วิชารูท้ ันขา่ วและข่าวปลอม สค0200036 จานวน 2 หน่วยกิต กศน.ตาบลไผร่ อบ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโพธปิ์ ระทับช้าง สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั พิจิตร สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
วิชารทู้ นั ข่าวและขา่ วปลอม (Fake News) สค0200036 กศน.ตำบลไผ่รอบ Fake News คอื อะไร \"Fake News\" หรือ \"ข่าวปลอม\" ตอนนี้กลับมาระบาดหนักขึ้นจนกลายเป็นเหตุให้เกิด ความวุ่นวายในโลกโซเชียลกันอยู่เป็นระยะ ทำไมเราถึงต้องทะเลาะกนั บนพื้นที่ส่ือทีน่ ำเสนอข่าว ปลอมด้วย? นน่ั เป็นเพราะ\"ข่าวปลอม” สามารถแพร่กระจายไดอ้ ย่างรวดเร็วและเปน็ วงกวา้ ง ดังนั้นบทความน้ี มี 9 วิธีในการสังเกตุข่าวให้ชัวร์ก่อนแชร์ พร้อมมาลองสังเกตุพฤติกรรม ของคณุ วา่ เสีย่ งต่อการตกเปน็ เหยื่อของขา่ วปลอมหรือ Fake News มากน้อยแค่ไหน จดั ทำโดย นางสาวศิรนิ นั ท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบล
1. ทม่ี า / แหลง่ อ้างอิง ใครเขียน ใครเผยแพร่ น่าเช่อื ถือหรือไม่? ส่ิงทีท่ ่ีเราต้องดู ก็คือ ขา่ วนค้ี นเขียนคอื ใคร เผยแพร่ทางไหน มคี วามรู้ความเชี่ยวชาญ หรือ ความเก่ียวข้องในด้านนน้ั จริงหรือไม่ เนอ้ื หาข่าวมีการอ้างอิงจากเว็บหรือแหล่งที่น่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะมีเว็บไซต์ที่ข้อมูลไม่น่าเชื่อถืออยู่มากมาย โดยเราสามารถดูข่าวจากหลายๆ ช่องทาง ประกอบกนั ได้ หากเป็นเรือ่ งที่มาจากองค์กรทีช่ ือ่ ไมค่ ุ้นเคย ควรตรวจสอบเพ่ือความแนใ่ จอกี คร้ัง หนงึ่ 2. หัวข้อข่าว / คำที่ใช้ ใส่อารมณเ์ กินจริงเน้น \"เรยี กรอ้ งความสนใจ\" ข่าวปลอมมกั มีการพาดหัวที่สะดุดตา อา่ นแล้วให้ความรู้สึกใสอ่ ารมณเ์ วอร์เกนิ จริง เน้นใช้ ตัวหนาและเครื่องหมายตกใจ! (อัศเจรีย์) เพื่อเรียกร้องความสนใจ เน้นกระตุ้นใหค้ นอยากกดเขา้ ไปดูหรือแชร์ไปด่า หากข้อความพาดหวั มีความหวือหวาจนเกนิ ไป ทีท่ ำใหเ้ รารสู้ กึ วา่ ไม่น่าเปน็ ไปได้ ข่าวนัน้ อาจจะเป็นข่าวปลอม ใหล้ องพจิ รณาใหด้ วี ่า ขา่ วที่เรากำลงั จะแชร์นนั้ เราอยากแชร์ไปเพื่อ อะไร 3. สังเกตชอ่ื Link และ URL จะผิดแปลก จงใจเลยี นแบบใหเ้ ขา้ ใจผดิ ลิงก์ของข่าวที่แชร์มาอาจจะมี URL คล้ายกับ URL ของสำนักข่าวที่น่าเชื่อถือ โดยมี เวบ็ ไซต์ข่าวปลอมจำนวนมากที่เปลี่ยนแปลง URL เพยี งเลก็ น้อยเพ่ือเลยี นแบบแหล่งข่าวจริง ต้อง เขา้ ไปอ่านเนื้อหาและชอื่ ใหแ้ นช่ ัด 4. รูปภาพประกอบไมต่ รงกบั เน้ือหาข่าว เป็นวิธตี รวจสอบทงี่ ่ายๆ ด้วยสมมตฐิ านทว่ี า่ เม่อื เนือ้ หาข่าวมันปลอม รูปภาพประกอบข่าว ก็ต้องปลอมและไม่ตรงกับเรื่องจริงในข่าวเช่นเดียวกัน เราสามารถตรวจที่มาของ \"รูปภาพ ประกอบ\" ได้จาก Google เพยี งคลิกขวาท่ีรปู ภาพในข่าว จะมีหวั ขอ้ ให้เลอื กว่าค้นหารูปภาพจาก Google ซึ่ง Google จะบอกได้หมดว่ารูปภาพนี้เผยแพร่ในอินเตอร์เน็ตเมื่อไหร่ และถึงบางคร้ัง รูปภาพอาจเป็นรูปจริง แต่ไม่เกี่ยวข้องกับบริบทของเรื่องราว เพื่อความมั่นใจ ลองนำภาพไป ตรวจสอบทม่ี าของภาพดงั กลา่ วผ่านการคน้ หารูปแบบต่างๆ 5. การเขยี นและสะกดคำ \"ผิด\" ผู้สื่อข่าวที่ดีหรือสำนักข่าวออนไลน์ ที่มีตัวตนและมีคุณภาพจะไม่ผิดพลาดเรื่องตัวสะก ด ของคำ หรอื ประโยคต่างๆ ดว้ ยเหตผุ ลทว่ี ่าจะมีการพิสจู น์อกั ษรกอ่ นการเผยแพร่ทุกคร้ัง เพอ่ื ความ ถกู ตอ้ งและความไมค่ ลาดเคล่อื นของขอ้ ความ (Message) ที่จะสง่ ออกไป จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ ันท์ ยอดนุม่ ครู กศน.ตำบล
6. ตรวจสอบจากแหล่งขา่ วอ่ืนเปรียบเทยี บ สังเกตหรือตรวจสอบอีกครั้งจากแหล่งอื่นๆ หรือตรวจสอบแหล่งข้อมูลของผู้เขียนเพื่อ ยนื ยนั วา่ ถูกต้อง หากไม่มหี ลักฐานหรือความน่าเชอื่ ถอื ของผู้เชี่ยวชาญทไี่ ม่มีชอื่ เสียง อาจระบุได้ว่า ข่าวดังกล่าวเป็นข่าวปลอม ตรวจสอบข่าวจากรายงานข่าวของที่มาอื่นๆ หากไม่มีแหล่งที่มาอื่นที่รายงานเรื่องราว เดียวกนั อาจระบไุ ดว้ า่ ข่าวดงั กล่าวเปน็ ข่าวปลอม หากมีการรายงานข่าวโดยหลายแหล่งข่าวที่คุณ เชอื่ ถือได้ มแี นวโน้มวา่ ขา่ วดงั กล่าวจะเป็นข่าวจรงิ 7. การจดั วางภาพและกราฟิก สังเกตสิ่งผิดปกติในเนื้อหาข่าวหรือเว็บไซต์ เช่น วันที่ลำดับเหตุการณ์ การจัดวาง ภาพกราฟิก โดยข่าวปลอมอาจมีลำดับเหตุการณ์ทีไ่ มส่ มเหตุผล หรือมีการเปลี่ยนแปลงวันที่ของ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทีเ่ กิดขนึ้ จรงิ รวมทง้ั มีการจดั วางกราฟิกหรือเลย์เอาต์ที่ไมเ่ ปน็ มืออาชพี ผิดไปจาก เลยเ์ อาต์ของสำนักขา่ วจริง 8. มโี ฆษณาสิง่ ผิดกฎหมาย บนหนา้ เว็บไซต์ สังเกตสิ่งผิดปกตใิ นเน้ือหาข่าวหรือเว็บไซต์ เช่น เมื่อคลิกเข้าไปดูในเวบ็ ไซต์อาจมีโฆษณา ของสงิ่ ผิดกฎหมายปรากฏอยเู่ ต็มหน้าเว็บ จัดทำโดย นางสาวศริ ินนั ท์ ยอดนุม่ ครู กศน.ตำบล
9. ดจู ุดประสงคใ์ นการเผยแพรข่ ่าว ทำไมเราอยากแชร์? อ่านข่าวนี้แล้วเรารู้สึกอย่างไร ผู้เขียนต้องการอะไร หรือมี เปา้ หมายยงั ไง เช่น ต้องการสรา้ งความตืน่ ตระหนก? หรอื ให้ขา่ วทำลายช่อื เสียง หรอื มจี ุดประสงค์ อืน่ ๆ แอบแฝงจากการใหข้ ่าวนี้ ทั้งนี้ จากข้อสังเกตทั้งหมดอาจจะบอกไม่ได้ 100% ว่าข่าวนั้นเป็นเรื่องจริงหรือไม่ ดังนี้ ผู้ใช้สื่อทุกคนจึงควรมีภมู ิคุ้มกันตนเองในการรบั ข่าวสารข้อมูล ตรวจสอบให้รอบดา้ น เลือก เชือ่ เลือกใช้ เลอื กแชร์ พฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ พลเมืองเท่าทันส่ือ ไมต่ กเปน็ เหยอื่ ของข่าวลวง ข้อมูล เทจ็ หรอื ผอู้ ยเู่ บื้องหลงั ท่ตี ้องการแสวงหาประโยชน์จากความต่ืนรบั ข้อมูลข่าวสารของเราเอง และ ทางทด่ี ีคือไมแ่ ชรใ์ นส่ิงที่ไมม่ นั่ ใจ เพ่ือป้องกนั ผลกระทบรา้ ยแรงท่ีอาจเกิดขนึ้ ตอ่ ผ้แู ชร์โดยไมร่ ูต้ วั จัดทำโดย นางสาวศริ ินันท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบล
การรเู้ ทา่ ทันขา่ วปลอม Fake News EP 1 ความรเู้ กี่ยวกับข่าวปลอม การรเู้ ทา่ ทันขา่ วปลอม Fake News EP 2 : รูปแบบขา่ วปลอม จัดทำโดย นางสาวศริ ินนั ท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบล
การร้เู ทา่ ทันข่าวปลอม Fake News EP 3 : วธิ ีตรวจสอบขา่ วปลอม เผยแพร่ \"ข้อมลู เท็จ\" ท่กี ระทบตอ่ รฐั ใชพ้ .ร.บ.คอมพวิ เตอร์ฯ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับท่ีแกไ้ ขและประกาศใชใ้ นปี 2560 มาตรา 14 กำหนดวา่ \"มาตรา 14 ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกนิ หนง่ึ แสนบาท หรือท้งั จำทง้ั ปรบั (1) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึง่ ขอ้ มูลคอมพวิ เตอรท์ ่ี บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการท่ี น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวล กฎหมายอาญา (2) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพวิ เตอรอ์ นั เป็นเทจ็ โดยประการท่ีน่าจะ เกิดความเสียหายตอ่ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความ มน่ั คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรอื โครงสร้างพ้ืนฐานอนั เป็นประโยชนส์ าธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตนื่ ตระหนกแกป่ ระชาชน จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ ันท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบล
(3) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับ ความม่ันคงแหง่ ราชอาณาจกั รหรือความผิดเก่ยี วกบั การกอ่ การรา้ ยตามประมวลกฎหมายอาญา (4) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและ ขอ้ มูลคอมพิวเตอรน์ น้ั ประชาชนทัว่ ไปอาจเข้าถงึ ได้ (5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (1) (2) (3) หรอื (4) ถา้ การกระทำความผิดตามวรรคหนงึ่ (1) มไิ ดก้ ระทำตอ่ ประชาชน แต่เปน็ การกระทำ ตอ่ บุคคลใดบคุ คลหน่ึง ผู้กระทำ ผเู้ ผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และให้เป็นความผิดอันยอม ความได้\" มาตรา 14(2) กำหนดองค์ประกอบของความไว้ตรงประเด็นกับการมุ่งเอาผิด \"ข่าว ปลอม\" มากที่สุด กล่าวคือ การเผยแพร่ \"ข้อมูลเท็จ\" ที่จะกระทบต่อความมั่นคงของประเทศเปน็ ความผิดตามมาตรานี้ ในขณะที่หากเป็นข้อมูลเท็จที่มุ่งโจมตีหรือทำให้บุคคลบางคนเสื่อมเสีย ชอ่ื เสียงนัน้ ยงั ไมเ่ ปน็ ความผดิ ตามมาตราน้ี มาตราน้ีจงึ ตีกรอบอย่แู ลว้ วา่ การโกหกหรือการพูดเร่ือง ที่ไม่จริงโดยท่ัวไป ยังไม่ใช่การกระทำท่ีเป็นเรื่องรา้ ยแรงต่อสังคมในระดับที่จะต้องบญั ญัติให้เปน็ ความผิดในทน่ี ้ี ขณะที่มาตรา 14(1) เป็นมาตราที่มุ่งจะเอาผิดการหลอกลวงเพื่อให้ได้ไปซึ่ง ผลประโยชนท์ างทรัพยส์ นิ ซึง่ ไมเ่ กยี่ วกับความผิดฐานหมน่ิ ประมาท พิจารณาจากถ้อยคำทีว่ า่ \"โดย ทุจริตหรือโดยหลอกลวง\" และมาตรานี้มุ่งเอาผิดเฉพาะกรณีการหลอกลวงต่อสาธารณชน พิจารณาจากถ้อยคำที่ว่า \"โดยประการทน่ี ่าจะเกดิ ความเสยี หายแกป่ ระชาชน\" หากเป็นการหลอก เพื่อน แกล้งเพื่อน หรือหลอกลวงคนใดคนหนึ่งที่ไม่ได้ประกาศต่อสาธารณะและไม่ได้ทำให้คน หลงเชอ่ื จำนวนมากๆ กจ็ ะมอี ัตราโทษเบาลงและเป็นความผดิ ทย่ี อมความไดต้ ามวรรคทา้ ย หากมีคนที่จงใจเผยแพร่ \"ข่าวปลอม\" เพื่อให้คนส่วนใหญ่หลงเชื่อและทำให้ตัวเองได้ ไปซึ่งผลประโยชน์ทางการเมือง ไม่สามารถดำเนินคดีตามมาตรา 14(1) ได้โดยทันที นอกจากจะ พิสูจน์ได้ว่า เป็นข่าวปลอมที่ทำให้ผู้ปล่อยข่าวได้ไปซึ่งประโยชน์ทางทรัพย์สิน ส่วนจะสามารถ ดำเนนิ คดีด้วยมาตรา 14(2) ได้ ตอ้ งเปน็ กรณีที่ \"ข่าวปลอม\" นนั้ เข้าข่ายรา้ ยแรง มีลกั ษณะที่น่าจะ สรา้ งความเสยี หายต่อความมั่นคงของประเทศ หรอื เศรษฐกจิ หรอื สรา้ งความตืน่ ตระหนกได้ หาก จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ ันท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบล
เปน็ การเผยแพร่ขอ้ มูลเทจ็ เพอ่ื โจมตีบุคคลใดบุคคลหน่งึ หรือเปน็ ข้อมูลเท็จท่ีไม่น่าจะมีอิทธิพลจูง ใจใหค้ นจำนวนมากเช่ือหรือสนใจได้ กย็ ังไมเ่ ป็นความผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ แต่อาจจะเป็น ความผดิ ฐานอ่นื ได้ เผยแพร่ \"ขอ้ มูลเทจ็ \" ใส่รา้ ยปา้ ยสกี ระทบตอ่ บคุ คล ใชข้ ้อหาฐาน \"หม่นิ ประมาท\" ประมวลกฎหมายอาญา กำหนดความผิดฐานหมิ่นประมาทไว้ใน มาตรา 326 โดยมี มาตรา 328 เป็นบทเพม่ิ โทษท่ใี ช้กันบ่อย ดงั นี้ \"มาตรา 326 ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทําให้ผู้อื่นนั้เสีย ช่ือเสียง ถกู ดูหมนิ่ หรอื ถกู เกลยี ดชัง ผนู้ ั้นกระทาํ ความผิดฐานหมนิ่ ประมาท ตอ้ งระวางโทษจำคุก ไมเ่ กิน หนึ่งปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ สองหมืน่ บาท หรือท้ังจำทงั้ ปรบั \" \"มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทําโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทําให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทกึ เสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทําโดยการกระจายเสียง หรือการ กระจาย ภาพ หรือโดยกระทําการป่าวประกาศด้วยวิธีอืน่ ผู้กระทําต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกนิ สองปี และ ปรบั ไม่เกนิ สองแสนบาท\"ความผดิ ฐาน \"หม่นิ ประมาท\" เปน็ เคร่ืองมอื ทางกฎหมายทีพ่ นื้ ฐานที่สุดที่ จะถูกหยบิ ข้ึนมาใช้ดำเนินคดีเพ่ือปกป้องชอื่ เสยี งจากการถูกใส่รา้ ย หรือการโจมตีด้วยข้อกล่าวหา ทไ่ี ม่เป็นความจรงิ ท่ไี ม่ใชก่ ารวพิ ากษว์ จิ ารณ์โดยสุจรติ โดยเฉพาะในยคุ ท่ที ุกคนมีพื้นที่แสดงความ คิดเหน็ ผ่านสอื่ สังคมออนไลน์ การใสร่ ้ายปา้ ยสกี ันก็เกดิ ขึ้นในทางสาธารณะได้ง่ายและจำนวนมาก ขึ้น เมื่อการหมิ่นประมาททำผ่านสื่อ รวมทั้งสื่อออนไลน์ ก็จะต้องใช้มาตรา 328 เข้ามาเกี่ยวข้อง ดว้ ย เม่อื เป็นการ \"หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา\" กจ็ ะมีโทษเพ่มิ สงู ขนึ้ ข้อเสียของการใช้ข้อหาหมิ่นประมาทตามกฎหมายอาญา คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้ง ตำรวจและอัยการ รวมทั้งศาล จะถูก \"ยืมมือ\" ให้เข้ามาทำงานให้กับผู้เสียหาย กระบวนการ ดำเนินคดีทำให้ผู้ถูกกล่าวหามีภาระต้องเดินทางมารายงานตัว หาเงินมาประกันตัว และต้องหา ทนายความมาช่วยเหลือทางกฎหมาย ต้องแสวงหาหลักฐานมาต่อสู้คดีด้วยตัวเอง ซึ่งก่อให้เกิด ความได้เปรียบเสียเปรียบกันอยา่ งมาก และผลของการดำเนินคดี คือ การเอาผู้ท่ีกระทำความผดิ ไปจำคกุ หรือเสยี ค่าปรับ ก็ไมใ่ ชท่ างแกไ้ ขปัญหาความขดั แย้งทีเ่ กดิ ข้ึน และไม่สง่ ผลให้ผทู้ ี่ถูกใส่ร้าย จัดทำโดย นางสาวศิรินันท์ ยอดนุม่ ครู กศน.ตำบล
ป้ายสไี ด้ช่อื เสยี งกลับคนื มาแตอ่ ย่างใดนอกจากการเลอื กดำเนนิ คดหี มน่ิ ประมาททางอาญาแลว้ ผูท้ ่ี เห็นวา่ ตวั เองถกู ใสร่ า้ ยป้ายสีอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม ยังมีทางเลือกอกี ประการหน่งึ คือ การฟอ้ งคดีแพง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ในหมวดของการ \"ละเมิด\" กำหนดเรื่องการหมิ่นประมาทไว้ ดงั น้ี \"มาตรา 423 ผู้ใดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง เป็นท่ี เสียหายแก่ชือ่ เสียงหรือเกียรตคิ ุณของบุคคลอืน่ กด็ ี หรือเป็นที่เสียหายแก่ทางทำมาหาได้หรือทาง เจริญของเขาโดยประการอื่นก็ดี ท่านว่าผู้นั้นจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เขาเพื่อความ เสยี หายอยา่ งใด ๆ อันเกดิ แตก่ ารน้ัน แมท้ ัง้ เมื่อตนมไิ ดร้ วู้ ่าข้อความนนั้ ไม่จริง แต่หากควรจะรู้ได้ ผู้ใดสง่ ข่าวสารอันตนมิได้รวู้ ่าเป็นความไม่จริง หากว่าตนเองหรือผู้รับข่าวสารน้ันมีทาง ได้เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว ท่านว่าเพียงที่ส่งข่าวสารเช่นนั้นหาทำให้ผู้นั้นต้องรับผิดใช้ค่า สินไหมทดแทนไม\"่ จะเหน็ ไดว้ ่า การเผยแพรข่ ่าวสารท่ไี มเ่ ป็นความจริงทำให้คนอ่ืนเสียชื่อเสียงถอื เป็นการ ทำ \"ละเมิด\" ลักษณะของคดีแพ่งต่างจากการดำเนินคดีทางอาญา คือ ไม่มีตำรวจ อัยการ หรือ กระบวนการของรฐั เข้ามาดำเนินคดใี ห้ หากผเู้ สียหายต้องการได้รบั การชดเชยความเสียหายก็ต้อง ฟ้องคดีด้วยตัวเอง และเมื่อศาลตัดสินว่ากระทำความผิด ผู้กระทำผิดต้องจ่ายค่าเสียหายชดใช้ ทดแทนให้กับผู้เสียหายเป็นตัวเงิน หรือลงประกาศโฆษณาคำพิพากษาหรือโฆษณาเรื่องที่เป็น ความจริงตามปริมาณทีศ่ าลส่ัง เพื่อชดเชยผลเสียที่อาจเกดิ ข้ึนจากการเผยแพร่ข้อมลู เท็จที่ตัวเอง ไดก้ อ่ ขึ้น ซ่งึ เป็นการแก้ไขความผดิ ท่ีตรงประเดน็ สำหรบั ผ้ทู ่ถี กู ใส่รา้ ยป้ายสีดว้ ย \"ขอ้ มลู เท็จ หรือ \"ข่าวปลอม\" หากเหน็ วา่ การเผยแพร่ ขอ้ มูลเหล่านั้นทำให้ตวั เองได้รับความเสยี หาย แตไ่ ม่ใช่ความเสียหายท่เี กิดข้นึ ต่อรัฐหรือประชาชน กม็ ที างเลอื กอยู่สองทางท่ีจะดำเนินคดีฐานหมนิ่ ประมาททางอาญาหรอื ทางแพ่ง หรือดำเนินคดีท้ัง สองทางพร้อมกันก็ได้ กฎหมายที่มีอยู่ก็พร้อมที่จะทำงานเพื่อคุ้มครองผู้บริสุทธิ์และเอาผิดผู้ที่ เผยแพร่ส่ิงทีไ่ มเ่ ป็นความจริงอยแู่ ล้ว จดั ทำโดย นางสาวศิรนิ ันท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบล
เผยแพร่ \"ข้อมูลเทจ็ \" ทำใหค้ นตกใจ เปน็ ความผิดลหุโทษ ประมวลกฎหมายอาญา กำหนดฐานความผดิ \"บอกเล่าความเท็จ\" ไว้เป็นความผิดลหุ โทษ หรือความผิดทีม่ ีโทษไมม่ าก ดังนี้ \"มาตรา 384 ผู้ใดแกลง้ บอกเล่าความเทจ็ ให้เลอ่ื งลือจนเป็นเหตุใหป้ ระชาชนตื่นตกใจ ต้องระวางโทษจําคกุ ไมเ่ กินหนงึ่ เดือน หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หน่งึ พนั บาท หรือทงั้ จาํ ท้งั ปรับ\" หากมีการเผยแพร่ข่าวปลอม หรือ \"ข้อมูลเท็จ\" ที่ไม่ใช่การโจมตีบุคคลใดบุคคลหน่ึง ไม่ได้กระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ก็ยังมีความผิดอยู่ตามมาตรา 384 ซึ่งมีโทษไม่สูงมากนัก อย่างไรก็ดี การเผยแพร่ข้อมูลเท็จท่ีจะเป็นความผิดตามมาตรานี้ได้ต้องมีองค์ประกอบ คือ ทำให้ คนอื่นตกใจด้วย หากเป็นการเผยแพร่ข้อมูลเท็จในลักษณะที่ไม่มีความน่าเชื่อถือเอาเสียเลย ไม่ น่าจะทำให้ใครเชื่อ หรือจูงใจใครได้ ไม่ได้ทำให้ประชาชนตื่นตกใจ และไม่ได้ก่อความเสียหายตอ่ ผ้อู ื่นหรอื รฐั เชน่ นก้ี ็ยงั เป็นเพียงเรอื่ งโกหกท่วั ไปทีไ่ ม่เปน็ ความผดิ ตามกฎหมายใดๆ มาตรา 384 น้นั ดเู ขียนขึ้นมาพร้อมกับประมวลกฎหมายอาญาในปี 2499 แสดงใหเ้ ห็น วา่ วิธคี ดิ สมยั ก่อนมีโซเชียลมเี ดียมองวา่ การบอกเล่าความเท็จทำใหป้ ระชาชนตน่ื ตกใจก็ยงั ถือเป็น ความผิดเล็กน้อย ที่มีโทษไม่สูง แม้ว่าจะทำให้ประชาชนตื่นตกใจก็ตาม แต่เมื่อมาถึงยุคของสื่อ ออนไลน์ สังคมเสพย์ข่าวจากคนที่ไม่รู้จักกันและส่งต่อกันได้ง่ายมากขึ้น จึงเป็นเรื่องท้าทายว่า ความผดิ ฐานน้จี ะควรมโี ทษมากน้อยเพยี งใด เผยแพร่ \"ขอ้ มลู เทจ็ \" ถกู ใชเ้ ปน็ ขอ้ กล่าวหาทางการเมืองทอ่ี ันตราย ทนั ทีทจี่ ดั ตัง้ รฐั บาลใหม่ ยุคของ 'คสช.2' ข้ึนไดส้ ำเร็จ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พุฒิพงษ์ ปุณณกันต์ ก็ประกาศประกาศกร้าวทันทีว่า นโยบาย เร่งด่วน คือ การจัดตั้ง Fake News Center หรือศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ซึ่งยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า กลไกใหม่เช่นนี้จะจัดต้ังได้สำเร็จหรือไม่ และมีกระบวนการทำงานอย่างไร แต่เมื่อดูจากแนวทาง ของรฐั บาลยุค คสช.1 ก็จะพบวา่ มีความพยายามจับกุมดำเนินคดกี ับผ้ทู ่ีวิพากษ์วิจารณ์ผู้มีอำนาจ ด้วยกฎหมายต่างๆ ทั้ง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 และกฎหมายหมิ่นประมาท จนสร้าง กระแสความหวาดกลวั ต่อการแสดงความคิดเห็นทั่วไปในสังคม จัดทำโดย นางสาวศริ ินนั ท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบล
ตวั อยา่ งเช่น กรณีรนิ ดา โพสตข์ ่าวลอื เก่ียวกับการโอนเงินท่ีได้มาโดยไม่ชอบของพล.อ. ประยุทธ์ ซึ่งยังไม่มีการชี้แจงว่า ข่าวลือนี้เป็นจริงหรือเท็จอย่างไร แต่รินดาถูกดำเนินคดฐี านยุยง ปลุกปั่น ตามมาตรา 116 ที่ศาลทหาร ถูกดำเนินคดีตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 ที่ศาล อาญา โดยต่อมาศาลพพิ ากษายกฟอ้ ง หรอื กรณีของวัฒนา เมอื งสขุ นักการเมืองฝ่ายพรรคเพื่อไทย ที่โพสต์เฟซบุก๊ วิจารณ์พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณว่า \"อีคิวต่ำไปหน่อย\" ก็ถูกดำเนินคดตี ามพ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ และต่อมาศาลพิพากษายกฟ้องเช่นกัน ทั้งสองกรณีเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนว่า ข้อความเปน็ การโจมตไี ปท่ีตัวบคุ คลท่ีมีอำนาจในขณะนนั้ ๆ แต่เมอื่ ต้องดำเนินคดเี จา้ หน้าที่รัฐกลับ หยบิ เอา พ.ร.บ.คอมพวิ เตอรฯ์ มาใช้ ทั้งที่เนอ้ื หาข้อความน้นั ไม่ว่าจะเปน็ เท็จหรือจริงไม่ได้กระทบ ตอ่ ความมั่นคงของรัฐ ทำใหส้ ดุ ท้ายศาลพิพากษายกฟอ้ ง หรอื กรณีทน่ี กั กจิ กรรมจดั ชุมนมุ เรยี กร้องใหห้ ยุดโกงการเลอื กตัง้ และให้ กกต. ลาออก จากตำแหน่ง กลายเป็นท่ีมาของการดำเนินคดฐี านหมน่ิ ประมาทโดยการโฆษณา หรอื กรณีนักสิทธิ มนุษยชนที่เผยแพรร่ ายงานเรอ่ื งการซอ้ มทรมานผ้ถู ูกควบคุมตัวในพ้นื ทีส่ ามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งต่อมาถูก กอ.รมน. ดำเนินคดีฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ทั้งสองกรณีเป็นตัวอย่างท่ี ชัดเจนว่า ประชาชนใช้สิทธิแสดงความคิดเห็นวิจารณ์การทำงานของรัฐที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่ได้ใส่ร้าย ป้ายสี หรือปล่อย \"ข่าวปลอม\" โดยไม่สุจริต แต่กฎหมายหมิน่ ประมาทกถ็ ูกนำมาใช้ และส่งผลให้ การแสดงความคดิ เหน็ ในทางตรงขา้ มกับรฐั ตกอยใู่ นบรรยากาศท่ีปิดก้ัน หากปฏิบัติการต่อต้านข่าวปลอม ดำเนินการไปอย่างสุจริตเพื่อสร้างสังคมออนไลนท์ ่ี \"สะอาด ปลอดภัย\" และเลือกใช้กฎหมายดำเนินคดีต่อเฉพาะข่าวปลอมที่สร้างความเสียหายต่อ ความมั่นคงของรัฐจริงๆ เท่านั้น ก็อาจส่งผลดีทีช่ ่วยลดปริมาณข้อมูลเท็จ และช่วยลดความกังวล ให้ผู้เสพสื่อได้บ้าง ซึ่งก็คงไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ทัง้ หมด แต่หากปฏิบัติการต่อต้านข่าวปลอม โดยอำนาจรัฐมุ่งดำเนินการโดยมีเป้าหมายทางการเมือง ต้องการสนับสนุนการอยู่ในอำนาจของ ตัวเอง และต้องการทำลายฝ่ายตรงข้าม การต่อต้านข่าวปลอมก็อาจกลายเป็นเพียงข้ออ้างทาง การเมอื งเพื่อใชอ้ ำนาจ \"ปิดปาก\" การวิจารณ์ และควบคุมขอ้ มูลข่าวสารทเ่ี ห็นแตกต่างไม่ให้มีพ้ืนที่ ทางสังคม จัดทำโดย นางสาวศิรนิ นั ท์ ยอดนุม่ ครู กศน.ตำบล
หากการอ้างปฏิบตั ิการต่อต้านข่าวปลอมเกิดขึ้นเพื่อประโยชนท์ างการเมืองไม่ว่าโดย ฝ่ายใด ย่อมส่งผลเป็นการใช้กฎหมายในทางที่ผิด และจะทำให้ผู้มีอำนาจควบคุมข้อมูลข่าวสาร เพียงด้านเดยี ว เผยแพร่ขา่ วสารท่เี ป็นประโยชน์กับฝ่ายตนเองโดยไม่ตอ้ งคำนึงว่า เป็นจรงิ หรือเป็น เท็จ ขณะที่ฝ่ายท่ีเหน็ ตา่ งไม่สามารถนำเสนอขอ้ มลู ข่าวสารอีกดา้ นหนึ่งได้ จดั ทำโดย นางสาวศิรนิ ันท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบล
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: