว่ั โมงการทางานปกติและจานวนชวั่ โมงการทางานล่วงเวลา และรวม ชวั่ โมงทางานท้งั สิ้นจากบตั รลงเวลา
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 99 ข้อ 3 โรงงานสงขลาเฟอร์นิเจอร์ กาหนดเวลาทางานปกติเป็ นวนั จนั ทร์ - วนั เสาร์ ระหว่างเวลา 08.00 - 17.00 น. (รวมเวลาพกั เที่ยง 1 ชวั่ โมง) ต่อไปน้ีเป็ นชว่ั โมงการทางานของนายประกิต นวลน่ิม คนงานแผนกช่างไม้ ต้งั แตว่ นั ที่ 1 - 7 สิงหาคม 2559 วนั เวลาทางานปกติ เวลาทางานล่วงเวลา เวลาเขา้ เวลาออก เวลาเขา้ เวลาออก วนั จนั ทร์ 08.00 17.00 วนั องั คาร 08.00 15.00 วนั พุธ 08.00 12.00 วนั พฤหสั บดี 08.00 12.00 18.00 20.00 วนั ศุกร์ 08.00 17.00 18.00 24.00 วนั เสาร์ 08.00 17.00 วนั อาทิตย์ 08.00 17.00 18.00 23.00 ให้ทา 1. บตั รลงเวลา 2. คานวณชว่ั โมงการทางานวนั ปกติ ชว่ั โมงการทางานล่วงเวลาวนั ปกติ ชวั่ โมงการทางาน ในวนั หยดุ และชวั่ โมงการทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ 3. คานวณค่าแรงงานข้นั ตน้ ของนายประกิต นวลนิ่ม โดยไดร้ ับค่าแรงชวั่ โมงละ 40 บาท ค่าล่วงเวลาในวนั ทางานปกติอตั รา 1.5 เท่าของค่าแรงงานปกติ ค่าทางานในวนั หยุดในอตั รา 2 เทา่ ของคา่ แรงงานปกติ และคา่ ล่วงเวลาในวนั หยุดในอตั รา 3 เท่าของค่าแรงงานปกติ รวมชว่ั โมง ทางานท้งั สิ้น จากบตั รลงเวลา ข้อ 4 โรงงานสงขลาพาราวดู๊ จา้ งนายจาลอง เกิดแกว้ ผลิตไมย้ างพารา โดยจ่ายคา่ แรงงานเป็ นรายชิ้น ท่ีทาในแต่ละวนั ไดร้ ับค่าจา้ งชิ้นละ 200 บาทต่อชิ้น ขอ้ มูลเก่ียวกบั งานที่ผลิตไดใ้ นสัปดาห์ สุดทา้ ยของเดือนกนั ยายน 2559 มีดงั น้ี วนั จานวนชิ้นงาน จานวนชิ้นงาน ในวนั ทางานปกติ ในเวลาทางานลว่ งเวลา จนั ทร์ 30 5 องั คาร 35 6 พธุ 40 8 พฤหสั บดี 45 4 ศุกร์ 50 - ให้ทา คานวณค่าแรงงานข้นั ตน้ ท่ีนายจาลอง เกิดแกว้ ไดร้ ับ
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 100 ข้อ 5 ต่อไปน้ีเป็นรายละเอียดเกี่ยวกบั การจา่ ยค่าแรงงานของแผนกผลิต โรงงานกลว้ ยน้าวา้ ต้งั แต่ วนั ท่ี 1 – 15 มิถุนายน 2559 ดงั น้ี รหสั ช่ือพนกั งาน รวมเวลา อตั ราค่าจา้ ง ชว่ั โมง อตั ราค่าลว่ ง ทางาน (วนั ) ต่อวนั ทางานล่วงเวลา เวลาต่อชวั่ โมง 2201 นายแสง อาไพ 13 300 15 40 2202 นายนิมิต แกว้ ดา 8 320 10 45 2203 นางวนั ดี ดีงาม 10 400 20 50 2204 นายวริ ุณ เมืองดี 11 350 20 45 2205 นายวนั ชยั บา้ นนา 12 300 15 40 2206 นางวรรณา จริงใจ 9 400 10 50 ให้ทา 1. จดั ทาทะเบียนเงินเดือนและคา่ แรงงานของคนงาน โรงงานกลว้ ยน้าวา้ ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย 1% หกั เงินประกนั สังคม 5% และเงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ 3% 2. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป (กิจการจ่ายสมทบเงินประกนั สงั คม 5% และจา่ ย เงินสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพ 3%) ข้อ 6 บริษทั ปัตตานีแคนนิ่ง จากดั มีการจ่ายค่าแรงงานคนงานที่ทาการผลิตสินคา้ ดงั น้ี 2559 ต.ค. 15 จ่ายคา่ แรงงานทางตรงจานวน 9,000 บาท ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย 300 บาท 31 จา่ ยเงินเดือนผคู้ วบคุมงานจานวน 12,000 บาท ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ย 600 บาท ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ข้อ 7 บริษทั ยะลารอเยล จากดั มีรายการเกี่ยวกบั ค่าแรงงานเกิดข้ึนในการผลิตสินคา้ ดงั น้ี 2559 พ.ค. 15 บนั ทึกคา่ แรงงานทางตรง 12,000 บาท และคา่ แรงงานทางออ้ ม 8,000 บาท ภาษีเงินได้ หกั ณ ท่ีจ่าย 1% 16 จ่ายคา่ แรงงานท้งั สิ้น 31 จ่ายเงินเดือนผจู้ ดั การโรงงาน จานวน 15,000 บาท ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย 1% และ หกั ประกนั สงั คม 5% และกิจการจา่ ยสมทบเงินประกนั สงั คม 5% มิ.ย. 7 นาส่งภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่ายและเงินประกนั สังคม ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป
หน่วยท่ี 3 ค่าแรงงาน 101 ข้อ 8 บริษทั สยามรับเบอร์ จากดั มีรายการเก่ียวกบั คา่ แรงงานเกิดข้ึน ในเดือนมีนาคมถึงเมษายน 2559 ดงั น้ี 2559 มี.ค. 15 บนั ทึกค่าแรงงานทางตรง 60,000 บาท ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย 1% หกั เงินประกนั สงั คม 5% และเงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ 2% 16 จา่ ยคา่ แรงงานเป็นเช็ค และกิจการจ่ายสมทบเงินประกนั สังคมและสมทบกองทุนสารอง เล้ียงชีพในอตั ราเทา่ กบั หกั ลูกจา้ ง 31 กิจการจ่ายคา่ แรงงานทางตรง 80,000 บาท เงินเดือนผคู้ วบคุมคนงาน 8,000 บาท ภาษี เงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย 1% เงินประกนั สังคม 5% เงินสะสมกองทุนสารองเล้ียงชีพ 2% และกิจการจ่ายสมทบประกนั สงั คม และสมทบกองทุนสารองเล้ียงชีพในอตั ราเท่ากบั หกั ลูกจา้ ง เม.ย. 7 นาส่งภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย ส่งสรรพากร 10 จ่ายเงินสะสมและเงินสมทบเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ 15 นาส่งเงินประกนั สงั คมใหส้ านกั งานประกนั สังคม ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป ข้อ 9 โรงงานผลิตกระเป๋ าหนงั มีรายการเกี่ยวกบั ค่าแรงงานเกิดข้ึน ในเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม 2559 ดงั น้ี 2559 มิ.ย. 15 จา่ ยค่าแรงงานดงั น้ี คนงานประกอบชิ้นส่วน 200,000 บาท คนงานยอ้ มสีหนงั 100,000 บาท คนทาความสะอาดโรงงาน 6,000 บาท โรงงานหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย 1% เงินประกนั สังคม 5% และกิจการจา่ ยสมทบเงิน ประกนั สังคม 5% 30 จ่ายคา่ แรงงานดงั น้ี คนงานประกอบชิ้นส่วน 185,000 บาท คนงานยอ้ มสีหนงั 90,000 บาท คนทาความสะอาดโรงงาน 6,000 บาท โรงงานหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ย 1% เงินประกนั สังคม 5% และกิจการจ่ายสมทบเงิน ประกนั สงั คม 5%
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 102 ก.ค. 7 นาส่งภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย ส่งสรรพากร 14 นาส่งเงินประกนั สังคมใหส้ านกั งานประกนั สังคม ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ข้อ 10 โรงงานหาดใหญ่พาราวูด๊ ทาการผลิตเฟอร์นิเจอร์เพ่ือจาหน่าย กาหนดจ่ายค่าแรงงานให้ คนงานทุกวนั ที่ 16 และวนั สิ้นเดือนของทุกเดือน โรงงานมีการจ่ายค่าแรงงานในเดือน สิงหาคม 2559 ดงั น้ี 2559 ส.ค. 16 จา่ ยค่าแรงงานคนงานเป็นเช็ด ดงั น้ี ค่าแรงงานช่างเลื่อยไม้ 60,000 คา่ แรงงานช่างไสไม้ 50,000 เงินเดือนผคู้ วบคุมเคร่ืองจกั ร 30,000 คา่ จา้ งคนงานทาความสะอาด 10,000 คา่ แรงพนกั งานพสั ดุ 20,000 โรงงานหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจา่ ย 1% เงินประกนั สงั คม 5% เงินสะสมเขา้ กองทุนสารอง เล้ียงชีพ 2% และกิจการจ่ายสมทบเงินประกนั สังคมและเงินสมทบเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพใน อตั ราเท่ากบั หกั ลูกจา้ ง ส.ค. 31 จา่ ยค่าแรงงานคนงานเป็นเช็ค ดงั น้ี คา่ แรงงานช่างเลื่อยไม้ 80,000 ค่าแรงงานช่างไสไม้ 60,000 เงินเดือนผคู้ วบคุมเครื่องจกั ร 30,000 เงินเดือนผจู้ ดั การโรงงาน 40,000 ค่าจา้ งคนงานทาความสะอาด 10,000 คา่ แรงพนกั งานพสั ดุ 20,000 โรงงานหกั ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่าย 1% เงินประกนั สังคม 5% เงินสะสมเขา้ กองทุน สารองเล้ียงชีพ 2% และกิจการจ่ายสมทบเงินประกนั สังคม และเงินสมทบเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ ในอตั ราเทา่ กบั หกั ลูกจา้ ง ก.ย. 7 นาส่งภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จา่ ยใหก้ รมสรรพากร 10 นาส่งเงินสะสมและเงินสมทบเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ 15 นาส่งเงินประกนั สังคมใหส้ านกั งานประกนั สังคม ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป
หน่วยที่ 3 ค่าแรงงาน 103 แบบประเมนิ cกcแารทาแบบฝึ กหดั ชื่อ................................................... เลขท.ี่ ........ วนั ท.ี่ .......เดือน........................พ.ศ. .................. หน่วยท.ี่ .............................................................................................................................................. วชิ า..................................................................................................................................................... ลาดบั หวั ข้อประเมิน ระดบั คะแนน หมายเหตุ ด้านการปฏิบตั ิงาน 54321 1 อุปกรณ์การเรียนครบ 2 การใชท้ กั ษะในการปฏิบตั ิงาน 3 การปฏิบตั ิงานตามลาดบั ข้นั ตอน 4 ถูกตอ้ งตามหลกั การบญั ชี 5 การทางานเสร็จทนั เวลา ด้านกจิ นิสัยในการทางาน 6 ส่งงานตรงต่อเวลา 7 ความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย 8 มีความซ่ือสัตย์ ไมล่ อกการบา้ น 9 ขยนั อดทน ในการปฏิบตั ิงาน 10 มีความรับผดิ ชอบ เกณฑ์การให้คะแนน 80 - 100% ดีมาก = 5 คะแนน การปฏิบตั ิงานอยใู่ นเกณฑ์ ดี = 4 คะแนน การปฏิบตั ิงานอยใู่ นเกณฑ์ 70 - 79% ปานกลาง = 3 คะแนน การปฏิบตั ิงานอยใู่ นเกณฑ์ 60 - 69% พอใช้ = 2 คะแนน การปฏิบตั ิงานอยใู่ นเกณฑ์ 50 - 59% ปรับปรุง = 1 คะแนน การปฏิบตั ิงานต่ากวา่ 50% ไม่มีงานส่ง = 0 ผลการใหค้ ะแนน ผปู้ ระเมิน วนั ท่ี / /
หน่วยท่ี 3 คา่ แรงงาน 104 เอกสารอ้างองิ กชกร เฉลิมกาญจนา. การบัญชีบริหาร. พมิ พค์ ร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2557. กระทรวงแรงงาน. กฎหมายแรงงาน. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.mol.go.th. (วนั ที่สืบคน้ 25 พฤษภาคม 2558). ดลพร บุญพารอด. เอกสารการสอนชุดวชิ าการบญั ชีข้ันต้นและหลกั เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั ระบบ ก สารสนเทศ หน่วยที่ 1 - 7. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2558. ดวงมณี โกมารทตั . การบัญชีต้นทนุ . พิมพค์ ร้ังท่ี 15. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2559. ดวงสมร อรพินท์ และคณะ. การบัญชีการเงิน. พมิ พค์ ร้ังท่ี 10. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2557. ตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย. กองทุนสารองเลยี้ งชีพ. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.set.or.th. (วนั ที่สืบคน้ 25 พฤษภาคม 2558). นงเยาว์ กาญจนภูมิ. การบญั ชีต้นทนุ เบือ้ งต้น. กรุงเทพฯ : พฒั นาวชิ าการ (2535), 2556. นนั ท์ ศรีสุวรรณ. การบัญชีต้นทนุ 1. กรุงเทพฯ : วงั อกั ษร, 2552. นิตยา งามแดน. การบัญชีการเงิน. พมิ พค์ ร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2557. เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ. การบัญชีต้นทุนเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ , 2559. ภทั รภร สายเช้ือ. การบัญชีต้นทุนเบือ้ งต้น. กรุงเทพฯ : ศูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ, 2558. สมทรง คา้ ขาย. เอกสารการสอนชุดวชิ าการบัญชีต้นทุน 1 และการบัญชีต้นทุน 2 หน่วยที่ 1 - 7. พิมพค์ ร้ังที่ 3. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2557. สานกั งานประกนั สังคม. พระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สังคม. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www. sso.go.th. (วนั ที่สืบคน้ 25 พฤษภาคม 2558). สุกลั ยา ปรีชา. หลกั การบญั ชี. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ทริปเพลิ้ เอค็ ดูเคชนั่ , 2555. อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ.์ การบัญชีต้นทุน. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชน่ั , 2559.
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: