รายงานผลการสรา้ งอตั ลักษณ์ผู้เรียน โดยใช้ 3School Model ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ กระทรวงศึกษาธิการ
บทท่ี ๑ ความเปน็ มา ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ มี ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ท่ า ม ก ล า ง ยุ ค ก ระ แ ส โ ล ก า ภิ วั ฒ น์ ที่ มี การ เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การศกึ ษา วฒั นธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ กลไก หลักที่สาคัญของการพัฒนาคือ คนท่ีมีคุณภาพ การพัฒนาศักยภาพของคนจึงเป็นสิ่งท่ีสาคัญท่ีสุด โดยเฉพาะ ภาคการศึกษาที่เป็นภาคส่วนสาคัญท่ีเกย่ี วขอ้ งโดยตรงกับการพัฒนาคุณภาพคนของประเทศ ส่งผลใหเ้ กิดการ การปฏิรูปการเรียนรู้ในหลายๆ ส่วนเพื่อให้ได้คุณลักษณะผู้เรียนที่พึงประสงค์ คือ ผู้เรียนที่เป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข (นิชาวดี ตานีเห็งและคณะ,2559) ในส่วนของการศึกษา อัตลักษณ์ หมายถึง ผลท่ีเกิดขึ้น ของผเู้ รยี นตามปรชั ญา ปณิธาน พนั ธกิจ และวตั ถุประสงคข์ องการจัดตัง้ สถานศึกษาทไ่ี ดร้ บั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาและหนว่ ยงานตน้ สังกัด ทกุ สถานศกึ ษาไม่ว่าเล็กใหญ่ เหมือนกนั หมดท้ังประเทศจะ มีปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วตั ถปุ ระสงค์ อัตลกั ษณ์สถานศึกษา จงึ หมายถงึ ลักษณะเฉพาะ ของสถานศึกษา ท่ีมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา และอัตลักษณ์ของสถานศึกษาเนน้ ไปท่ีการ กาหนดภาพความสาเร็จ (Image of Success) ที่ต้องการใหเ้ กิดกบั ผู้เรยี น หรอื เป็นลกั ษณะหรือคุณสมบัติโดด เด่นของนักเรยี นที่สาเรจ็ การศกึ ษาจากสถานศกึ ษาแห่งนัน้ ซงึ่ คุณลักษณะหรอื คุณสมบัติ โดดเด่นของนกั เรยี นก็ คือคุณภาพผู้เรียนท่ีสถานศึกษากาหนด คุณภาพการจัดการศึกษาสะท้อนจากคุณภาพผู้เรียนที่กาหนดตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน นอกจากนัน้ สถานศึกษาแต่ละแหง่ ทม่ี ีบรบิ ทตา่ งกนั ให้กาหนดการพฒั นาคณุ ลักษณะของผู้เรียนท่ีเปน็ อัตลักษณ์ เฉพาะของตนเอง ตามบริบทของสถานศึกษา และความโดดเด่นตามที่สถานศึกษาต้องการให้เกิดกับผู้เรียน โดยผ่านการจัดกิจกรรมโครงการที่เป็นจุดเนน้ ของสถานศึกษาท่ีได้รับการยอมรับจากบุคคลทั้งในระดับชุมชน และในวงกว้าง ส่งผลสะท้อนเป็นคุณลักษณะเฉพาะของผู้เรียน ดังน้ันผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาจึงต้องให้ความสาคัญ และจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพรวมถึงได้รับการรับรองคุณภาพของ สถานศึกษาตามมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซ่ึงกาหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 ว่าด้วยเร่ืองมาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศกึ ษา มาตรา 47 ใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก ระดับ ประกอบดว้ ย ระบบการประกนั คุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก มาตรา 48 ให้ หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการ ประกันคุณภาพในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และมาตรา 49 ใหม้ สี านกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มฐี านะเปน็ องคก์ ารมหาชนทาหน้าที่พัฒนา เกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษาเพ่ือให้มีการตรวจสอบ คุณภาพของสถานศึกษา โดยคานึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ (ทองพรรณ ปัญญาอุดมกุลและคณะ,2557) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ โรงเรียนท่กี อ่ ต้ังขนึ้ โดยมีวัตถุประสงค์ ของการจัดต้ังเพ่ือรับเด็กด้อยโอกาสที่มีความเป็นอยู่ด้อยกว่าเด็กปกติทั่วไป ได้แก่เด็กยากจนมากเป็นพิเศษ (ครอบครัวมีรายได้ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อปี) เด็กกาพร้า เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กในชนกลุ่มน้อย เด็กถูกทาร้าย ทารุณ เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กเร่ร่อน แรงงานเด็ก เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชนฯลฯ ในเขตพืน้ ท่อี าเภอแม่แจ่ม อาเภอฮอด อาเภอจอมทอง อาเภอดอยเต่า อาเภออมกอ๋ ย และอาเภอ ดอยหล่อ โดยโรงเรียนเนน้ การพัฒนา 3 ทักษะ คอื ทักษะวชิ าการ ทกั ษะอาชพี และทักษะการดารงชวี ิต อกี ท้ัง โรงเรียนยังเสริมสร้างให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตรงตามอัตลักษณ์ของโรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ “สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา” เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มี คุณธรรม มีนสิ ยั ทเี่ ปน็ จติ อาสาชว่ ยเหลอื ชุมชนและสังคม และยงั เกี่ยวกับการบริหารจัดการของสถานศึกษาซ่ึง ถือว่ามบี ทบาทสาคัญท่ีสุด ปจั จยั การขับเคลื่อนภายในสถานศกึ ษาที่เหมาะสมกับแต่ละบริบทของสถานศึกษา คือส่ิงสาคญั ทีจ่ ะทาให้การพัฒนาใหบ้ รรลผุ ลตามเป้าหมายได้ (นลินี ทวีสิน, ๒๕๔๙) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้พัฒนานวัตกรรมท่ีช่วยในการ สร้างอัตลักษณ์ผู้เรียนในสถานศึกษา ในชื่อว่า “3School Model” โดยมีกระบวนการขับเคลื่อนการ ดาเนินงานท้ัง 3 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรม ภายใต้ กรอบแนวคดิ ปัจจยั สาคัญท่สี ง่ เสริมการสรา้ งอัตลกั ษณ์ผู้เรยี นใหบ้ รรลุเปา้ หมาย และได้คานงึ ถงึ ความเหมาะสม กับบริบทของสถานศึกษาเป็นสาคัญ โดยออกแบบนวัตกรรมให้สอดคล้องกับสภาพบริบทของโรงเรียนเป็น สาคญั เพอ่ื สรา้ งอัตลักษณ์ผู้เรียนในโรงเรียน อนั จะส่งผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน และสง่ ผลผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามเปา้ หมาย จุดม่งุ หมายของการศึกษา ๑. เพอ่ื สรา้ งนวตั กรรมในการสร้างอตั ลกั ษณ์ผ้เู รียน โดยใช้ 3School Model ๒. เพอ่ื เปรียบเทียบอัตลักษณผ์ เู้ รียนกอ่ นและหลงั การใชน้ วัตกรรม 3. เพ่ือประเมนิ ความพึงพอใจของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ในการนา 3School Model ไปใช้ในการสรา้ งอัต ลักษณ์ผูเ้ รยี น ขอบเขตการศึกษา ๑. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๑.๑ ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนีป้ ระกอบดว้ ย ๑.๑.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จานวน 88 คน ๑.๑.๒ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน จานวน ๑๕ คน ๑.๑.๓ นักเรยี น จานวน 797 คน ๑.๑.๔ ผูป้ กครองนกั เรยี น จานวน 797 คน ๑.๒ กลมุ่ ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครัง้ นี้ การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างท่ี เก่ียวข้องได้แก่ นักเรียน ผู้บริหารและครผู ู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และผู้ปกครองนักเรยี น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เชียงใหม่ ปกี ารศึกษา 2561 โดยใช้ 3School Model การเกบ็ รวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple ramdom sampling) จานวนกลุ่ม ตัวอย่างตามตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, ๑๙๗๐ อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, ๒๕๔๓) ประกอบดว้ ย สว่ นท่ี 1 การประเมนิ อตั ลกั ษณ์ผูเ้ รยี นก่อนและหลังการใชน้ วตั กรรม 1.2.1 นกั เรียนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ จานวน ๒60 คน ส่วนท่ี 2 ประเมินความพงึ พอใจของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย ๑.๒.๑ ผู้บรหิ ารและครูผู้สอน จานวน 73 คน ๑.๒.๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน จานวน 10 คน ๑.๒.๓ ผ้ปู กครองนักเรยี นโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๒60 คน
๒. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา สภาพและผลการดาเนินการสร้างอตั ลักษณ์ผเู้ รยี น โดยใช้ 3School Model ของโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ กาหนดขอบข่ายการศกึ ษาผลการดาเนินงานโดยประเมนิ ผลผลติ และผลลัพธท์ ่ีเกิดจากการนานวัตกรรมไปใช้ ดังน้ี ดา้ นผลผลติ ประเมินผลการดาเนนิ งานจาก ประเด็นตอ่ ไปน้ี - ผลการสรา้ งอัตลักษณ์ผู้เรยี น ตามเป้าหมายการดาเนินงานโรงเรียนสง่ เสริม สขุ ภาพระดับเพชร การมีจิตอาสาตอ่ สว่ นรวมและสังคม การดาเนินโครงการศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น การดาเนนิ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยา เสพติดและอบายมุข - อตั ลักษณผ์ ู้เรยี น พิจารณาจากการท่มี ีสุขภาพดี มคี ณุ ธรรมเดน่ เป็นจิตอาสา - ความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ การสร้างอัตลกั ษณผ์ ูเ้ รียน โดยใช้ 3School Model ด้านผลลัพธ์ ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานจากประเด็น ดงั น้ี - ผลของการการดาเนนิ งานโรงเรียนส่งเสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชร - ผลของกจิ กรรมจิตอาสาต่อส่วนรวมและสงั คม - ผลของการดาเนินโครงการศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น การดาเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ - ผลงานหรอื รางวัลเกียรตยิ ศที่ไดร้ ับ ๓. ขอบเขตด้านระยะเวลา ในการศึกษาคร้ังนี้ใชร้ ะยะเวลาศึกษาในปีการศกึ ษา ๒๕59 เป็นตน้ ไป นยิ ามศัพท์เฉพาะ ๑. อัตลักษณ์ของผู้เรียน หมายถงึ การที่ผเู้ รยี นมสี ุขภาพดี มีคณุ ธรรมเดน่ และเปน็ จติ อาสา ซ่งึ คณะผู้บรหิ าร ครูและนักเรยี นรว่ มกนั กาหนดขึ้นเป็นพฤตกิ รรมบง่ ชีเ้ ชิงบวกทีเ่ ปน็ เปา้ หมายในการสร้างอตั ลกั ษณข์ องผู้เรยี น โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ๒. 3School Model หมายถึง รปู แบบการดาเนนิ งานตามโรงเรียนทง้ั 3 โรงเรยี น ประกอบด้วย 1.โรงเรียนเพชร 2.โรงเรียนจิตอาสา และ3.โรงเรียนคุณธรรม ที่เป็นกระบวนการขับเคล่ือนในการสร้างอัต ลักษณ์ของผู้เรียนในโรงเรยี น ซ่ึงผู้ศึกษาได้พัฒนาขึ้นโดยยึดหลักความสอดคล้องกับสภาพบริบทของโรงเรียน เป็นสาคญั 3. โรงเรียนเพชร หมายถงึ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ผา่ นการประเมิน ให้เปน็ โรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพระดับเพชร ได้มีการพฒั นาสถานศึกษาท่ีเออื้ ตอ่ ผ้เู รียนในด้านสุขภาวะที่ดี สร้าง ให้ผูเ้ รยี นเปน็ คนที่มสี ุขภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพระดบั เพชร 3 มาตรฐาน 19 ตวั ช้ีวดั 4. โรงเรียนจิตอาสา หมายถึง โรงเรียนกาหนดกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านจิตอาสาของผู้เรียน 2 ลกั ษณะ ประกอบด้วย กิจกรรมภายในสถานศกึ ษา และกิจกรรมภายนอกสถานศึกษา 5. โรงเรยี นคณุ ธรรม หมายถึง การดาเนนิ งานส่งเสริมคุณธรรมในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ยการ ขับเคลอ่ื นศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา การดาเนนิ งานระบบการดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียน และโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ 6. ผลของการดาเนินการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนโดยใช้ 3School Model ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ หมายถงึ สภาพการสร้างอตั ลักษณ์ของผูเ้ รียน โดยพิจารณาจาก ผลการ สร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามตัวช้ีวัดโรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรม ผลการ
ประเมินอตั ลกั ษณ์ของผู้เรียน ความพึงพอใจของผมู้ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งท่มี ีต่อการสร้างอัตลกั ษณข์ องผูเ้ รียน อัต ลกั ษณเ์ ปา้ หมายของผเู้ รียนและผลงานหรอื รางวลั เกยี รติยศที่ไดร้ ับ 7. ความพึงพอใจที่มีต่อการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนโดยใช้ 3School Model ของโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็นของผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครองและนักเรียนท่ีมีการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียน โดยใช้ 3School Model 8. ผู้เรียน หมายถึง นักเรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ที่กาลัง ศกึ ษาในปีการศึกษา ๒๕59-2561 ประโยชน์ของการศึกษา ๑. ได้รูปแบบการดาเนนิ การสร้างอตั ลักษณ์ผู้เรียนที่มคี ณุ ภาพ ๒. สร้างอัตลกั ษณ์ผเู้ รยี นของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ๓. ผลการศึกษาใช้เป็นองค์ความรู้ เป็นแนวทางในการวางแผนและการขยายผลการพัฒนา รปู แบบในการสร้างอัตลกั ษณ์ผ้เู รียน และการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้นึ
บทท่ี ๒ เอกสาร งานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง แนวคดิ และทฤษฎที ่นี ามาเป็นพน้ื ฐานในการออกแบบนวตั กรรม ในการออกแบบนวัตกรรม 3School Model เพอื่ ใช้ในการสรา้ งอัตลกั ษณผ์ ู้เรยี น ผู้ศกึ ษาได้ศกึ ษา แนวคิดและทฤษฏีที่เกีย่ วข้องเพื่อนามาเปน็ พื้นฐานในการออกแบบนวัตกรรมดังน้ี ๑. นวตั กรรมและการพฒั นานวตั กรรม ๑.๑ ความหมายของนวตั กรรม ๑.๒ ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา ๑.๓ แนวทางพัฒนากระบวนการบรหิ าร ๑.๔ ขนั้ ตอนการพัฒนานวัตกรรม ๒. หลกั การบรหิ ารสถานศกึ ษา ๓. อตั ลกั ษณแ์ ละการสรา้ งอตั ลกั ษณ์ของผู้เรียน 3.๑ ความหมายของอตั ลักษณ์ ๓.๒ แนวคดิ ทฤษฏีเกี่ยวกบั อัตลักษณ์ ๓.๓ การสร้างอตั ลกั ษณ์ของผู้เรยี น ๔. งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง ๑.นวตั กรรมและการพฒั นานวัตกรรม ๑.๑ ความหมายของนวตั กรรม จากการศกึ ษาเอกสารท่ีเกยี่ วข้องสรุปไดว้ ่า นวัตกรรม หมายถงึ สง่ิ ใหมท่ ี่เกิดจากการใช้ความรู้ ความคิด กระบวนการหรือวิธีการทางานใหม่ การเปลยี่ นแปลง กิจกรรม ความคิด การมหี รือการปรับปรงุ องค์การ รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาหรอื กจิ กรรมท่ีโรงเรยี นพฒั นาขนึ้ จงึ หมายรวมในคาวา่ นวัตกรรมด้วย ๑.๒ ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา นวตั กรรมที่นามาใช้ในทางการศึกษา ทงั้ การกระทาใหม่ใดๆ การสรา้ งสิง่ ใหม่ๆ รวมท้ัง การพฒั นาดดั แปลงจากส่ิงใดๆ เพอ่ื ใช้ในการเรียนการสอน ขอแบ่งเปน็ ๕ ประเภท คอื ๑.๒.๑ นวตั กรรมด้านสอ่ื การสอน ๑.๒.๒ นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมนิ ผล ๑.๒.๓ นวตั กรรมด้านวิธีการจดั การเรียนการสอน ๑.๒.๔ นวัตกรรมดา้ นการบรหิ ารจัดการ ๑.๒.๕ นวัตกรรมทางด้านหลักสตู ร ๑.๓ แนวทางการพัฒนากระบวนการบรหิ าร TEAM+ Model ๑.๓.๑ การพฒั นารูปแบบการนิเทศเชิงระบบ เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนของครู ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ๑.๓.๒ การบรหิ ารแบบรว่ มมือรว่ มใจ เพ่ือการพัฒนางานวชิ าการ ระดบั ประถม- ศกึ ษา ๑.๓.๓ การบริหารด้วยวงจรคุณภาพเดมง่ิ เพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพงานวชิ าการ ๑.๓.๔ การพัฒนาการบริหารแบบ TOPSTAR เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรยี น ๑.๓.๕ การพฒั นากระบวนการกัลยาณมติ รวจิ ยั เพือ่ เพม่ิ ทักษะการทาวิจยั ในช้ันเรยี นของครู
๑.๓.๖ การบริหารงานกิจการนักเรียนแบบร่วมแรงร่วมใจ เพ่ือการแก้ปัญหายาเสพติดใน สถานศกึ ษา ๑.๓.๗ การพฒั นาการนิเทศภายในแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ เพ่ือการเขียนแผนการจดั การ เรียนรู้ของครูระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ๑.๓.๘ การพฒั นารูปแบบการบริหารโดยใชช้ ุมชนเปน็ ฐาน เพอ่ื พัฒนาจิตสานึก ประชาธิปไตยในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สาหรบั นกั เรียนชว่ งชน้ั ที่ ๑ ๑.๓.๙ การพัฒนาการบริหารแบบ STEAM เพื่อ การประกันคุณภาพภายในโรงเรียนระดับ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ๑.๓.๑๐ การพฒั นากระบวนการบรหิ ารแบบพาคิด พาทา เพื่อการทาวจิ ยั ของ ครรู ะดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ฯลฯ ๑.๔ ขน้ั ตอนการพฒั นานวัตกรรม ข้นั ตอนการวจิ ยั เชงิ การพัฒนา (Research and Development) โดยท่ัวไปมกั กาหนด เปน็ ๓ ขน้ั ตอนดงั นี้ ขั้นท่ี ๑ การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพ โดยดาเนินการในข้ันตอนยอ่ ยๆ ดงั นี้ - ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง - ยกรา่ งนวตั กรรม (ส่ือ วธิ ีการสอน หลกั สตู ร การวัดและการประเมนิ และกระบวนการบริหาร) - เสนอผู้เชย่ี วชาญ - ทดลองใชเ้ คร่ืองมือ - นาเครอื่ งมือทีผ่ า่ นการหาประสทิ ธภิ าพมาใช้จริง ขัน้ ที่ ๒ ศึกษาผลการนาไปใช้ - นาไปใชก้ ับกลมุ่ ตวั อยา่ ง/กลุ่มเปา้ หมาย - ทาการทดสอบผลและประเมินผลการใช้โดยเปรียบเทียบกอ่ นใช้ และหลังใช้ นวตั กรรม ( ใช้ t-test แบบ t-pair) ขน้ั ที่ ๓ ประเมนิ ผล - ใชแ้ บบประเมินความพึงพอใจของผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสียต่อการสร้างอตั ลักษณ์ผู้เรยี น โดย 3 School Model เพ่ือการประเมินผลการใชน้ วัตกรรมนัน้ กล่าวโดยสรุป ขั้นตอนการพัฒนานวตั กรรมคือ เร่ิมต้นด้วยการสร้างหรือการพฒั นา ซ่ึง หมายถึงการยกรา่ งนวัตกรรมขึน้ มาใหม่ จากนัน้ สู่ข้ันตอนการนานวัตกรรมไปใช้ หมายถงึ การนานวตั กรรมไป ใช้กับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อรับรองผลว่ามีผลการใช้อยู่ในระดับดี โดยยืนยันจากผลการทดสอบ และในขั้นตอน สุดท้ายคือ การประเมินผลการใช้นวัตกรรม หมายถึงการสอบถามความคิดเห็น หรือความพึงพอใจที่มีต่อ นวัตกรรมนั้นๆ ว่าดีมีประโยชน์ มีคุณค่า สามารถนาไปใช้ได้เป็นอย่างดี โดยยืนยันจากเคร่ืองมือการวัดและ ประเมินผลนวตั กรรมนัน้ ๒. หลักการบริหารสถานศกึ ษา ๒.๑ ความหมายและหลักสาคัญการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน จาการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง อาจกล่าวได้วา่ การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน
หมายถึง การบรหิ ารจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาตามความต้องการจาเป็นของโรงเรียนและทอ้ งถ่ินโดยการมี สว่ นรว่ มของผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย (Stakeholders) ไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บรหิ าร สถานศกึ ษา ครู ผู้ปกครอง สมาชิกในชุมชน นกั เรียน และองค์กรอ่ืนๆ หลกั สาคัญของการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานไว้ ดังนี้ ๑. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) เปน็ การกระจายอานาจการจดั การศึกษาไป ยังสถานศกึ ษา โดยเช่ือว่าโรงเรยี นเปน็ หน่วยสาคัญในการเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการศึกษา ๒. หลักการมสี ว่ นร่วม (Participation or Coollaboration or Involvement) เปิดโอกาส ให้ผู้เกย่ี วขอ้ งและผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสยี มสี ่วนรว่ มบริหาร ตดั สินใจและรว่ มจดั การศกึ ษา ๓. หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People) มกี ารคืน อานาจให้ทอ้ งถ่นิ และประชาชนไดจ้ ดั การศึกษาเอง โดยมีสิทธิจดั การศกึ ษาไดห้ รอื เข้ารว่ มเปน็ คณะกรรมการ โรงเรียน ๔. หลกั การบรหิ ารตนเอง (Self-manegement) โดยใหโ้ รงเรยี นมอี านาจหน้าทแี่ ละความ รบั ผิดชอบในการดาเนินงาน ซง่ึ อาจดาเนนิ การไดห้ ลากหลายวิธี ๕ .หลกั การตรวจสอบและถว่ งดลุ (Check and Balance) สว่ นกลางมหี น้าท่ีกาหนดนโยบาย และควบคมุ มาตรฐาน มอี งค์กรอสิ ระทาหนา้ ท่ีตรวจสอบคุณภาพการบรหิ ารจัดการศึกษา ๓. อัตลกั ษณแ์ ละการสร้างอัตลกั ษณข์ องผเู้ รียน ๓.๑ ความหมายของอัตลักษณ์ ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์คาว่า Identity ว่า เอกลักษณ์ มีความหมายว่า ลักษณะท่ี เหมือนกันหรือมีร่วมกัน(คาศัพท์บัญญัติ,2537:71 และพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542,2546) ในวงการสังคมศาสตร์ยุคปัจจุบันมีการใช้คาว่า อัตลักษณ์ แทนคาว่า เอกลักษณ์ โดยมีผู้ให้ ความหมาย อัตลักษณ์ ดงั นี้ พจนานุกรม The Concise Dictionary of Psychology ได้ให้ความหมาย Identity หมายถึง ลักษณะเฉพาะที่สาคัญฝังแน่นในตัวบุคคล เป็นพ้ืนฐานท่ีหลอมรวมเป็นบุคลิกภาพ สะท้อน ภาพลักษณข์ องบคุ คล (Statt, 1998) McCall (1987:134 อ้างถึงใน ฤดี นิยมรัตน์, 2554: 4) ได้ให้ความหมายของ อัตลักษณ์ ว่า เปน็ ลกั ษณะอย่างใดอย่างหน่ึงในตัวบคุ คล หรอื ชนชาตใิ ดชนชาติหนึง่ ท่ีทาให้บุคคลนน้ั รู้ตวั ว่า เขาเปน็ บุคคล เป็นตวั เขาเองแตกต่างจากคนอื่น และทาให้คนอ่นื รู้จกั ว่าเปน็ ใคร อัตลักษณ์ของตนเองจงึ มีความสาคัญเพราะ เป็นเครอ่ื งรกั ษาบุคคลแตล่ ะคนใหม้ ีความเปน็ ตัวของตวั เองโดยแทจ้ ริง ดวงเดือน พันธุมนาวินและดุจเดือน พันธุมนาวิน (2538: 77) ได้กล่าวถึง อัตลักษณ์ ว่า เป็นโครงสร้างของบุคลิกภาพของบคุ คลท่ีเกดิ จากการร้จู กั ตน การยอมรบั ตนวา่ มีลกั ษณะทคี่ งทีแ่ ละต่อเน่ืองมา ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่ ในขณะเดียวกนั บุคคลก็เข้าใจบทบาท หน้าที่ของตนตามที่สังคมและวัฒนธรรมกาหนด และรับรู้ลักษณะความรู้ ความสามารถ ความต้องการของตนได้ สอดคล้องกับสังคมและคนรอบข้างทาให้เกิด ความม่ันใจในตนเองทีส่ ามารถทาทุกอย่างไดด้ ีตามมาตรฐานตนเองและสงั คมไปพรอ้ มกนั อภิญญา เฟ่ืองฟูสกุล (2546: 1-2) กล่าววา่ อตั ลักษณแ์ ปรเปลี่ยนตามบริบทของวฒั นธรรม ยุคโลกาภวิ ตั น์ ซึ่งเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารทาให้มิตเิ วลาเร่งเร็วข้นึ มิติพ้ืนท่หี ดแคบเขา้ มา เกิดการเคล่ือนไหวทาง
วัฒนธรรม อย่างรวดเร็ว หลากหลายและซับซ้อน การเปล่ียนแปลงนี้ส่งผลให้ผู้คนมีกระบวนการสร้างตัวตน และอัตลักษณจ์ ากการผสมผสานองค์ประกอบทางวัฒนธรรมทซี่ ับซ้อน ฉัตรทิพย์ สุวรณชินและพนมพร จันทรปัญญา (2559: 269) ได้ให้ความหมาย อัตลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเฉพาะ หรือลักษณะที่เหมือนกันของบุคคล กลุ่มบุคคลท่ีสามารถบ่งบอกความแตกต่างและ สร้างความจาจาได้ ซึ่งเป็นผลมาจากการยอมรับและเข้าใจบทบาทหน้าท่ีตนเองผ่านกระบวนการปฏิสัมพันธ์ และการยอมรับจากผอู้ ืน่ หรอื สงั คม ฉัตรทพิ ย์ สวุ รณชินและพนมพร จันทรปัญญา, 2559: 269) ๓.๒ แนวคดิ ทฤษฏีเกี่ยวกบั อตั ลักษณ์ สาหรบั อตั ลักษณผ์ ูเ้ รยี น หมายถงึ คุณลักษณะของผู้เรียนทพ่ี ึงประสงค์ ซง่ึ เกิดขนึ้ ตามปรชั ญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา เป็นคุณลักษณะเฉพาะท่ีโดดเด่นของ ผู้เรียนแต่ละสถานศึกษา(ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2557: 6) จุดร่วมท่ีสาคัญในการนิยาม อัตลักษณ์ของ นักวิชาการ อัตลักษณ์เป็นเรื่องการกาหนด ความเหมือน (similarity) และความแตกต่าง (difference) ระหว่างคนและส่ิงของ ความเหมือนและความต่างเกี่ยวข้องกับการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมหรือเป็นผลมาจาก การเป็นสมาชิกกลุ่ม (Brown, 2004 อ้างถึงใน สุภัชฌาน์ ศรีเอ่ียม, 2559: 187) โดยมีการแบ่งอัตลักษณ์ เป็น 2 ประเภท (Smith, 2006: 85-88; Erikson, 1968 อ้างถึงใน ฉัตรทิพย์ สุวรณชินและพนมพรจันทร ปัญญา, 2559: 27) คือ 1) อัตลักษณ์บุคคล (Individual Identity) เก่ียวข้องกับมิติภายในบุคคลได้แก่ อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ซ่ึงบุคคลมีต่อตนเอง เป็นการให้ความหมายหรือเปลี่ยนแปลงความหมายเกี่ยวกับ ตนเองผ่านกระบวนการที่บุคคลสัมพันธ์กับโลก ซึ่ง Goffman นักสังคมวิทยาได้จาแนกอัตลักษณ์บุคคลตาม ทฤษฎีสังคมของ Erik H. Erikson แบ่งเป็น 2 มิติคือ ส่ิงที่บุคคลมองตัวตนของตนเองท่ีมลี ักษณะเฉพาะและ แตกต่างจากผู้อ่ืน เรียกว่า Ego Identity และ ภาพหรือลักษณะเฉพาะของบุคคลในสายตาผู้อ่ืน เรียกว่า Personal Identity และ 2) อัตลักษณ์ทางสังคม (Social Identity) ประกอบด้วยสองส่วนคือ อัตลักษณ์ ลักษณะท่ีสงั คมเรยี กร้องและคาดหวังจากบุคคล (Virtual Identity) และส่งิ ที่เปน็ อัตลักษณท์ แี่ ท้จรงิ ของบุคคล นัน้ (Actual Social Identity) นอกจากนี้ฉัตรทิพย์ สุวรรณชินและพนมพร จันทรปัญญา (2558: 267) ได้กล่าวถึง การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเป็นกระบวนการสาคัญในการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกับความต้องการสถานศึกษา และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุข อัตลักษณ์ของผู้เรียนถือเป็นอัตลักษณ์บุคคล (Individual Identity) ซึ่งเกี่ยวข้องกบั มิติภายในท่ีบุคคลรู้จักและรับรู้เก่ยี วกับตนเอง และอัตลักษณ์ทางสังคม (Social Identity) เก่ียวข้องกับการมี ปฏิสมั พนั ธท์ างสังคมของบุคคล นาไปสกู่ ารจาแนกประเภทอัตลักษณ์ของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็นอัตลักษณ์ 2 ประเภท ได้แก่ 1) อัตลักษณ์ทางวิชาการ (Acdemy Identity) และ อัตลักษณ์ทาง วิชาชีพ (Professtional Identity) สาหรับการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนน้ันมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ กระบวนการเรยี นรู้ และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ซง่ึ ปจั จยั ท่เี ก่ียวข้องกับการบริหารการศึกษาทงั้ ดา้ นผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านวิธีการสอน ด้านหลักสูตร และด้านผู้บริหาร รวมทั้งปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกบั การบริหารจัดการท้งั ด้านสภาพแวดล้อม และด้านระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ จะเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้ ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้และส่งผลใหผ้ เู้ รียนมีอัตลักษณ์ตามท่ีสถานศึกษากาหนดไดอ้ ยา่ งสาเรจ็ อัตลักษณ์ (Identity) หมายถึง ผลที่เกิดข้ึนกับผู้เรียนตามปรัชญา ปณิธานวิสัยทัศน์ พันธกจิ และวัตถุประสงค์ของการจัดตง้ั สถานศกึ ษาทไี่ ด้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาและหน่วยงาน ต้นสังกัด “อัตลักษณ์” เป็นตัวบ่งช้ีท่ีเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการประเมิน สมส.ในสองรอบท่ีผ่านมาที่ได้มีการ ตรวจสอบปรัชญาปณิธาน วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจของสถานศกึ ษา วา่ มีการกาหนดไว้หรอื ไมเ่ ท่านั้น ซึง่ ในทางปฏบิ ัติ
ทุกสถานศึกษาจะตอ้ งกาหนดไว้ต้งั แต่เมื่อก่อตั้งสถานศึกษา สว่ นการประเมนิ ภายนอกรอบสามจะประเมินผล ว่าตัวผู้เรียนว่ามีคุณลักษณะเป็นไป ตามสาระท่ีกาหนดไว้ในปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์พันธกิจหรือไม่ เช่น หากสถานศึกษากาหนดปรัชญาไว้ว่า \"ความรู้คู่คุณธรรม\" บัณฑิตท่ีจบมาต้องมีความร้เู ป็นคนดีมีจิตสาธารณะ หรือหากกาหนดไวว้ ่า \"อดทน มุ่งมั่น สู้งาน\" ผู้เรียนที่สาเร็จการศึกษาแล้วมีลักษณะอดทนตั้งใจ มุ่งมั่น และสู้ งาน จึงจัดว่าวา่ บรรลุอัตลักษณ์ โดยอาจจัดประชมุ รับฟังความคิดเห็นจากประชาคมภายในสถานศึกษา หรอื ทา แบบสารวจความคิดเห็นจากบุคลากรภายใน ต่อคุณลักษณะของผู้เรียนท่ีสะท้อนปรัชญา ปณิธานวิสัยทัศน์ พนั ธกิจทกี่ าหนดหรอื ไม่ สาหรบั การใหร้ ะดับคะแนนการประเมนิ ของ สมส. จะประเมินตามระดบั ผลกระทบที่ ดีตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถ่ิน และระดับการยอมรบั จากชมุ ชนหรือหน่วยงานภายนอก ผลทีไ่ ด้จากการดาเนินการจะส่งผล ดีให้สถานศึกษา คณะ และสาขา ได้ทบทวนพิจารณาและดาเนินการต่อไปอย่างมีเป้าหมายชัดเจน ชูจุดเด่น หรอื จุดตา่ งของสถานศกึ ษาให้คนท่ัวไปได้รับทราบและร้จู ักตัวตนของสถานศึกษาคณะหรอื สาขามากขึ้น ซงึ่ อตั ลักษณ์ของสถาบัน คณะ หรือสาขาจะเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ ทั้งน้ีข้ันตอนการกาหนดอัตลักษณ์ ควรมีการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ความเป็นมาของสถานศึกษา และเจตนารมณใ์ นการจดั ตงั้ สถานศึกษา แลว้ กาหนดอัต ลักษณ์ท่ีผู้สาเร็จการศึกษาจะต้องมีก่อนท่ีจะสาเร็จการศึกษา ท่ีผ่านการประชาพิจารณ์ร่วมกันระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง โดยมีกิจกรรมการส่งเสริม พัฒนา และประเมินอย่างเป็นระบบ (สานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคณุ ภาพการศึกษา,2556) ๓.๓ การสรา้ งอัตลกั ษณผ์ ู้เรียน 1. สร้างความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ให้กบั ผ้เู ก่ยี วขอ้ งและชมุ ชน 1.1 สร้างความตระหนักให้ครู บุคลากรเก่ียวกับบทบาทในการสรา้ งอัตลักษณ์ ของสถานศกึ ษา 1.2 สรา้ งองค์ความรเู้ กยี่ วกบั การสร้างอตั ลักษณข์ องสถานศึกษา 2. ปรบั โครงสร้างและนโยบายเกี่ยวกบั การสร้างอตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา 2.1 ปรบั โครงสร้างและนโยบายของสถานศกึ ษา 2.2 สร้างความร่วมมือกับผู้เก่ียวข้องและชุมชนในการกาหนดนโยบาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ เพ่อื ปรบั แผนกลยทุ ธ์ และแผนการบริหารงบประมาณ 3. ปรับกระบวนการทางาน โดยใชร้ ะบบขอ้ มลู สารสนเทศ 3.1 ปรับระบบการบรหิ ารข้อมูลสารสนเทศ 3.2 ปรับกระบวนการทางาน โดยใชร้ ะบบขอ้ มลู สารสนเทศ 3.3 ปรบั ปรุงระบบการนเิ ทศกิจกรรมพัฒนาอตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา 3.4 พัฒนาระบบการตรวจสอบผลการดาเนินงาน ตามเป้าหมาย ของ สถานศกึ ษา 4. ปรับปรุงคณุ ภาพผ้เู รยี น 4.1 ปรบั ปรงุ หลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกับสภาพความตอ้ งการของชมุ ชน 4.2 พัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาเพ่อื การสร้างอัตลักษณ์ ของสถานศกึ ษา 4.3 พัฒนาลักษณะโดดเด่นเพื่อเสริมสร้างอตั ลักษณ์ของสถานศึกษาด้วยหลัก กัลยาณมิตร 5. ปรับปรุงสือ่ แหลง่ เรยี นรู้ท่เี อ้ือตอ่ การสรา้ งอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา
5.1 พฒั นาการผลติ และใชส้ ่ือการเรยี นรู้ 5.2 ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ 6. สรา้ งเครือข่ายการพัฒนา และการประชาสมั พันธ์ 6.1 สร้างเครอื ขา่ ยการพัฒนาอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 6.2 พฒั นาระบบการประชาสัมพนั ธอ์ ัตลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา (ทองพรรณ ปัญญาอดุ มกลุ และคณะ,2557) ๔. งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง ทองพรรณ ปัญญาอุดมกุล และคณะ (2557) ศึกษาเก่ียวกับกลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ ของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานขนาดเล็ก ในเขตภาคเหนือตอนบน ด้านสภาพแวดล้อมภายนอก อยู่ในระดับมาก ดา้ นสภาพแวดลอ้ มภายใน อยู่ในระดบั ปานกลาง และสภาพปจั จุบันในการสร้างอตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา ท้งั 5 ด้าน ได้แก่ การกาหนดอัตลักษณ์ องค์ประกอบของอัตลักษณ์ การปฏิบัติตามอัตลักษณ์ การประเมินอัต ลักษณ์ และการธารงรักษาอัตลักษณ์ อยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) กลยุทธ์การสรา้ งอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับโครงสร้างและ นโยบายเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ท่ี 2 ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 3 ปรับปรุงส่ือ แหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ท่ี 4 สร้างเครือข่ายการพัฒนา และการประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์ ท่ี 5 สร้างความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ของ สถานศึกษาให้กับผู้เกี่ยวข้องและชุมชน กลยุทธ์ที่ 6 ปรับกระบวนการทางาน โดยใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศ (3) การตรวจสอบกลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน พบว่า กลยทุ ธน์ ั้นมคี วามเหมาะสมและมคี วามเปน็ ไปไดใ้ นระดบั มาก เมทินี ราพึงสุข (2557) การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สังเคราะห์อัตลักษณ์และจัด ประเภทอัตลักษณ์ของนักเรียนในสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินภายนอกรอบสาม 2) วิเคราะห์ เปรียบเทียบอัตลักษณ์ของนักเรียนในสถานศึกษาท่ีมีขนาด ระดับ สังกัด ที่ต้ังและภูมิภาคแตกต่างกัน 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่ งอัตลักษณ์ของนักเรยี นที่สถานศึกษากาหนดและคุณภาพของผู้เรียนที่เกิดข้ึน และ 4) ศกึ ษาแนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษาท่ีมกี ารปฏิบัติทีด่ ี ดาเนนิ การวจิ ัยแบบผสมวิธี ในรปู แบบแผน เชิงอธิบาย (explanatory design) ประกอบด้วย 2 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนแรก ศึกษาข้อมูลเชิงปริมาณ ศึกษา กับสถานศึกษาทม่ี ีการกาหนดอัตลกั ษณ์ครบทัง้ สามด้าน (เกง่ ดี และมคี วามสขุ ) จานวน 1,175 โรงเรยี น โดย ใช้แบบบันทกึ ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูลของ สมศ. และวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย ขั้นตอนท่สี องศกึ ษาข้อมูลเชิง คุณภาพ ศึกษากับสถานศึกษาท่ีมีการปฏิบัติท่ีดี จานวน 6 โรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิธีการ จาแนกประเภทข้อมูล typological analysis ผลการวิจัยท่ีสาคัญสรุปได้ดังน้ี 1. สถานศึกษามีการกาหนดอัต ลักษณ์ของนักเรียนในด้านความดีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34.21 รองลงมาคือด้านความเก่ง คิดเป็นร้อยละ 10.98 และด้านมีความสุข คิดเป็นร้อยละ 17.10 2. สถานศึกษาท่ีมีขนาด ระดับ สังกัด ท่ีต้ัง และภูมิภาค แตกต่างกัน มีการกาหนดอัตลักษณ์ของนักเรียนไม่แตกต่างกันและเป็นอัตลักษณ์ด้านความดีมากที่สุด 3. คุณภาพของผู้เรียนท่ีเกิดข้ึนมีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับอัตลักษณ์ตามที่สถานศึกษากาหนด 4. แนว ทางการดาเนินงานของสถานศึกษาท่ีมีการปฏิบัติที่ดี พบว่าทุกโรงเรียนมีการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาอตั ลักษณ์ ของนักเรียนในแต่ละด้านอย่างเป็นระบบโดยประกอบไปด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอนคือขั้นตอนการวางแผน (Plan) การดาเนินการแก้ไขปัญหา (Do) การตรวจสอบและเปรียบเทียบผล (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Action) ตัวอย่างการดาเนินงานท่ีเน้นอัตลักษณ์ด้านความดี เช่น โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
โครงการวันแม่ วันพ่อ เน้นอัตลักษณ์ด้านความเก่ง เช่น โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กิจกรรมกีฬาสี เนน้ อตั ลักษณด์ ้านความสขุ เช่น โครงการเศรษฐกิจพอเพียง โครงการออมทรพั ย์ วันเพ็ญ อมรสิน , สมบัติ ท้ายเรือคา และประสาท เนืองเฉลิม (2556) ศึกษาวิจัยเร่ือง การศึกษาอัตลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพ่ือศึกษาอัตลักษณ์นิสิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา 2555 จานวน 1,500 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การศกึ ษาอตั ลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) อัตลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การศึกษาอัตลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามอยู่ในระดับมากทุก ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านความสามัคคี 2) อัตลักษณ์นิสิต กลมุ่ มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตรโ์ ดยรวมแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบวา่ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านความรับผิดชอบต่อสงั คม และด้านความสามัคคแี ตกต่างกนั อย่าง มนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) อตั ลักษณ์นิสติ กล่มุ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยรวมแตกตา่ งกันอย่างมี นยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 เม่อื พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม ดา้ นความรบั ผิดชอบ ต่อสังคม และด้านความสามัคคี แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) อัตลักษณ์นิสิตกลุ่ม วิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และด้านความสามัคคี แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 อรนันท์ หาญยุทธและรัชยา รัตนถาวร (2553) ศึกษาวิจัยเรื่อง คุณภาพและอัตลักษณ์ ของบัณฑิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียที่สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2553 โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกา สาขาพยาบาลศาสตร์และ ศึกษาอัตลักษณ์ของบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ปี การศึกษา 2553 ตามความคิดเห็นของบัณฑิตพยาบาลและผู้ใช้บัณฑิต จานวน 62 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยแบบสอบถาม ผลการศึกษา พบว่า ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.34 และ ด้านท่ีมีความพึงพอใจสูงสุด คือด้านคุณธรรมจริยธรรม มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.49 ส่วนด้านคุณลักษณะบัณฑติ ตามอตั ลกั ษณ์บัณฑิต ผใู้ ช้บัณฑิตมีความพึงพอใจทกุ ด้าน อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉล่ีย เทา่ กับ 4.40 และดา้ นที่ มีความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ด้านประสิทธิภาพและจริยธรรม มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.61 ความคิดเห็นขอ่อ คุณภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษา สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ และคณุ ลักษณะบัณฑิต ตามอตั ลกั ษณ์ในแตล่ ะดา้ น ไมม่ คี วามแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิที่ระดับ 0.05
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การพัฒนานวัตกรรม การสรา้ งนวตั กรรม 3School Model และนาไปใช้ในการดาเนินการเพื่อสรา้ งอัตลกั ษณ์ผูเ้ รยี น ของ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ มขี ้นั ตอนการดาเนินงาน ดังนี้ วิเคราะหส์ ภาพปัจจุบนั สารวจสภาพปัญหาด้านอตั ลกั ษณ์ จัดลาดบั ความสาคัญ ความต้องการพฒั นา ศกึ ษาเอกสาร งานวจิ ัย/ แนวทางการสรา้ งอัตลกั ษณ์ วางแผนเพอ่ื ออกแบบนวัตกรรมใหเ้ หมาะสม กบั สภาพปัญหาและบรบิ ทของโรงเรียน กระบวนการขับเคลื่อนการสร้างอตั ลกั ษณผ์ ู้เรียน โดยใช้ 3School Model ผลผลติ ผลลพั ธ์ Yes No ปรบั ปรงุ แกไ้ ข/พฒั นา No Yes รปู แบบการสร้างอตั ลักษณ์ 3School Model
แผนภาพแสดงกระบวนการสรา้ งนวัตกรรม 3School Model ขั้นตอนการดาเนินการพัฒนา ขนั้ ท่ี ๑ การวางแผนการดาเนนิ งาน (Plan) ๑.๑ การสารวจสภาพปัญหา ความต้องการ ในการสร้างอัตลกั ษณ์ผเู้ รยี น โดยการวเิ คราะห์สภาพ ปจั จบุ นั สารวจพฤติกรรมด้านสขุ ภาพ คุณธรรม และจิตอาสาทีพ่ งึ ประสงคแ์ ละพฤตกิ รรมท่เี ปน็ ปัญหาที่เกิดข้ึน ในสถานศึกษา เรียงลาดับความสาคัญและความต้องการจาเป็นในการแก้ปัญหา พบว่าพฤติกรรมด้านสุขภาพ การแสดงออกด้านคุณธรรมจริยธรรม และการเป็นจิตอาสาของผู้เรียนมีความสาคัญและจาเป็นต้องได้รับการ แกไ้ ข กาหนดเปน็ อัตลกั ษณเ์ ปา้ หมาย ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่ มสี ขุ ภาพดี มคี ณุ ธรรมเดน่ และเป็นจติ อาสา ๑.๒ กาหนดขอบข่ายอตั ลักษณ์และพฤตกิ รรมตัวชีว้ ัดที่ตอ้ งการสร้าง โดยผู้บริหาร ครูและ นกั เรยี นรว่ มกนั วิเคราะหเ์ พือ่ กาหนดพฤติกรรมบง่ ช้เี ชงิ บวกทเี่ ป็นตัวชีว้ ัดในอตั ลกั ษณแ์ ต่ละด้าน ของผ้เู รยี น ซ่ึง สรุปขอบข่ายพฤตกิ รรมบ่งชี้ที่ต้องการพัฒนาไดด้ ังน้ี ตารางที่ ๒ ขอบขา่ ยอตั ลกั ษณ์เปา้ หมายและพฤตกิ รรมบง่ ชีเ้ ชงิ บวกที่ต้องการสร้างใหเ้ กิดกบั ผเู้ รียน อัตลักษณ์เปา้ หมาย พฤติกรรมบ่งช้เี ชิงบวก ๑. สขุ ภาพดี นักเรียน ๒. คณุ ธรรมเดน่ 1. ผเู้ รียนมีสุขนิสยั ในการดแู ลสุขภาพและออกกาลังกาย สมา่ เสมอ ๓. เปน็ จิตอาสา 2. มนี ้าหนัก ส่วนสงู และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน 3. ป้องกันตนเองจากสงิ่ เสพตดิ ให้โทษและหลีกเล่ียงตนเองจากสภาวะท่ี เสย่ี งต่อความรุนแรงโรค ภัย อบุ ัตเิ หตแุ ละปัญหาทางเพศ 4. ผูเ้ รียนได้รบั การดูแลตามมาตรฐานการดูแลนักเรยี นประจา 5. ผูเ้ รียนได้รบั การดูแลตามมาตรฐานงานโภชนาการ 1. มวี นิ ยั ตอ่ ตนเอง 2. มคี วามซอื่ สัตย์ต่อตนเองแล้วผูอ้ น่ื 3. มคี วามสามัคคี 4. มีความขยันและอดทน 5. มคี วามกตัญญตู อ่ ผู้มีพระคณุ 6. เปน็ ผมู้ คี วามมัธยัสถ์ อดออม 7. ฟังความคดิ เห็นของบุคคลอ่ืนอย่างเขา้ ใจ 1. เสียสละประโยชนส์ ่วนตนเพื่อประโยชนส์ ่วนรวม 2. ร่วมกจิ กรรมต่าง ๆของโรงเรยี นดว้ ยความเต็มใจ 3. รว่ มกจิ กรรมจติ อาสาทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 4. ใหค้ วามช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ด้วยความเต็มใจ ๑.๓ วเิ คราะหส์ ภาพปัจจบุ ันของโรงเรยี น ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฏี เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง โดยผบู้ ริหาร ครคู ณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน และตวั แทนผู้ปกครองเครือขา่ ย รว่ มกันวิเคราะห์เพื่อ กาหนดแผนงานสร้างอตั ลกั ษณ์ผู้เรียน ดงั นี้
ตารางที่ ๓ แผนงานสรา้ งอตั ลกั ษณ์ผ้เู รยี น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ วสิ ยั ทศั น์ ภายในปี พ.ศ.2562 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 มีระบบการจดั การศึกษาที่มคี ุณภาพ มีครมู อื อาชีพ ผู้เรียนมคี ณุ ลักษณะตามหลักสูตร และเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพีย เป้าประสงค์ ๑. มกี ารขบั เคลอื่ นโรงเรียนท้ัง 3 ไดแ้ ก่ โรงเรยี นเพชร โรงเรยี นจติ อาสา และโรงเรยี นคณุ ธรรม ในการสร้างอตั ลกั ษณใ์ ห้ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ ๒. มีพฤตกิ รรมท่ีไมพ่ งึ ประสงค์ในโรงเรยี นลดลง ๓. มพี ฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคใ์ นโรงเรยี นเพิ่มข้นึ ๔. มีกลไก ความร่วมมือจากทุกฝา่ ยท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ๕. มีภาคีเครือข่าย สนบั สนนุ ส่งเสริมให้เกิดอตั ลกั ษณ์กับผู้เรียน วตั ถุประสงค์ ๑. เพื่อพฒั นากระบวนการดาเนนิ งานโรงเรยี นทง้ั 3 ได้แก่ โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรยี นคุณธรรม ๒. เพอื่ สร้างนักเรียนให้มอี ัตลักษณ์ตามสถานศึกษากาหนด ๓. เพอ่ื พัฒนาสภาพแวดลอ้ มให้เอือ้ ตอ่ การสร้างอัตลกั ษณ์ผ้เู รยี น ยทุ ธศาสตร์การ 1. พัฒนานักเรียน ดาเนนิ งาน 2. พฒั นาสภาพแวดล้อม อตั ลักษณ์เป้าหมาย ๑. สขุ ภาพดี ๒. คุณธรรมเด่น ๓. เปน็ จิตอาสา แผนปฏิบัติ 1. แผนการดาเนนิ งานโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพระดับเพชร 2. แผนการดาเนนิ งานโรงเรยี นคณุ ธรรม 3. แผนการดาเนนิ งานโรงเรียนจิตอาสา ตวั ชว้ี ัดในการ ๑. มกี ระบวนการขบั เคลื่อนการสรา้ งอัตลักษณ์ผู้เรยี นทั้งสถานศึกษา สรา้ งอัตลกั ษณ์ ๒. นักเรยี นมีพฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ดา้ นสขุ ภาพ คณุ ธรรม และจติ อาสา ผ้เู รยี น เพิม่ ขึน้ ๓. นกั เรียนท่ีมพี ฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ด้านสขุ ภาพ คุณธรรม และจิต อาสาลดน้อยลง 4. เกดิ กระบวนการมสี ว่ นร่วมจากผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา และชมุ ชน 5. มีภาคีเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการสร้างอตั ลักษณ์ผู้เรยี น ๑.๔ ออกแบบนวตั กรรมรปู แบบการสรา้ งอตั ลกั ษณ์ผเู้ รียน ใหเ้ หมาะสมกับสภาพปัญหาและ สภาพบริบทและแผนงานโรงเรียนทั้ง 3 ได้แก่ โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรม โดย สรา้ งนวตั กรรมการปฏิบัตใิ นชอ่ื ว่า “3School Model”
ขนั้ ท่ี ๒ การดาเนินงาน (DO) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้สร้างนวัตกรรม 3School Model และนาไปใช้ในการดาเนนิ การเพอ่ื สรา้ งอัตลกั ษณ์ผเู้ รยี น ดงั น้ี กระบวนการขับเคลือ่ นการสร้างอตั ลักษณผ์ ูเ้ รยี น โดยใช้ 3School Model นวัตกรรม 3School Model รูปแบบการสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียนมี “สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา” โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อนานวตั กรรม 3School Model มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการดาเนินงานให้สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ โดยใช้เทคนิคกระบวนการวงจรคุณภาพของเดมมง่ิ PDCA ในกระบวนการดาเนินงาน ภายใต้รูปแบบ TEAM+ Model ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารจัดการหลักของ สถานศึกษา โดยใช้นวัตกรรม 3School Model ในการสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียน ซ่ึงนวัตกรรม 3School Model ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั ๒ ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนที่ ๑ TEAM เป็นการบริหารจัดการเพื่อให้การดาเนินงานพัฒนาสถานศึกษา เพื่อสร้าง สรา้ งอัตลักษณใ์ หผ้ เู้ รียนจนประสบความสาเร็จ มีองค์ประกอบดังนี้ T : Trainer หมายถึง หัวหนา้ กลุ่มงาน เน่ืองจากโรงเรียนมีรองผู้อานวยการจานวน 1 ท่าน ฉะน้ันการดาเนินงานแต่ละด้านอาจทาให้เกิด ความล่าช้า ส่งผลให้งานไม่ราบร่ืนและไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังน้ีจึงมีการกระจายอานาจการบริหารงานใน สถานศึกษา โดยการนาครูและบุคลากรที่มีความรู้ ประสบการณ์ข้ึนมาเป็นหัวหน้าคณะทางาน ซึ่งได้จัดทา โครงสร้างการบรหิ ารงานภายในสถานศกึ ษาแบ่งออกเป็น 10 กลุม่ งาน คอื 1) กล่มุ ส่งเสรมิ กิจการนักเรยี น 2) กลุ่มงานวินัยนักเรียน 3) กลุ่มการเงินและสินทรัพย์ 4) กลุ่มนโยบายและแผน 5) กลุ่มอานวยการ 6) กลุ่ม อาคารสถานท่ี 7) กลุ่มบริหารงานบุคคล 8) กลุ่มบริหารงานบุคคล 9) กลุ่มงานส่งเสริมวิชาการ และ 10) กลุ่มงานตามนโยบาย โดยมีการวางแผนร่วมกันอย่างเป็นระบบเพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติที่มีเป้าหมายตรงตาม วัตถุประสงค์ของงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากท่ีสุด ทั้งด้านผู้เรียน สถานศึกษา ครูและ บคุ ลากรของโรงเรียน E : Environment หมายถึง แหล่งเรยี นร้แู ละส่ิงแวดล้อม เป็นการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา เพื่อให้เป็นอุทยานการเรียนรู้และทาให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ เออ้ื ต่อการเรียนรูว้ ถิ ีพอเพียง และใชแ้ หล่งเรยี นรู้ ส่งิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาพัฒนาผู้เรยี นเกิดนิสัยที่เปน็ คนที่มี สุขภาพดี เป็นคนท่ีมีคุณธรรมเด่น และเป็นคนที่มีจิตอาสา พร้อมท้ังยังสามารถใช้สถานศึกษาเป็นท่ีสาหรับ
ผเู้ รยี น บคุ ลากร ชุมชน สถานศกึ ษา และหน่วยงานตา่ ง ๆ ไดม้ าศกึ ษาหาความร้ไู ด้ทกุ ทภ่ี ายในสถานศึกษา ซ่ึง เปน็ ไปตามเอกลักษณ์ของโรงเรียนคอื “อุทยานการเรียนรู้” A : Active Learning หมายถงึ การเรยี นรู้แบบลงมอื ทาจริง เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเสริมสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียนเข้ากับทุกรายวชิ าท่ีจัดการ เรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนได้มีบทบาทในการแสวงหาความรู้จากอุทยาการเรียนรู้ และเรียนรู้อย่างมี ปฏิสัมพันธ์ จนเกิดความรู้ความเข้าใจนาไปประยุกต์ใช้ได้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ สามารถพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ และยังช่วยในการปลูกฝังให้นกั เรียนมีอตั ลักษณ์ ตามสถานศึกษากาหนด M1 : Man หมายถงึ การบริหารบคุ ลากร ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา ซ่ึงถือว่าเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญท่ีสุด เพราะการพัฒนาหรือการ ดาเนินงานต่าง ๆ ต้องอาศัยความร่วมมือจากครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ทั้งในด้านนความคิด การ วางแผน การดาเนินการ โดยมีการจัดหน้าที่ปฏิบัติงานของครูและบุคลากรให้เหมาะสมกับงานตรงตาม ความสามารถของแต่ละบุคคล พร้อมทั้งยังได้รับความร่วมมือท่ีดีจากภาคีเครือข่ายผู้ปกครองและชุมชนใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น จากคณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ จนทาให้เกิดการผลการพัฒนาองค์กรอย่างมี ประสิทธิภาพสงู สุด M2 : Money หมายถงึ การบรหิ ารงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณมีการวางแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ จัดทามาตรฐาน ภาระงานงบประมาณ มีการช้แี จงให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทราบ การมอบหมายงานให้รับผิดชอบโดย คานึงถงึ ความรคู้ วามสามารถและความต้องการของสถานศกึ ษา ใช้งบประมาณตรงตามกรอบและวตั ถปุ ระสงค์ ถูกต้องตามระเบียบ มีระบบควบคุม ตรวจสอบภายใน รายงานการใช้งบประมาณเป็นปัจจุบัน และมีการ ประเมนิ ผลและนาผลไปปรับปรุง และในการจดั ตง้ั คาของบประมาณของแต่ละปี สถานศกึ ษาไดร้ ับการจัดสรร งบประมาณในทกุ ด้านอย่างเพยี งพอ สามารถวางแผนบริหารงบประมาณไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ M3 : Materials หมายถงึ การบรหิ ารทรัพยากร มีการบริหารทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยมีการวางแผนการทรัพยาการที่เป็นวัสดุ อุปกรณ์ตามความ จาเปน็ และความเหมาะสม สถานศึกษาไดจ้ ัดสรรทรพั ยากรในทุกๆด้านอยา่ งเพยี งพอ ลดจานวนทใ่ี ชเ้ กนิ ความ ความจาเป็นออกให้มากทสี่ ุด เพ่อื ท่จี ะมาช่วยในการพฒั นาองค์กรหรอื สถานศกึ ษาใหม้ ีความก้าวหน้าในทุกด้าน M4 : Management หมายถงึ กระบวนการจดั การ เป็นกระบวนการจัดการบริหารงานในสถานศึกษา เพื่อให้การดาเนินงานท้ังหมดเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และเกิดประสทิ ธิผลอยา่ งเตม็ ที่ โดยมีระบบการนเิ ทศ กากบั ติดตามทเ่ี ปน็ ระบบอย่างตอ่ เนอ่ื ง ซึง่ เป็นปจั จัยทส่ี าคญั ชว่ ยใหส้ ถานศึกษาพฒั นาไปในทิศทางที่ต้องการ ท้ังนโ้ี ดยที่ผ้ปู กครอง ชุมชน และหน่วยงาน ท่เี กีย่ วขอ้ ง มบี ทบาทสาคญั เปน็ อย่างยง่ิ ต่อการดาเนนิ งานเพ่อื บรรลุผลตามเปา้ หมาย ส่วนท่ี ๒ Plus (+) ได้แก่ กระบวนการขับเคลื่อนการสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียน 3School Model ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ในการสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียนมีสุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา ของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากการดาเนินงานทั้ง 4 องค์ประกอบ (TEAM) แล้ว กระบวนการ ดาเนินงานเป็นปัจจัยสาคัญที่นาไปสู่การประสบความสาเร็จในการสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียน ซ่ึงในการ ดาเนนิ งานใช้กระบวนการขบั เคล่ือน 3School Model ซ่งึ ประกอบด้วยรายละเอยี ด ดงั นี้
โรงเรียนเพชร โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านการคัดเลือกให้เป็น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ได้มีการพัฒนาสถานศึกษาท่ีเอื้อต่อผู้เรียนในด้านสุขภาวะท่ีดี สร้างให้ ผู้เรยี นเปน็ คนที่มีสุขภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตวั ชว้ี ัด โรงเรียนจิตอาสา 2 ประการ ประกอบด้วย กิจกรรมภายในสถานศึกษา และกิจกรรมภายนอก สถานศึกษา ดังนี้ ๑) กิจกรรมภายในสถานศึกษา ประกอบด้วยกิจกรรมท่ีจัดข้ึนภายในสถานศึกษา ซึ่งได้ กาหนดไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี โดยมีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริมและ เสริมสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียนมีสุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาวนั เสาร์, กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน, กิจกรรมวันสาคัญ, กิจกรรมพัฒนาหอนอน, กิจกรรมจิตอาสา, กิจกรรมห้องเรียนสีขาว, กิจกรรมทาดีดว้ ยหวั ใจ ฯลฯ 2) กิจกรรมภายนอกสถานศึกษา เป็นกิจกรรมที่โรงเรียนและชุมชนร่วมกันปฏิบัติเพ่ือ เสริมสร้างอตั ลกั ษณ์ให้ผเู้ รียน ไดแ้ ก่ จิตอาสาพฒั นาชุมชน, ดนตรี นาฏศิลปเ์ พ่อื ชุมชน, กจิ กรรมสมั พนั ธ์ชุมชน ฯลฯ โรงเรียนคุณธรรม 3 ประการ ประกอบด้วย ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ด้านการศึกษา การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น และโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพ ติดและอบายมุข 1) ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ด้านการศึกษา เนื่องจากการ ขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศกึ ษานนั้ นกั เรียน ผู้บริหาร ครูและบุคลากรของโรงเรียน ต้องปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(2 : 3 : 4 : 3) คือ 2 เงื่อนไข : ความรู้ คุณธรรม, 3 หลักการ : พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน, 4 มิติ : วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม วัฒนธรรม, 3 ศาสตร์ : สากล ภมู ปิ ญั ญา พระราชา ปัจจุบนั โรงเรียนเป็นศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา 2) สถานศึกษาสีขาว โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีการพัฒนา สถานศึกษาตามเกณฑ์สถานศึกษาสีขาว 5 มาตรฐาน 17 ตัวชี้วัด จนได้รับรางวัลรางวัลเชิดชูเกียรติ เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น ระดับทอง ของการประเมินสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปี การศึกษา ๒๕60 3) ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้ ดาเนินการช่วยเหลือและพัฒนานักเรียน โดยใช้ WBM : Web Base Management ช่วยในการดาเนินงาน ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนเพ่ือความรวดเร็วในการกากบั ติดตาม ตรวจสอบ โดยดาเนินกิจกรรมทักษะ การดารงชีวิตให้แก่ผู้เรียน เป็นการฝึกให้นักเรียนปฏิบัติตนในสุขลักษณะท่ีดี มีภาวะความเป็นผู้นาผู้ตามท่ีดี ดาเนินตามหลักโภชนาการที่ดี รักในการออกกาลังกายดูแลตนเองให้มีสุขภาพกายดีสุขภาพจิตสดใส เข้าถึง อาชีพในชุมชนท้องถ่ินไม่ลืมชาติกาเนิดของตน พัฒนาตนเองในเรื่องกีฬา ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ทาให้ นักเรียนเกดิ การผ่อนคลายในการดารงชีวิตในสงั คม กิจกรรมพ่อครแู ม่ครู คูค่ ิด ค่ใู จ ทุกวันจันทรถ์ งึ วันศุกร์ ลูก นกั เรยี นจะพบปะพูดคุยแลกเปล่ยี นความคิดกบั พ่อครูแม่ครทู ่ีปรกึ ษา อยา่ งใกลช้ ดิ จนไดร้ บั โลร่ างวัลระบบการ ดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์) ระดบั ดีเด่น และ เกียรตบิ ัตรรางวัลระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรยี นการศึกษา สงเคราะห)์ ระดับทอง
ข้ันท่ี ๓ การนิเทศ กากบั ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงาน( Check ) การร่วมกันกาหนด ตัวช้ีวัดความสาเร็จ (KPI:Key Performance Indicator )โดยกาหนดต้ังแต่ ระดบั บคุ คลและโรงเรียน จนเปน็ ตวั บ่งช้เี ดยี วกันทงั้ ระดับบุคคลและโรงเรยี น จดั ระบบการนิเทศกากับติดตาม แบบกัลยาณมติ รพรอ้ มท้งั สร้างขวญั กาลังใจให้กับบุคลากร และการประเมนิ ผลการดาเนินการสร้างอัตลักษณ์ ผูเ้ รียน โดยใช้ 3School Model โดยประเมนิ ผลผลิตและผลลพั ธ์ที่เกดิ จากการนานวัตกรรมไปใช้ ดังน้ี ดา้ นผลผลติ ประเมินผลการดาเนนิ งานจาก ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี - ผลการสร้างอัตลักษณผ์ ู้เรียน ตามเป้าหมายการดาเนนิ งานโรงเรยี นสง่ เสริม สุขภาพระดบั เพชร การมีจิตอาสาต่อส่วนรวมและสงั คม การดาเนนิ โครงการศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง การพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น การดาเนนิ โครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยา เสพตดิ และอบายมขุ - อตั ลักษณผ์ ู้เรียน พิจารณาจากผเู้ รียนมีสขุ ภาพดี มคี ณุ ธรรมเด่น เปน็ จิตอาสา - ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ การสร้างอัตลักษณผ์ ู้เรียน โดยใช้ 3School Model ดา้ นผลลัพธ์ ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานจากประเด็น ดังน้ี - ผลของการการดาเนนิ งานโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพระดบั เพชร - ผลของกจิ กรรมจิตอาสาต่อส่วนรวมและสังคม - ผลของการดาเนนิ โครงการศนู ย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน การดาเนินโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข - ผลงานหรอื รางวัลเกยี รตยิ ศที่ไดร้ บั ขั้นตอนวธิ ีดาเนินการประเมินผลการดาเนนิ งาน 1. การประเมนิ อตั ลกั ษณ์ของผูเ้ รยี น ดาเนนิ การดังน้ี ๑) ประเมินอัตลักษณ์ของผู้เรียนก่อนและหลังนานวัตกรรมไปใช้ โดยใช้แบบประเมินอัต ลักษณ์ของผู้เรียนท่ีผู้ศึกษาสร้างข้ึน เป็นแบบประเมินระดับคุณภาพของผู้เรียนตามพฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวก ของอัตลักษณ์เป้าหมายท่ีกาหนดร่วมกนั ไว้ในขั้นตอนของการวางแผน โดยแบบประเมินเป็นระดับคะแนน ๕ ระดับหาค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ โดยแปลความหมายตาม เกณฑ์ ดงั น้ี คา่ เฉล่ีย ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ มีคณุ ภาพระดบั ดมี าก ค่าเฉล่ยี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ มีคณุ ภาพระดับดี ค่าเฉล่ยี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ มีคุณภาพระดับปานกลาง คา่ เฉลีย่ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง มีคุณภาพระดับพอใช้ ค่าเฉล่ยี ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มีคณุ ภาพระดบั ปรบั ปรุง ๒) เปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ของผลการประเมนิ คุณธรรมจริยธรรมของนกั เรยี นก่อนและหลัง ใชน้ วตั กรรม 3School Model 2. การศกึ ษาความพึงพอใจของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ที่มตี ่อการสรา้ งอัตลกั ษณผ์ ู้เรยี น โดยใช้ 3School Model ดาเนินการ ดังน้ี นาแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียน โดยใช้ 3School Model ไปเก็บรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่าง นาผลมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับความพึงพอใจ โดยแปลความหมายตามเกณฑ์ ดังน้ี (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๔๕ : ๑๐๓)
ค่าเฉล่ยี ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั มากทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดับมาก ค่าเฉลีย่ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง คา่ เฉล่ีย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ มีความพึงพอใจระดบั นอ้ ย ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดบั นอ้ ยที่สดุ ข้ันท่ี ๔ การรายงานผลการดาเนนิ งาน( Action ) - รายงานผลการดาเนินการพร้อมทง้ั เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงพฒั นาโดยจดั ทาเป็นราย ผลการดาเนนิ การโครงการกิจกรรม รายงานสารสนเทศของโรงเรยี น และรายงานผลการใชน้ วตั กรรม - การทบทวนคุณภาพ โดยนาผลการพัฒนา ปัญหาและข้อเสนอแนะมาใช้เป็นข้อมูล สารสนเทศในการวางแผนพัฒนาในการดาเนินการครัง้ ต่อไปอย่างเปน็ ระบบ สรุป สาระสาคัญของ 3School Model เป็นนวัตกรรมการสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียนให้มี “สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา” ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนานวัตกรรม 3School Model มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการดาเนินงานให้ สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้เทคนิค กระบวนการวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง PDCA ในกระบวนการดาเนินงาน ซึ่งมีรูปแบบการบริหารจัดการหลัก ของสถานศึกษา คอื TEAM+ Model เป็นปจั จยั ที่ส่งผลต่อการดาเนินงาน โดยใช้นวตั กรรม 3School Model ในการสร้างอัตลักษณ์ให้ผู้เรียน ซึ่งนวัตกรรม 3School Model ต้องอาศัยกลไกลสาคัญ (+ : Plus) กระบวนการขับเคลื่อนอัตลักษณ์ผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วย โรงเรียนทั้ง 3 โรงเรียน 1.โรงเรียนเพชร เป็นการ ดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวชี้วัด 2.โรงเรียนจิตอาสา เป็นการ ดาเนินงานกิจกรรมอาสาของผู้เรียนท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา และ3.โรงเรียนคุณธรรม เป็นการ ดาเนนิ โครงการศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน และการดาเนนิ โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ซ่ึงรูปแบบการบริหารจัดการหลักของ สถานศกึ ษา TEAM+ Model + นวตั กรรมการสร้างอตั ลักษณ์ผูเ้ รียน โดยใช้ 3School Model คือ นวัตกรรมที่ ถกู นาไปใชเ้ พอ่ื สรา้ งอัตลักษณผ์ ู้เรียน ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ตามแนวทางการ ดาเนนิ งานโรงเรยี นเพชร โรงเรยี นจิตอาสา และโรงเรยี นคุณธรรม ตัวชวี้ ัดท่ี ๔ การมีส่วนร่วมในการพัฒนานวตั กรรม จากขนั้ ตอนของการสรา้ งนวัตกรรมพบวา่ 3School Model เกดิ จากผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งทง้ั ในและนอก หน่วยงานมสี ่วนรว่ มในการวางแผน การดาเนนิ การ การประเมินและการสรปุ ผล ดงั น้ี ข้ันตอนการวางแผน ผบู้ ริหาร ครู นกั เรียน ร่วมกันวเิ คราะห์สภาพสภาพปจั จุบัน สารวจพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์และ พฤติกรรมที่เปน็ ปญั หาที่เกดิ ขึน้ ในโรงเรยี น เรียงลาดบั ความสาคญั และความตอ้ งการจาเปน็ ในการแกป้ ัญหา ร่วมกนั กาหนดเป้าหมาย กาหนดยุทธศาสตรใ์ นการสร้างอตั ลักษณผ์ ู้เรยี น กาหนดแผนการสร้างอัตลักษณ์ ผเู้ รียน โดยนาเสนอผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและภาคเี ครอื ข่ายผปู้ กครองก่อน ดาเนินการ ข้ันการดาเนินการ ในกระบวนการดาเนินการใช้หลักการมสี ่วนร่วม ดังนนั้ ทุกข้นั ตอน ทุกกิจกรรมท่ีจัดจึงมีผทู้ ่ีเกี่ยวข้องทง้ั ผู้บรหิ าร ครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง ชุมชนและหนว่ ยงานราชการตา่ ง ๆ ที่มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งในการดาเนนิ การสร้างอตั ลักษณ์ผเู้ รยี น
บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตอนที่ ๑ ผลการดาเนินงานดา้ นผลผลิต ๑.๑ ผลการดาเนินงานตามเป้าหมายของการดาเนนิ งาน จากการรวบรวมข้อมลู จากการสังเกต สมั ภาษณผ์ ู้เกีย่ วข้องและรวบรวมข้อมลู จากรายงานผล การดาเนินงานท่ีเกี่ยวข้อง สังเคราะห์เป็นผลการดาเนินงานการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียน ตามแนวทางการ ดาเนินงานโรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรม พบว่าโรงเรียนสามารถดาเนินงานบรรลุ เปา้ หมายตามตวั บง่ ชที้ ไี่ ดก้ าหนดไว้ในแผนงานสร้างอตั ลกั ษณ์ผเู้ รียน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ดงั นี้ ๑) มีการขบั เคล่ือนโรงเรยี นทัง้ 3 ได้แก่ โรงเรยี นเพชร โรงเรียนจิตอาสา และ โรงเรียนคณุ ธรรม ในการสร้างอตั ลักษณ์ใหผ้ ู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ ๒) มีพฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ในโรงเรียนลดลง ๓) มพี ฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์ในโรงเรียนเพิ่มขน้ึ ๔) มีกลไก ความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ๕) มีภาคเี ครือข่าย สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ให้เกิดอตั ลักษณ์กบั ผเู้ รยี น ๑.๒ ผลการประเมนิ อตั ลกั ษณข์ องผ้เู รียน จากการประเมนิ อัตลักษณ์ของผู้เรยี นตามอตั ลกั ษณเ์ ปา้ หมายและพฤติกรรมบ่งชเ้ี ชงิ บวก โดย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประเมินนักเรียนมีผลการประเมินก่อนและหลังดาเนินการใช้นวัตกรรม 3School Model ดงั น้ี ต า ร า ง ท่ี ๔ เปรียบเทียบผลก าร ปร ะ เมิน อั ต ลัก ษ ณ์ขอ ง ผู้ เรียน ก่ อ น และ ห ลัง ใ ช้น วั ต ก ร ร ม 3School Model อตั ลกั ษณ์เปา้ หมาย/ กอ่ นใชน้ วัตกรรม หลงั ใช้นวตั กรรม พฤตกิ รรมบง่ ชี้ 3School Model 3School Model ๑.การมีสุขภาพดี X S.D แปรผล X S.D แปรผล ๑.๑ ผเู้ รียนมสี ุขนิสยั ในการดูแลสขุ ภาพ 2.88 0.80 ปานกลาง 4.62 0.57 ดีมาก และออกกาลังกาย สม่าเสมอ ๑.๒ มีน้าหนกั สว่ นสูง และมสี มรรถภาพ 2.70 0.79 ปานกลาง 4.38 0.81 ดี ทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑.๓ ปอ้ งกนั ตนเองจากสง่ิ เสพตดิ ใหโ้ ทษ 2.78 0.61 ปานกลาง 4.44 0.71 ดี และหลีกเล่ยี งตนเองจากสภาวะที่เส่ียงต่อ ความรนุ แรงโรค ภัย อุบตั เิ หตแุ ละปญั หา ทางเพศ ๑.๔ ผูเ้ รยี นไดร้ ับการดูแลตามมาตรฐาน 3.19 0.54 ปานกลาง 4.56 0.75 ดมี าก การดูแลนักเรียนประจา ๑.๕ ผ้เู รียนได้รบั การดแู ลตามมาตรฐาน 3.23 0.49 ปานกลาง 4.60 0.52 ดีมาก งานโภชนาการ รวมเฉลี่ย 2.96 0.65 4.52 0.67 ดีมาก 2.90 0.84 ปานกลาง 4.40 0.78 ดี
อัตลักษณเ์ ป้าหมาย/ กอ่ นใช้นวตั กรรม หลังใชน้ วตั กรรม พฤตกิ รรมบ่งชี้ 3School Model 3School Model ๒. การมคี ุณธรรม X S.D แปรผล X S.D แปรผล ๒.๑ มวี ินัยตอ่ ตนเอง ๒.๒ มคี วามซ่ือสัตยต์ ่อตนเองแล้วผู้อน่ื 3.14 0.77 ปานกลาง 4.47 0.65 ดี 2.๓ มคี วามสามัคคี 2.97 0.71 ปานกลาง 4.52 0.63 ดมี าก 2.๔ มีความขยนั และอดทน 2.66 0.65 ปานกลาง 4.37 0.79 ดี 2.5 มคี วามกตัญญูตอ่ ผู้มพี ระคณุ 2.93 0.25 ปานกลาง 4.60 0.59 ดีมาก 2.6 เป็นผมู้ ีความมธั ยสั ถ์ อดออม 3.05 0.60 ปานกลาง 4.36 0.69 ดี 2.7 ฟังความคิดเหน็ ของบคุ คลอื่นอย่าง 3.16 0.58 ปานกลาง 4.38 0.79 ดี เข้าใจ รวมเฉลี่ย 2.97 0.63 4.44 0.70 ดี ๓. มจี ิตอาสา ๓.๑ เสยี สละประโยชน์ส่วนตนเพ่อื 2.95 0.40 ปานกลาง 4.38 0.78 ดี ประโยชนส์ ว่ นรวม ๓.๒ รว่ มกิจกรรมต่าง ๆของโรงเรยี นด้วย 3.01 0.66 ปานกลาง 4.41 0.68 ดี ความเต็มใจ ๓.๓ รว่ มกิจกรรมจติ อาสาท้ังภายในและ 2.93 0.65 ปานกลาง 4.67 0.47 ดีมาก ภายนอกสถานศึกษา ๓.๔ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั ดว้ ย 2.81 0.66 ปานกลาง 4.84 0.37 ดีมาก ความเตม็ ใจ รวมเฉลย่ี 2.92 0.59 ปานกลาง 4.58 0.58 ดมี าก ภาพรวม เฉลี่ยทั้ง ๓ ด้าน 2.96 0.62 ปานกลาง 4.50 0.66 ดีมาก จากตารางที่ ๔ พบว่าโดยภาพรวมผลการประเมินอัตลักษณ์รวมเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ( X =4.50,S.D. = 0.66) สูงกว่าผลการประเมินอัตลักษณ์ก่อนใช้นวัตกรรมท่ีมีผลการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.96,S.D. = 0.62) เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่าหลังใช้นวัตกรรมผู้เรียนมีอัตลักษณ์เรียงลาดับจากระดับ มากไปน้อยได้ดังนี้ คือ ด้านมีจิตอาสา ( X =4.58,S.D. = ๐.๖6) ด้านการมีสุขภาพดี ( X = 4.52,S.D. = 0.67) และด้านการมคี ุณธรรม( X = ๔.44,S.D. = ๐.70)
๑.๓ ความพงึ พอใจที่มีต่อการสรา้ งอัตลักษณ์ผเู้ รียน โดยใช้ 3School Model ตารางที่ ๕ ความพงึ พอใจของผ้มู ีส่วนเก่ียวขอ้ งทมี่ ีตอ่ การสรา้ งอัตลกั ษณ์ผู้เรียน โดยใช้ 3School Model ของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ประเดน็ การประเมนิ ผู้บริหารและครู คณะกรรมการ ผปู้ กครอง ความพงึ พอใจการใชน้ วัตกรรม สถานศึกษา ตามตัวบง่ ช้ี X S.D แปรผล X S.D แปรผล X S.D แปรผล 1. นวัตกรรมนี้มีความสอดคล้องกับ 4.63 0.51 มากท่สี ดุ 4.70 0.48 มากทส่ี ดุ 4.77 0.47 มากทส่ี ดุ สภาพปัญหาและความจาเป็นของ สถานศกึ ษา 2. นวัตกรรมนี้มกี ารพฒั นาโดยอาศยั 4.71 0.46 มากท่ีสดุ 4.60 0.52 มากทสี่ ดุ 4.59 3.19 มากท่สี ดุ แนวคดิ และหลกั การรองรับอยา่ ง สมเหตุสมผล 3. มีการกาหนดเปา้ หมายของการ 4.81 0.40 มากทสี่ ดุ 4.80 0.42 มากทสี่ ุด 4.66 0.56 มากที่สดุ พัฒนานวัตกรรมทชี่ ดั เจน 4. การออกแบบกจิ กรรมทุกกิจกรรมมี 4.82 0.39 มากที่สดุ 4.30 0.67 มาก 4.57 0.55 มากทส่ี ดุ ความสอดคลอ้ งกนั 5. มกี ารดาเนินงานตามกิจกรรมครบ 4.60 0.52 มากทีส่ ุด 4.50 0.71 มากที่สดุ 4.26 0.63 มาก ทกุ ข้ันตอน 6. มีการส่งเสรมิ ด้านการมสี ว่ นรว่ มใน 4.73 0.45 มากทีส่ ดุ 4.20 0.79 มาก 4.70 0.46 มากที่สุด การวางแผนทั้งภายในและภายนอก 7. มกี ารกากบั ติดตามการทางานอยา่ ง 4.70 0.46 มากทส่ี ดุ 4.40 0.70 มาก 4.77 0.42 มากที่สดุ เปน็ ระบบ และต่อเน่อื ง 8. นวัตกรรมสามารถพฒั นากล่มุ เป้าหมาย 4.64 0.51 มากทส่ี ุด 4.80 0.42 มากท่ีสุด 4.81 0.40 มากทส่ี ดุ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์และครบถว้ น 9. มกี ารบริหารจัดการทรพั ยากรตาม 4.68 0.50 มากทสี่ ุด 4.60 0.52 มากที่สดุ 4.57 0.57 มากท่สี ดุ กจิ กรรมท่ีวางไว้อย่างคุ้มค่าเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของ สถานศึกษา 10. กระบวนการในการพัฒนานวัตกรรม 4.41 0.68 มาก 4.30 0.67 มาก 4.61 0.53 มากทส่ี ดุ กระตุ้นใหบ้ ุคลากรในสถานศกึ ษาได้ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ร่วมกัน 11. มกี ารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4.67 0.47 มากที่สุด 4.30 0.48 มาก 4.69 0.46 มากท่ีสดุ นวัตกรรมทง้ั ภายในและภายนอก และสามารถเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีได้ 12.ความพงึ พอใจต่อนวัตกรรมในภาพรวม 4.84 0.37 มากท่ีสุด 4.80 0.42 มากที่สุด 4.82 0.39 มากที่สุด รวมเฉล่ยี 4.69 0.48 มากท่ีสดุ 4.53 0.57 มากที่สดุ 4.65 0.72 มากทีส่ ดุ จากตารางที่ ๕ พบว่า เม่ือพิจารณาจากรายด้านทุกด้านมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดย เรยี งลาดับค่าเฉล่ยี ระดบั ความพงึ พอใจมากที่สุด คอื ความพึงพอใจของผบู้ ริหารและครู ( X = ๔.69, S.D. = ๐. 48) รองลงมา คือ ความพึงพอใจของผู้ปกครอง ( X = ๔.65, S.D. = ๐.72) และความพึงพอใจ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ( X = 4.53, S.D. = ๐.57) ตอนท่ี ๒ ผลการดาเนนิ งานด้านผลลพั ธ์ ด้านผลลัพธ์ ท่ีเกิดจากการนานวัตกรรมไปใช้อาจไม่ใช่ผลท่ีเกิดจากการใช้นวัตกรรมโดยตรงแต่ เมือ่ สน้ิ ปกี ารศกึ ษาหลงั จากดาเนินงานการสรา้ งอัตลกั ษณ์ผ้เู รยี น โดยใช้ 3School Model แลว้ พบว่าส่งผลต่อ คณุ ภาพของผเู้ รยี นในด้านอนื่ ๆ ในระยะยาว ดังน้ี
๒.๑ ผลสมั ฤทธิ์การดาเนนิ งาน ๒.1.1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านการคัดเลือกให้เป็น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ได้มีการพัฒนาสถานศึกษาที่เอ้ือต่อผู้เรียนในด้านสุขภาวะท่ีดี สร้างให้ ผเู้ รียนเปน็ คนท่มี สี ขุ ภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวชว้ี ดั ซึ่ง ครอบคลมุ อตั ลกั ษณ์เปา้ หมายด้านสขุ ภาพดี ประกอบด้วย ๑) ผเู้ รียนมสี ขุ นิสยั ในการดแู ลสุขภาพและออกกาลังกาย สมา่ เสมอ ๒) มีนา้ หนกั สว่ นสงู และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน ๓) ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเล่ียงตนเองจากสภาวะท่ีเส่ียงต่อ ความรุนแรงโรค ภยั อุบัติเหตแุ ละปัญหาทางเพศ ๔) ผู้เรียนได้รับการดแู ลตามมาตรฐานการดแู ลนักเรยี นประจา ๕) ผเู้ รยี นไดร้ บั การดแู ลตามมาตรฐานงานโภชนาการ จากผลการดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมี สขุ ภาพอย่ใู นระดบั ดี และผลความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก 2.1.2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ได้ดาเนินการโรงเรยี นจติ อาสา จัดกิจกรรมจิตอาสาภายในสถานศึกษา และกิจกรรมภายนอกสถานศึกษา ทาให้ผู้เรียนมีความสุขพร้อมท้ัง สร้างนิสัยให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกและมีจิตอาสา จนเป็นท่ียอมรับจากคุณครู ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม ซ่ึง การดาเนินงานโรงเรยี นจติ อาสา สามารถครอบคลมุ อัตลักษณ์เป้าหมายด้านจติ อาสา ประกอบด้วย ๑) เสียสละประโยชนส์ ่วนตนเพื่อประโยชนส์ ว่ นรวม ๒) ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆของโรงเรียนด้วยความเตม็ ใจ ๓) ร่วมกจิ กรรมจติ อาสาทัง้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ๔) ใหค้ วามช่วยเหลือซง่ึ กนั และกนั ด้วยความเตม็ ใจ จากผลการดาเนินงานโรงเรียนจิตอาสาท่ีมีการจัดกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษาให้แกผู้เรยี นน้ัน ส่งผลใหผ้ ู้เรียนมีจิตอาสาอยใู่ นระดับดี และผลความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก 2.1.3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ผ่านการประเมินเป็น “ศนู ย์ การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2560 จาก กระทรวงศกึ ษาธิการ 2.1.4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีการพัฒนาสถานศึกษาตาม เกณฑ์สถานศึกษาสีขาว 5 มาตรฐาน 17 ตัวช้ีวัด จนได้รับรางวัลรางวัลเชิดชูเกียรติ เสมา ป.ป.ส. ประเภท ผลงานดีเด่น ระดบั ทอง ของการประเมนิ สถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปกี ารศกึ ษา ๒๕60 2.1.5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับโล่รางวัลระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์) ระดับดีเด่น และ เกียรติบตั รรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรยี นการศึกษา สงเคราะห)์ ระดับทอง จากผลการดาเนนิ งานในหวั ข้อ 2.1.3 – 2.1.5 เปน็ การดาเนนิ งานในโรงเรียนคุณธรรมที่ ประกอบด้วย 1.ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา 2.สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 3.ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดีเด่น ซ่ึงการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สามารถครอบคลุมอตั ลกั ษณเ์ ป้าหมายด้านคุณธรรมเด่น ประกอบดว้ ย
๑) มวี ินยั ต่อตนเอง ๒) มีความซื่อสตั ย์ต่อตนเองแลว้ ผู้อื่น ๓) มีความสามัคคี ๔) มคี วามขยันและอดทน 5) มีความกตัญญตู อ่ ผูม้ พี ระคณุ 6) เปน็ ผมู้ ีความมธั ยสั ถ์ อดออม 7) ฟงั ความคดิ เหน็ ของบคุ คลอ่นื อยา่ งเขา้ ใจ จากผลการดาเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม ท่ีมีการดาเนินงานตามศูนย์การเรียนรู้ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศกึ ษา สถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ และระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนดเี ด่นนน้ั ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรมอยู่ในระดับดี และผลความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก ๒.๒ รางวลั เกยี รติยศทีไ่ ด้รบั จากการสร้างอตั ลกั ษณผ์ ู้เรยี น โดยใช้ 3School Model สง่ ผลให้ได้รับรางวลั ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับ ด้านสขุ ภาพ ด้านคณุ ธรรม และด้านจอิ าสาในระดับประเทศ ระดับเขตพืน้ ท่ีและระดบั จงั หวัด ดังน้ี 1. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ผ่านการคดั เลอื กให้เป็นโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพระดบั เพชร ไดม้ ีการพฒั นาสถานศกึ ษาทีเ่ อือ้ ตอ่ ผู้เรียนในดา้ นสุขภาวะทีด่ ี สรา้ งให้ผ้เู รยี นเป็น คนทม่ี ีสขุ ภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวช้วี ดั 2. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ผ่านการประเมินเป็น “ศูนยก์ ารเรียนรู้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ปีการศกึ ษา 2560 จากกระทรวงศึกษาธกิ าร 3. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ได้รบั รางวลั MOE AWARDS ปี การศึกษา 2559 ผลงานระดับดีเดน่ ประเภทสถานศกึ ษา สาขาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จาก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ มผี ลการปฏบิ ัตงิ านที่ดแี ละเปน็ เลิศ (Best Practie : BP) ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ดา้ นการนอ้ มนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่สถานศกึ ษา “สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2559”ตามประกาศของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 6 ศนู ย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนธิ ยิ วุ สถริ คุณ 5. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ไดร้ บั โลแ่ ละเกียรตบิ ัตรรางวลั เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดเี ด่น ระดบั เงิน โครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา ๒๕๕๙ จากกระทรวงศึกษาธิการ 6. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ได้รับโลร่ างวัลระบบการดแู ล ช่วยเหลอื นักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศกึ ษา (โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์) ระดบั ดเี ด่น และ เกยี รตบิ ตั รรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศกึ ษา สงเคราะห์) ระดบั ทอง ตวั ช้ีวัดท่ี ๖ ประโยชน์ของนวัตกรรมในการแก้ปญั หาหรือพฒั นาคุณภาพของกลุ่มเปา้ หมาย 3School Model เปน็ รปู แบบนวตั กรรมทีอ่ อกแบบมาให้สอดคลอ้ งกบั สภาพบริบท ของสถานศกึ ษาท่ผี ่านกระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการและสภาพบริบทของสถานศึกษาจากผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องท้ัง ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีความ
เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและสภาพบริบท ทาให้สามารถนาไปใช้ในการสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียนกับ กลุ่มเป้าหมายอย่างครบถ้วนตรงตามจุดประสงค์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นท้ังด้านผู้บริหาร ครูผู้สอน ด้านนักเรียนและด้านสภาพแวดล้อม มีกระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนท้ัง 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรมที่เป็นระบบ มีพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในโรงเรียน ลดลง มพี ฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ในโรงเรียนเพม่ิ ข้นึ เกิดกลไก ความร่วมมอื จากทุกฝ่ายที่มีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง มภี าคี เครือข่าย สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา และยังส่งผล ได้รับรางวัลจาก หน่วยงานท้ังระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่และระดับประเทศ นอกจากน้ียังพบว่านวัตกรรมดังกล่าวสามารถ เป็นแนวทางสาหรับการสร้างอัตลักษณ์ให้กบั ผู้เรียน และเป็นแนวทางในการดาเนินงานตามโครงการโรงเรยี น สง่ เสริมสุขภาพระดบั เพชร โรงเรียนคุณธรรม และโรงเรยี นจติ อาสาใหแ้ ก่โรงเรียนต่าง ๆ ซง่ึ จะเหน็ ได้จากการที่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา โดยได้เผยแพร่ ขยายผลและ เป็นแหล่งศึกษาดูงานใหก้ ับหน่วยงาน และสถานศึกษาต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเป็นคุณประโยชนท์ ่ีเกิดจากการนา นวัตกรรม 3School Model มาใช้ในการสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียน ในโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัด เชยี งใหม่ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ัดที่ ๗ การใชท้ รพั ยากรในการพัฒนานวตั กรรม ในการพฒั นานวตั กรรม 3School Model เป็นการประยุกตใ์ ช้ทรัพยากรทมี่ อี ยู่ พจิ ารณาตาม หลักบรกิ ารจดั การสถานศึกษา TEAM+ Model ดังน้ี 7.1 T : Trainer หมายถึง หัวหน้ากลุ่มงาน มีการกระจายอานาจการบริหารงานใน สถานศึกษา โดยการนาครูและบุคลากรที่มีความรู้ ประสบการณ์ขึ้นมาเป็นหัวหน้าคณะทางาน โดยมีการ วางแผนร่วมกันอย่างเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การปฏิบัติที่มีเป้าหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลมากท่สี ุด ทง้ั ด้านผเู้ รียน สถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรของโรงเรียน 7.2 E : Environment หมายถึง แหลง่ เรียนรู/้ สิ่งแวดลอ้ ม เป็นการพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ใน สถานศึกษา เพื่อให้เปน็ อทุ ยานการเรยี นรแู้ ละทาใหเ้ กดิ ส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนร้วู ิถพี อเพยี ง และใชแ้ หล่ง เรยี นรู้ สง่ิ แวดล้อมในสถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนเกดิ นิสยั ท่ีเป็นคนทม่ี ีสุขภาพดี เปน็ คนทีม่ ีคุณธรรมเดน่ และเปน็ คนที่มีจิตอาสา พร้อมท้ังยังสามารถใช้สถานศึกษาเป็นท่ีสาหรับผู้เรียน บุคลากร ชุมชน สถานศึกษา และ หน่วยงานต่าง ๆ ได้มาศึกษาหาความรู้ได้ทุกท่ีภายในสถานศึกษา ซึ่งเป็นไปตามเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือ “อุทยานการเรียนรู้” 7.3 A : Active Learning หมายถึง การเรียนรู้แบบลงมือทาจริง เป็นการจัดการเรียน การสอนแบบบรู ณาการเสริมสรา้ งอัตลักษณ์ให้ผู้เรียนเข้ากับทุกรายวิชาที่จดั การเรยี นการสอน ทาให้ผ้เู รียนได้ มีบทบาทในการแสวงหาความรู้จากอุทยาการเรียนรู้ และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ จนเกิดความรู้ความเข้าใจ นาไปประยุกต์ใช้ได้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ สามารถพัฒนาตนเอง เตม็ ความสามารถ และยังช่วยในการปลกู ฝังให้นกั เรยี นมีอัตลกั ษณ์ตามสถานศึกษากาหนด 7.4 M1 : Man หมายถงึ การบรหิ ารบุคลากร ครแู ละบคุ ลากรภายในสถานศึกษา ซ่งึ ถอื ว่า เป็นปัจจัยหลักท่ีสาคัญที่สุด เพราะการพัฒนาหรือการดาเนินงานต่าง ๆ ต้องอาศัยครูและบุคลากรทุกคนใน สถานศึกษา ทั้งในด้านนความคิด การวางแผน การดาเนินการ โดยมีการจัดหน้าท่ีปฏิบัติงานของครูและ บุคลากรให้เหมาะสมกับงานตรงตามความสามารถของแต่ละบุคคล พร้อมทั้งยังไดร้ ับความรว่ มมือที่ดีจากภาคี
เครือข่ายผู้ปกครองและชุมชนในรปู แบบต่าง ๆ เช่น จากคณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ จนทาใหเ้ กิดการผล การพัฒนาองค์กรอย่างมีประสิทธภิ าพสูงสดุ 7.5 M2: Money หมายถึง การบริหารงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณมีการ วางแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ จัดทามาตรฐานภาระงานงบประมาณ มีการชี้แจงให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาทราบ การมอบหมายงานให้รับผิดชอบโดยคานึงถึงความรู้ความสามารถและความ ต้องการของสถานศึกษา ใช้งบประมาณตรงตามกรอบและวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามระเบียบ มีระบบควบคมุ ตรวจสอบภายใน รายงานการใช้งบประมาณเป็นปัจจุบัน และมีการประเมินผลและนาผลไปปรับปรุง และใน การจัดตั้งคาของบประมาณของแต่ละปี สถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณในทุกด้านอย่างเพียงพอ สามารถวางแผนบรหิ ารงบประมาณได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 7.6 M3 : Materials หมายถึง การบริหารทรัพยากร มีการบริหารทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยมีการวางแผนการทรัพยาการท่ีเป็นวัสดุ อุปกรณ์ตามความจาเป็นและความเหมาะสม สถานศึกษาได้ จัดสรรทรัพยากรในทุกๆด้านอย่างเพียงพอ ลดจานวนท่ีใช้เกินความความจาเป็นออกให้มากที่สุด เพ่ือที่จะมา ช่วยในการพัฒนาองค์กรหรือสถานศึกษาให้มคี วามกา้ วหนา้ ในทุกดา้ น 7.7 M4 : Management หมายถึง กระบวนการจัดการ เป็นกระบวนการจัดการ บริหารงานในสถานศึกษา เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานทัง้ หมดเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประสิทธิผลอย่าง เต็มที่ โดยมีระบบการนิเทศ กากับติดตามท่ีเป็นระบบอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นปัจจัยที่สาคัญช่วยให้สถานศึกษา พฒั นาไปในทิศทางทตี่ ้องการ ทง้ั นโี้ ดยทผี่ ้ปู กครอง ชุมชน และหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง มีบทบาทสาคญั เปน็ อย่าง ยิ่งตอ่ การดาเนินงานเพือ่ บรรลุผลตามเปา้ หมาย ในการใช้ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรมน้ันมีการประยุกต์ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างเหมาะสม คุ้มค้า สอดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา ใชห้ ลักการบรู ณาการเพ่อื การใช้ทรพั ยากรอย่างคุ้มค่า เช่น การบูร ณาการดาเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การสร้างอัตลกั ษณข์ องผู้เรียน เป็นตน้ ตัวชวี้ ัดที่ ๘ การเรียนรูร้ ว่ มกันในการพฒั นานวัตกรรม กระบวนการพฒั นานวตั กรรมก่อให้เกิดประสบการณ์ การเรียนรู้ร่วมกนั ท้ังหน่วยงาน เนื่องจาก การดาเนินงานพัฒนานวตั กรรมเป็นไปอย่างมรี ะบบตามวงจรคณุ ภาพของเดมมิง่ (PDCA) และในทกุ ๆ ขน้ั ตอน เกิดข้ึนจากความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชน ก่อให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันท้ังหน่วยงาน การสร้างอัต ลกั ษณ์ของผเู้ รียนในสถานศกึ ษาจะประสบความสาเร็จไดต้ อ้ งอาศัยความร่วมมอื ร่วมแรงร่วมใจจากทกุ ฝ่ายท่ีมี ส่วนเก่ยี วข้อง ผู้บรหิ าร คณะครูและนักเรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ทุกคน ร่วมกัน เรียนรู้การสรา้ ง การพัฒนาและปรับปรุงนวตั กรรม 3School Model อย่างตอ่ เนือ่ ง จนไดน้ วัตกรรมทสี่ มบูรณ์ และสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสบความสาเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ จึงถือเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ ร่วมกนั ท่เี กิดขนึ้ ในโรงเรยี นราช-ประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ตัวช้วี ัดที่ ๙ ลักษณะของนวัตกรรมท่นี าไปใช้ 3School Model เป็นรูปแบบการสร้างอัตลักษณ์ที่พัฒนาขึ้นใหม่ โดยอาศัยแนวคิดท่ัวไปที่ เก่ียวข้องกับปัจจัยในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพมาใช้ในการ สร้างอัตลักษณ์ผู้เรียนเพื่อให้เหมาะ สม สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและสอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามโรงเรียนเพชร โรงเรียนจิต
อาสา และโรงเรียนคณุ ธรรม สามารถนาไปใช้ไดง้ า่ ยและสะดวก ไม่ยุ่งยากซบั ซอ้ น สถานศึกษาตา่ ง ๆ สามารถ นาไปใช้เป็นแนวทางในการอัตลกั ษณผ์ เู้ รียนในสถานศึกษาได้ ตัวชว้ี ดั ท่ี ๑๐ การยอมรบั นวตั กรรม การสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียน โดยใช้ 3School Model ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้เผยแพร่และนาไปใช้ท้ังในและนอกหน่วยงาน เป็นท่ียอมรับจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง มากมาย เป็นแหล่งศึกษาดูงานและได้รับเชิญให้นาเสนอ แลกเปล่ียนเรียนรู้และจัดนิทรรศการในการ ดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โครงงานคุณธรรม การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมภายใน โรงเรียน ธนาคารขยะโรงเรยี น ศูนย์การเรียนรู้ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา การใช้ ICT ในการจดั การระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น และโครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ดงั น้ี ๑) เผยแพรท่ างโทรทศั นช์ ่อง ๓ รายการ พุธเชา้ สพฐ. ๒) เผยแพร่ทางโทรทัศน์ช่อง NBT รายการโลกใสไร้ขยะ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จะ ออกอากาศวนั ที่ 14 มนี าคม เวลา 14.30-15.00 น. ครับ ๓) เผยแพรท่ างเวปไซด์ Youtube ๔) เผยแพร่ทางเวปไซด์ https://web.facebook.com เร่ืองกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31 5) เผยแพรท่ างกรมประชาสัมพนั ธ์ รายการวิทยุแหง่ ประเทศไทย รายการสด 6) นาเสนอผลการดาเนินงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของกลุ่ม เครอื ขา่ ยสง่ เสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคเหนอื และกลุ่มสถานศึกษา กลุ่ม 6 ณ โรงแรมคมุ้ ภมู คิ า จังหวดั เชียงใหม่ 7) จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาเสนอผลงานของศูนย์การเรียนรู้ตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศกึ ษา ของกลมุ่ เครือข่ายสง่ เสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนการศึกษา สงเคราะห์ ภาคเหนือ ณ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ 8) เผยแพร่ผลงานการใช้ ICT ในการจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้ WBM : Web Base Management กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคเหนอื และกลุม่ สถานศึกษา กลมุ่ 6
บทที่ 5 สรปุ และอภปิ รายผล การสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียน โดยใช้ 3School Model ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ นานวัตกรรมใช้ในการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียน ซ่ึงผลการดาเนินงานพบว่านวัตกรรม 3School Model สามารถนาไปใชใ้ นการสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัด เชียงใหม่ได้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ จึงขอนาเสนอผลการนานวัตกรรมไปใช้ในการสร้างอัตลักษณ์ของ ผเู้ รียนตามวตั ถุประสงค์ของการสร้างนวัตกรรม ดังน้ี 1. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เชียงใหม่ เกิดนวัตกรรมในการสรา้ งอตั ลักษณ์ผู้เรียน ตามอัต ลักษณ์เป้าหมายของโรงเรียน คือ “สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา” โดยใช้ 3School Model เป็นกระบวนการขับเคลื่อนสู่อัตลักษณ์เป้าหมายท่ีกาหนด เป็นไปตามวัตถุประสงค์การ วิจยั ท่ีกาหนดไว้ 2. ผลการประเมนิ อัตลกั ษณ์เป้าหมายของผูเ้ รียนกอ่ นการใช้นวตั กรรม ค่าเฉล่ยี 3 ด้าน อยู่ที่ 2.96 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.62 การแปลผลอยู่ระดบั ปานกลาง และผลการประเมินผูเ้ รียนหลงั การ ใช้นวัตกรรม ค่าเฉลี่ย 3 ด้าน อยู่ท่ี 4.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66 การแปลผลอยู่ระดับดี มาก ซ่ึงผลการประเมินอัตลักษณ์เป้าหมายของผู้เรียนหลังการใช้นวัตกรรมสูงกว่าก่อนการใช้ นวตั กรรมซึง่ เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั ทกี่ าหนดไว้ 3. ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียในการนา 3School Model ไปใชใ้ นการ สร้างอตั ลักษณ์ผู้เรียน 3.1 ผู้บริหารและครู มีค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.69 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 0.48 การแปลผลอยูท่ ี่ระดับ มากทส่ี ดุ 3.2 คณะกรรมการสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.53 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานท่ี 0.57 การแปลผลอยู่ทีร่ ะดบั มากที่สดุ 3.3 ผู้ปกครอง มีค่าเฉล่ียของความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.65 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานท่ี 0.72 การแปลผลอยทู่ ีร่ ะดบั มากทส่ี ุด การประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง 3 กลุ่ม มีระดับความพึงพอใจต่อ นวัตกรรมอยูใ่ นระดับ มากท่สี ดุ ซึ่งเป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั ทก่ี าหนดไว้ ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยตอ่ ไป 1. ควรมกี ารประเมินพฤตกิ รรมซ้าเพ่ือตรวจสอบความคงทนของอตั ลักษณ์เปา้ หมาย 2. นาผลการวิจัยไปวางแผนเพื่อกาหนดโครงการกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ต่อไป การสร้างอัตลักษณ์ของผู้เรียนมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นการเตรียมความพร้อม ผู้เรียนสู่การ ประกอบอาชีพในอนาคตให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์สอดคล้องกับความต้องการของสังคม และสามารถ ดาเนนิ ชีวิตอยใู่ นสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ซึง่ การสร้างอตั ลักษณข์ องผเู้ รียนนน้ั มีความสมั พนั ธ์ อยา่ งใกล้ชิดกับ กระบวนการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ดังนั้น ประสิทธิภาพในการบริหารการศึกษา และการ บริหารจัดการของสถานศึกษาซ่ึงประกอบ ด้วยปัจจัยด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านวิธีการสอน ด้านหลักสูตร ดา้ นผบู้ ริหาร ด้านสภาพแวดล้อม และดา้ นระบบประกันคุณภาพการศึกษา จะเป็นปัจจยั สาคญั ที่สง่ ผลให้การ สร้างอตั ลกั ษณ์ของผเู้ รียนประสบความสาเร็จ
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: