Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการเรียนรู้ที่ 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

ชุดการเรียนรู้ที่ 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

Published by uborisut, 2020-06-14 12:59:02

Description: ชุดการเรียนรู้ที่ 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

Search

Read the Text Version

ชุดการเรียนรู้ เร่ืองระบบนิเวศ วิชาวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ชวี วิทยา) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ชุดการเรยี นรทู้ ี่ 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ โดย ว่าที่ ร้อยโทอุดม บรสิ ทุ ธิ์ คร/ู ชำนาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นลำพลับพลาวทิ ยาคาร อำเภอชุมพลบรุ ี จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 33

ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ | 1ก7 คำนำ การจดั ทำชดุ การเรยี นรู้ เร่ืองระบบนเิ วศ เลม่ นจี้ ดั ทำข้นึ เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการศกึ ษาและการพัฒนา การเรียนการสอน รายวชิ าวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ชวี วทิ ยา) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อช่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถเกิด การเรยี นรเู้ ป็นไปตามลำดับข้ันตอนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ข้าพเจ้าไดพ้ ยายามศึกษาค้นคว้าเอกสารและตำราตา่ งๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทำชุดการเรียนรู้ เพือ่ ใหเ้ กิดความชดั เจนถกู ต้องตามหลักวชิ า ดังนนั้ จงึ ได้จดั ทำชดุ การเรียนรู้ ท้ังหมด 6 ชดุ ดังนี้ ชดุ ที่ 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนิเวศ ชุดท่ี 2 ประเภทของระบบนเิ วศ ชุดท่ี 3 ความสัมพันธ์ของสง่ิ มีชวี ิตในระบบนิเวศ ชุดท่ี 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ ชุดท่ี 5 การหมนุ เวียนสารในระบบนเิ วศ ชุดท่ี 6 การเปล่ียนแปลงแทนท่ขี องส่ิงมีชวี ิต ในแตล่ ะชดุ การเรยี นรู้ นักเรยี นสามารถนำไปศกึ ษาไดด้ ว้ ยตนเอง ทบทวนเน้ือหา หรือสามารถนำไปศกึ ษา เพมิ่ เติมกรณีทน่ี กั เรียนไมท่ ันเพือ่ น หรือสามารถนำไปใชใ้ นการเรียนซอ่ มเสริม ในกรณที ีเ่ รยี นแล้วสอบไม่ผา่ น ซ่งึ ข้าพเจา้ ได้พยายามนำเสนอรายละเอียดความสำคัญท่จี ำเปน็ ในชดุ การเรียนร้นู ้ี ชุดการเรยี นรทู้ กุ เลม่ ดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบจากผ้เู ช่ียวชาญ และไดน้ ำไปใช้เพื่อทดลองหา ประสทิ ธิภาพแลว้ จึงสามารถนำมาใชแ้ ก้ปัญหาและพฒั นาการเรยี นการสอนได้อยา่ งดี ข้าพเจ้าจึงหวังเป็นอย่างยิ่ง วา่ ชุดการเรยี นรนู้ ี้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ และเป็นตัวอยา่ งแกผ่ ู้ทีส่ นใจได้ต่อไป ว่าท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธิ์ ครู / ชำนาญการ

ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 1ข7 สารบญั คำนำ หน้า สารบญั ก คำชแี้ จง ข ลำดบั ขน้ั ตอนการใช้ ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 1 สาระสำคญั 2 ตวั ช้ีวดั 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดการเรียนรู้ที่ 4 3 ใบความรู้ 4 ใบกิจกรรมท่ี 1 6 ใบงานท่ี 1 11 ใบงานที่ 2 13 ใบสรุปเน้อื หา ชุดการเรียนท่ี 4 15 แบบทดสอบหลังเรียน ชุดการเรียนรู้ที่ 4 16 บนั ทึกสรุปผลการเรียน 17 บรรณานกุ รม 19 ภาคผนวก 20 21 - แนวทางการบนั ทึกผล ใบกิจกรรมท่ี 1 - แนวคำตอบ ใบงานที่ 1 - แนวคำตอบ ใบงานที่ 2 - เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน

ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ | 117 คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนอ่านคำชแ้ี จงใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นท่จี ะลงมือศึกษาชุดการเรยี นรู้ แล้วปฏบิ ัตติ ามลำดับขั้นตอน ดงั ต่อไปนี้ 1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพือ่ ประเมินความรู้พื้นฐานเดิม กอ่ นทจ่ี ะลงมือศกึ ษาชุดการเรียนรู้ 2. นกั เรยี นศึกษาชุดการเรยี นรู้ และปฏิบัติกจิ กรรม โดยการศกึ ษาใบความรู้ ใบกจิ กรรม และใบงาน 3. นักเรยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ ซักถาม หรือมสี ่วนร่วมในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ งๆ อยา่ งเตม็ ที่ และเต็มความสามารถ 4. นกั เรยี นตอ้ งปฏิบัตติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ีของกลมุ่ ยอมรับฟังความคดิ เหน็ ของสมาชกิ กลุ่ม และให้ความ รว่ มมอื ในการทำงานอยา่ งเตม็ ความสามารถ 5. นกั เรียนตรวจคำตอบจากแนวคำตอบ 6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นเพื่อเปรียบเทยี บความก้าวหนา้ ในการศึกษาชุดการเรียนรู้ 7. เมอ่ื ปฏิบตั กิ จิ กรรมแตล่ ะกิจกรรมเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว ให้สง่ ใบกิจกรรม และเก็บวสั ดุอุปกรณท์ ุกอย่าง ตลอดจนสถานที่ปฏบิ ัติกิจกรรมให้สะอาดเรยี บรอ้ ย 8. ให้นกั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมด้วยความต้ังใจ และมคี วามซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองใหม้ ากทีส่ ุด โดยไม่ดูแนว คำตอบ และเฉลยก่อนทำแบบทดสอบ และกิจกรรมตา่ งๆ

ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ | 127 ลำดบั ขน้ั ตอนการใช้ ชดุ การเรียนรู้ท่ี 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ อ่านคำช้แี จง ทดสอบก่อนเรยี น ไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80) กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทดสอบหลงั เรียน  ศกึ ษาใบความรู้  ใบความรู้ ชุดการเรยี นรู้ท่ี 4  ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม และใบงาน  ใบกจิ กรรมที่ 1  ใบงานที่ 1  ใบงานท่ี 2  สรปุ เน้ือหาชดุ การเรยี นรทู้ ี่ 4 ผา่ นเกณฑ์ (รอ้ ยละ 80) ศึกษาชดุ ต่อไป

ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ | 137 สาระสำคัญ การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวิตทีอ่ าศัยอยรู่ ่วมกัน ส่ิงมชี ีวติ ในระบบนเิ วศมีความสมั พนั ธก์ ันในแง่ของอาหารกลุม่ ส่งิ มชี วี ิตชนดิ ตา่ งๆ ท่ีอยู่รว่ มกนั และมี ความสมั พนั ธ์ซงึ่ กันและกนั ถ้าจำแนกตามลักษณะการดำรงชวี ติ หรือตามลักษณะการกิน แบง่ เปน็ 3 กล่มุ ดังนี้ 1. ผู้ผลติ (producer) 2. ผู้บรโิ ภค (consumer) 2.1 ผ้บู รโิ ภคพชื (herbivores) 2.2 ผูบ้ รโิ ภคสัตว์ (carnivores) 2.3 ผบู้ รโิ ภคทง้ั พชื และสัตว์ (omnivores) 2.4 ผบู้ รโิ ภคซากส่งิ มีชวี ติ (detritivores) 3. ผยู้ อ่ ยสลายสาร (decomposers) การถ่ายทอดพลงั งาน การถา่ ยทอดพลังงานจากผ้ผู ลติ สูผ่ ้บู รโิ ภค โดยการกินกันเป็นทอดๆ ซ่งึ ถ่ายทอดเปน็ แนวเดียวเรียกว่า ห่วงโซ่อาหาร (food chain) เช่น กระตา่ ยกนิ หญ้า งูกนิ กระต่าย การกนิ เป็นทอดๆ จะไม่เป็นไปตามลำดบั สาย ตรงเพียงสายเดยี ว เพราะผูบ้ ริโภคชนดิ หนึ่งอาจกนิ อาหารไดห้ ลายชนดิ และเป็นอาหารของผบู้ ริโภคในลำดบั ต่อไป ได้หลายชนิดเชน่ กัน การถ่ายทอดพลงั งานทีส่ ลบั ซับซอ้ นแบบนเี้ ราเรยี กว่า สายใยอาหาร (food web) การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศจากผูผ้ ลิตไปยังผูบ้ ริโภคลำดับตา่ งๆ จนถึงผสู้ ลายสารอินทรยี ์ พลังงาน จะลดลงไปในแต่ละลำดับ และเม่ือพจิ ารณาจำนวนผูผ้ ลติ ไปยงั ผู้บรโิ ภคลำดับต่างๆ จะมีจำนวนลดลงตามลำดบั ซึ่ง คล้ายกบั การเปลีย่ นแปลงมวลสาร ซง่ึ ทง้ั การถ่ายทอดพลงั งาน จำนวนประชากร และมวลของสงิ่ มชี ีวิตจะมี ลกั ษณะเปน็ รปู พีระมดิ ซ่ึงมี 3 แบบดังนี้ 1. พีระมิดจำนวนของสงิ่ มีชีวติ (pyramid of numbers) 2. พรี ะมดิ มวลของส่ิงมีชวี ติ (pyramid of biomass) 3. พีระมดิ ปริมาณพลังงาน (pyramid of energy) ตัวชีว้ ัด ว 2.1 ม.4-6/1 อธิบายดลุ ยภาพของระบบนเิ วศ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกความสำคัญของดวงอาทติ ย์ต่อระบบนิเวศได้ (K) 2. บอกความหมายของโซ่อาหาร และสายใยอาหารได้ (K) 3. อธบิ ายการถ่ายทอดพลังงานในหว่ งโซอ่ าหาร และสายใยอาหารได้ (K) 4. เขียนแผนภาพแสดงความสมั พันธ์ของสิ่งมชี วี ติ ตา่ งๆ ในแงก่ ารกนิ กนั เปน็ อาหาร และการถา่ ยทอด พลังงานในระบบนเิ วศได้ (P) 5. เปรยี บเทียบความแตกต่างของสายใยอาหารและโซ่อาหารได้ (P) 6. แสดงความเปน็ คนช่างสงั เกต ช่างคิด ชา่ งสงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมนั่ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ | 147 แบบทดสอบวดั ผลการเรียนรู้ กอ่ นเรียน ชุดการเรียนรทู้ ่ี 4 วชิ าวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ชีววทิ ยา) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เรอ่ื งการถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ จำนวน 10 ข้อ คำช้แี จง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว แล้วกาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. องค์ประกอบสำคัญทเ่ี กยี่ วข้องกบั การถ่ายทอด 6. “เพลีย้ สม้ นก แมงมุม” จะสามารถเขยี นความ พลังงานในระบบนิเวศคือข้อใด สัมพันธใ์ นรูปโซอ่ าหารได้อยา่ งไร ก. ผู้ผลิต, ผ้บู รโิ ภค ก. ส้ม  นก  แมงมมุ  เพลีย้ ข. ผผู้ ลติ , ผู้ยอ่ ยสลาย ข. ส้ม  แมงมุม  เพลีย้  นก ค. ผูบ้ ริโภค, ผยู้ ่อยสลาย ค. สม้  เพลย้ี  แมงมุม  นก ง. ผู้ผลติ , ผบู้ ริโภค, ผ้ยู ่อยสลาย ง. ส้ม  เพลี้ย  นก  แมงมุม 2. การถ่ายทอดพลังงานจากโซอ่ าหารหนึ่งไปอีกโซ่ 7. ห่วงโซอาหารเกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งใดมากท่สี ดุ อาหารหนงึ่ ซง่ึ เปน็ ความสัมพันธ์สลบั ซบั ซ้อน เรยี กวา่ ก. สายใยอาหาร ก. การมรี ะดบั ของสิ่งมีชีวิต ข. วัฏจกั รอาหาร ค. ห่วงโซ่อาหาร ข. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งกัน ง. พรี ะมิดพลงั งาน ค. ความเกี่ยวข้องของระดบั ชวี ติ 3. อาหารสว่ นใหญท่ พ่ี ืชสร้างขึน้ โดยกระบวนการ สงั เคราะห์ดว้ ยแสง จะถกู สะสมไว้ในรปู ใด ง. การถ่ายทอดพลังงานต่อกันไป ก. ไขมัน ข. แป้ง 8. ในระบบนเิ วศของสระนำ้ ปลาจะเป็นผ้บู ริโภคลำดบั ค. โปรตนี ที่ 2 ขอ้ ใดคือผู้บริโภคลำดบั ท่ี 1 ง. วติ ามิน 4. สตั ว์ในข้อใดเปน็ ผบู้ รโิ ภคลำดับท่ี 1 ทง้ั หมด ก. ปู ก. แมว พยาธิ งู ข. เสอื หนู จ้งิ จก ข. หอย ค. ววั ม้า กระต่าย ค. ไรน้ำ ง. กบ ปลา นกเหยี่ยว 5. ในลำดับโซอ่ าหาร เหย่ียว จดั เปน็ ผู้บริโภคลำดบั ง. ซากปลาด้วยกนั ท่เี ทา่ ไร ก. ลำดับท่ี 1 9. พลังงานชนิดใดสญู เสียไปเสมอในแง่ของการถา่ ย ข. ลำดับท่ี 2 ทอดพลงั งาน ค. ลำดับท่ี 3 ง. ลำดับสดุ ทา้ ย ก. พลังงานเคมี ข. พลงั งานความร้อน ค. พลังงานแสง ง. พลงั งานไฟฟา้ 10. ในการถ่ายทอดพลังงาน ผ้บู ริโภคไดร้ บั พลังงาน จากผู้ผลติ เพียง 50 % เพราะ ก. ผบู้ รโิ ภคมมี ากกวา่ ผูผ้ ลติ ข. ผบู้ ริโภคเลอื กรบั ชนดิ ของผู้ผลิตบางชนิดเท่านน้ั ค. ผบู้ รโิ ภคไม่สามารถเอาเน้ือเยอื่ ของพชื มาใช้ ได้หมด ง. ผู้บรโิ ภคไม่สามารถจะย่อยสลายเน้อื เย่ือพืชได้ ทง้ั หมด

ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 157 กระดาษคำตอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น ช่อื .................................................................................... ชนั้ ................. เลขท.ี่ ......... ขอ้ กขค ง จ 123 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ .................... คะแนน พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ท่ี 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ | 167 ใบความรู้ ชดุ การเรียนร้ทู ี่ 4 วิชาวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ชีววิทยา) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวติ ทอ่ี าศยั อยรู่ ่วมกนั สิง่ มีชีวิตในระบบนิเวศมีความสมั พนั ธ์กันในแง่ของอาหารกลมุ่ ส่ิงมชี ีวติ ชนดิ ตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ร่วมกันและมี ความสัมพันธซ์ ่ึงกนั และกนั ถ้าจำแนกตามลกั ษณะการดำรงชีวิตหรือตามลกั ษณะการกิน แบง่ ออกเป็น 3 กลมุ่ ดังนี้ 1. ผผู้ ลติ (producer) หมายถงึ ส่ิงมีชีวิตทสี่ ามารถสรา้ งอาหารเองได้ ไดแ้ ก่ พืชสีเขยี ว แบคทีเรยี บาง ชนดิ 2. ผบู้ ริโภค (consumer) ได้แก่ สงิ่ มชี ีวติ ทส่ี รา้ งอาหารเองไม่ได้ ได้แก่ สัตวท์ กุ ชนดิ ท่ีบรโิ ภคพืชหรือสตั ว์ ดว้ ยกันเองเปน็ อาหาร ผ้บู ริโภคแบง่ กลุ่มออกเป็นกล่มุ ย่อย ไดด้ งั นี้ 2.1 ผบู้ ริโภคพชื (herbivores) ได้แก่ ผบู้ ริโภคทก่ี นิ พืชเป็นอาหาร 2.2 ผ้บู ริโภคสัตว์ (carnivores) ได้แก่ ผู้บริโภคที่กินสัตว์เป็นอาหาร 2.3 ผู้บรโิ ภคทั้งพืชและสตั ว์ (omnivores) ไดแ้ ก่ ผบู้ ริโภคที่กินท้ังพืชและสัตวเ์ ป็นอาหาร 2.4 ผบู้ รโิ ภคซากสิ่งมีชีวิต (detritivores) ไดแ้ ก่ ผู้บริโภคที่กนิ ซากพชื ซากสัตวเ์ ป็นอาหาร ถ้ากนิ ซากสตั ว์เป็นอาหารอยา่ งเดยี ว เรยี กว่า สัตว์กนิ ซากสัตว์ (scavenger) 3. ผู้ย่อยสลายสาร (decomposers) ได้แก่ พวกทีย่ อ่ ยสลายสงิ่ มีชวี ติ ทตี่ ายแล้วส่ิงมชี วี ิตเหลา่ นจ้ี ะกิน อาหารในรปู ของสารละลายและมีกลไกในการกินแบบ osmosis ไดแ้ ก่ จุลินทรยี ์ แบคทีเรยี เห็ดรา เป็นตน้ การถา่ ยทอดพลงั งาน ดวงอาทิตย์นับเป็นแหล่งทใ่ี ห้พลงั งานกับระบบนิเวศโลกได้รบั พลังงานน้ีในรปู ของการแผ่รงั สี แตร่ งั สี ทง้ั หมดทสี่ ง่ มาจากดวงอาทิตยน์ นั้ จะผา่ นบรรยากาศของโลกลงมาเพ่ือใช้ในการสังเคราะห์แสงเพียงประมาณ 1 % เทา่ น้นั ผู้ผลติ ในระบบนเิ วศจะเป็นพวกแรกท่ีสามารถจับพลังงานจากดวงอาทิตย์ไว้ได้ ในขบวนการสงั เคราะห์ดว้ ย แสง ผู้ผลิตซ่งึ เปน็ พืชที่มีคลอโรฟลิ ล์นี้ จะเปล่ียนพลังงานแสงใหเ้ ปน็ พลงั งานเคมี แล้วนำพลงั งานเคมีน้ีไป สังเคราะห์สารประกอบ ที่มีโครงสร้างอยา่ งงา่ ย คือ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ ห้เป็นสารประกอบที่มีโครงสร้างซับซ้อน และมีพลังงานสูง คือ คารโ์ บไฮเดรท พลังงานท่ีผู้ผลิตรับไว้ไดจ้ ากดวงอาทิตย์ และเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของสารอาหารนจี้ ะมีการถา่ ยทอดไป ตามลำดับข้ันของการกินอาหารภายในระบบนเิ วศ คือ ผู้บริโภคจะได้รับพลงั งานจากผู้ผลิต โดยการกินตอ่ กนั เป็น ทอดๆ ในแต่ละลำดับข้ันของการถ่ายทอดพลังงานน้ี พลังงานจะค่อยๆ ลดลงไปในแตล่ ะลำดบั เรอ่ื ยๆ ไป เนื่อง จากไดส้ ญู เสยี ออกไปในรูปของความรอ้ น การรับพลงั งานจากดวงอาทติ ย์ โดยผผู้ ลติ เปน็ จุดแรกที่มีความสำคัญยง่ิ ตอ่ ระบบนิเวศนนั้ ระบบนิเวศใดรบั พลงั งานไว้ได้มากย่อมแสดงให้เหน็ วา่ ระบบนิเวศนั้นมีความอดุ มสมบูรณ์มาก การเคลอ่ื นย้ายหรอื ถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศในรูปของอาหารจากผผู้ ลติ ไปสูผ่ ูบ้ รโิ ภค และจากผู้บริโภคไป สู่ผบู้ รโิ ภคอนั ดับต่อไปเปน็ ลำดบั ขั้นมลี ักษณะเปน็ ห่วงโซ่อาหาร พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 17 ในสภาพธรรมชาตจิ รงิ ๆ แล้วการกนิ กนั อาจไม่ไดเ้ ป็นไปตามลำดบั ท่แี น่นอน เชน่ ทีก่ ลา่ วมาเพราะผู้ล่าชนิด หนึง่ อาจจะล่าเหยื่อได้หลายชนดิ และขณะเดยี วกนั น้ี อาจจะตกเป็นเหย่ือของผู้ล่า เน่อื งจากทุกๆ ลำดบั ขนั้ ของการ ถ่ายทอดจะมีพลังงานสญู ไปในรปู ของความรอ้ นประมาณ 80-90 % ดงั นน้ั ลำดับของการกนิ ในลูกโซ่อาหารนี้จึงมี จำนวนจำกดั โดยปกตจิ ะสนิ้ สุดในลำดบั ท่ี 4-5 เท่านั้นลูกโซ่อาหาร สายใดมีลักษณะสั้นก็จะย่งิ มปี ระสิทธิ ภาพดี เท่าน้ันเพราะมีพลังงานรั่วไหลไปจากลกู โซ่ไดน้ อ้ ย การถ่ายทอดพลงั งานจงึ มีความซับซ้อนมากขึ้น และสัมพันธ์ เกีย่ วโยงกัน ไปมาในลกั ษณะสายใยอาหาร กลุ่มสงิ่ มีชีวติ ต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ จะมคี วามสมั พันธก์ ันในแง่ที่เป็นอาหารถ่ายทอดพลังงานต่อ กันเปน็ ทอดๆ ในลักษณะของห่วงโซอ่ าหาร ดังนี้ คอื ผผู้ ลิต  ผบู้ รโิ ภคอันดับ 1  ผู้บรโิ ภคอันดบั 2  ผบู้ ริโภคอันดบั 3  ผยู้ ่อยสลาย สง่ิ มีชีวิตในระบบนิเวศจะมีการถ่ายทอดพลงั งานกันเปน็ ทอดๆ ในลกั ษณะหว่ งโซ่อาหาร และ สายใย อาหาร การถ่ายทอดพลังงานจากผู้ผลติ สู่ผู้บรโิ ภค โดยการกนิ กนั เป็นทอดๆ ซ่ึงการถ่ายทอดเปน็ แนวเดยี วเรยี กว่า ห่วงโซ่อาหาร (food chain) เช่น กระตา่ ยกินหญ้า งูกนิ กระต่าย เหยี่ยวกินงู ภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ของสิง่ มชี วี ิตในรูปของโซ่อาหาร ทม่ี า : http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=60363 ในธรรมชาตจิ ริงๆ การกินเปน็ ทอดๆ จะไม่เป็นไปตามลำดบั สายตรงเพียงสายเดียว เพราะผบู้ รโิ ภคชนิด หน่งึ อาจกินอาหารไดห้ ลายชนิด และเป็นอาหารของผ้บู รโิ ภคในลำดับต่อไปไดห้ ลายชนดิ เชน่ กนั การถ่ายทอด พลงั งานท่ีสลบั ซบั ซ้อนแบบน้ีเราเรยี กวา่ สายใยอาหาร (food web) พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ท่ี 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ | 187 ภาพที่ 2 แสดงสายใยอาหาร ทมี่ า : http://www2.pop.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1310 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศจากผูผ้ ลิตไปยังผู้บริโภคลำดับต่างๆ จนถึงผสู้ ลายสารอินทรยี ์ พลงั งาน จะลดลงไปในแต่ละลำดับ และเมื่อพิจารณาจำนวนผผู้ ลิตไปยงั ผบู้ ริโภคลำดบั ตา่ งๆ จะมีจำนวนลดลงตามลำดับ ซ่ึง คลา้ ยกับการเปล่ียนแปลงมวลสาร ซงึ่ ท้ังการถ่ายทอดพลังงาน จำนวนประชากร และมวลของส่ิงมีชีวติ จะมี ลักษณะเป็นรูปพรี ะมิด ซึ่งมี 3 แบบดงั น้ี 1. พรี ะมดิ จำนวนของสงิ่ มชี ีวิต (pyramid of numbers) ผผู้ ลิตจะมีจำนวนมากกวา่ ผู้บรโิ ภคและ ผ้บู รโิ ภคลำดับท่ี 1 จะมจี ำนวนมากกวา่ ผบู้ รโิ ภคลำดับที่ 2 ผูบ้ ริโภคสุดทา้ ยของโซ่อาหารจะมีจำนวนนอ้ ยทส่ี ุด ภาพท่ี 3 พีระมิดจำนวน ทม่ี า : รศ. พเยาว์ ยินดสี ขุ และคณะ, ชีวติ กับสงิ่ แวดลอ้ ม ส่ิงมชี ีวิตกบั กระบวนการดำรงชีวติ 2555, หนา้ 27 พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ ครู/ชำนาญการ

ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 197 2. พีระมดิ มวลของส่ิงมีชีวติ (pyramid of biomass) สรา้ งขึ้นจากการคาดคะเนมวลของนำ้ หนักแห้ง ของส่ิงมชี วี ิตทีถ่ า่ ยทอดพลังงานตามลำดบั โซอ่ าหารแทนการนบั จำนวน เพราะจำนวนของส่ิงมีชีวติ อาจ คลาดเคลอื่ นได้ เนื่องจากขนาดของสง่ิ มชี วี ิตต่างกนั จึงเสนอความสมั พนั ธ์ในรปู ของมวลซึ่งมีความถกู ต้องมากกว่า พรี ะมิดจำนวนของสง่ิ มีชีวิต ภาพท่ี 4 พีระมิดมวลสิง่ มีชีวติ ทม่ี า : รศ. พเยาว์ ยนิ ดสี ขุ และคณะ, ชวี ติ กับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกบั กระบวนการดำรงชีวิต 2555, หน้า 27 3. พีระมิดปรมิ าณพลังงาน (pyramid of energy) เป็นพีระมดิ ท่ีแสดงอัตราการถ่ายทอดพลงั งานในรูป ของสารอาหาร (คือส่วนทก่ี นิ ได)้ ไปตามโซ่อาหาร ซง่ึ มคี วามชัดเจนมากกว่าพรี ะมดิ แบบอื่น และเปน็ พีระมิดที่มี ฐานกวา้ งเสมอ ภาพท่ี 5 พีระมิดพลังงาน ท่ีมา : รศ. พเยาว์ ยนิ ดีสขุ และคณะ, ชวี ิตกับสิง่ แวดล้อม ส่ิงมีชีวติ กับกระบวนการดำรงชีวติ 2555, หน้า 28 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศจากผูผ้ ลิตส่ผู ู้บริโภคในลำดับต่างๆ จนถงึ ผยู้ ่อยสลายอินทรีย์สาร พลงั งานจะมีคา่ ลดลงไปในแต่ละลำดับเรื่อยๆ เพราะพลังงานทไ่ี ดร้ บั มาส่วนหน่ึง สงิ่ มชี ีวิตจะใช้ในการประกอบ กจิ กรรมในชวี ิตประจำวนั จงึ มีพลงั งานบางส่วนเทา่ นน้ั ท่สี ะสมไว้เพ่อื การถ่ายทอดพลังงาน จงึ ทำใหล้ ำดับในการ ถา่ ยทอดพลงั งานมคี วามยาวจำกดั ปกตจิ ะสน้ิ สดุ ลำดบั ที่ 4-5 เทา่ น้ัน พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บริสทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 1170 เมอ่ื พิจารณาแนวการถ่ายทอดพลงั งานในหว่ งโซ่อาหารหน่ึงๆ โดยท่วั ไป สดั ส่วนของจำนวนสิ่งมชี วี ิตจะมี ลักษณะเปน็ รปู พีระมิดฐานกวา้ ง โดยผผู้ ลิตซ่ึงมีจำนวนมากทีส่ ุดจะอยู่ในตำแหน่งฐานพรี ะมิด และผู้บรโิ ภคลำดับ ต่างๆ จะอยู่ถดั ข้นึ ไปตามลำดับในลกั ษณะลดลงดงั แผนภาพท่ี 6 ภาพที่ 6 พรี ะมดิ โซอ่ าหารของสิง่ มีชวี ิต ทม่ี า : https://sites.google.com/site/science0152/17 พลังงานท่สี ่ิงมชี ีวิตแต่ละลำดับขัน้ ในระบบนเิ วศไดร้ ับน้นั จะไมเ่ ทา่ กัน ตามหลักของลนิ ด์แมนกลา่ วไวว้ า่ พลงั งานที่ไดร้ บั จากผผู้ ลิตทกุ ๆ 100 ส่วน จะมเี พยี ง 10 ส่วนเทา่ นน้ั ท่ีผบู้ ริโภคนำไปใชใ้ นการดำรงชวี ิตและการ เจรญิ เตบิ โต และพลังงานในผู้บรโิ ภคแต่ละลำดับทกุ ๆ 100 ส่วนกจ็ ะถกู นำไปใช้แค่ 10 ส่วนเช่นกนั ลักษณะแบบนี้ เรียกว่า กฎสิบเปอรเ์ ซน็ ต์ (Law of ten percent) ดงั แสดงในภาพท่ี 7 ภาพที่ 7 การถา่ ยทอดพลงั งานในโซอ่ าหารตามหลักการของลินดแ์ มน ที่มา : http://www2.pop.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1310 พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บรสิ ุทธ์ิ ครู/ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ | 1171 ใบกจิ กรรมท่ี 1 ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน (ชวี วิทยา) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ กลมุ่ ท่ี ...................... สมาชิกในกลุ่ม 1).................................................................... 4).................................................................... 2) .................................................................. 5).................................................................... 3) .................................................................. 6).................................................................... จุดประสงค์ของกจิ กรรม 1. เขียนความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวิตชนดิ ตา่ งๆ ในแง่การกินกนั เปน็ อาหารได้ 2. บอกความสำคญั ของดวงอาทิตยต์ ่อระบบนเิ วศได้ 3. บอกปัจจยั ทรี่ บกวนหรอื ทำลายสายใยอาหารตา่ งๆ ได้ 4. ระบชุ อ่ื ผบู้ ริโภคอนั ดบั ต่างๆ ในสายใยอาหารได้ 5. บอกความแตกต่างของสายใยอาหารและหว่ งโซ่อาหารได้ วสั ดุและอุปกรณ์ 1. บตั รคำ 8 ใบ ดงั ตอ่ ไปน้ี ต้นไมส้ เี ขยี ว ดวงอาทิตย์ เต่าทอง หนอน นก แมงมุม ตก๊ั แตน แมลงปีกแขง็ 2. กระดาษวาดภาพ 1 แผน่ 3. ปากกาเมจิ 1 ดา้ ม ลำดบั ขน้ั ตอนในการปฏิบัติ 1. ให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ศึกษาบตั รคำที่ครแู จก 2. เขียนความสัมพนั ธ์ของส่งิ มชี ีวิตท่กี ำหนดใหว้ า่ สงิ่ มีชีวติ ชนดิ ใดกนิ อะไรเป็นอาหารโดยให้เขียนลูกศร และหันหวั ลกู ศรไปทางผู้กนิ ใหต้ ดิ บตั รช่อื ส่งิ ตา่ งๆ ในกระดาษวาดภาพ และใชป้ ากกาหรือดนิ สอเขียนลกู ศร บนั ทกึ ผลการทำกิจกรรม . . . . . . . . . . . . . . พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ท่ี 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ | 1172 สรปุ ผลการทำกิจกรรม . . . . . . . . . . . . . . . คำถามทา้ ยกิจกรรม . 1. สง่ิ ใดเปน็ ผู้ผลติ . ตอบ : . . 2. ผู้บรโิ ภคอนั ดบั 2 ไดแ้ ก่สงิ่ มชี วี ติ ชนดิ ใด (แมงมุม นก เต่าทอง) . ตอบ : . . 3. ผบู้ รโิ ภคอันดบั สุดทา้ ยคือส่ิงมีชวี ิตอะไร . ตอบ : . . . 4. สายใยอาหารและห่วงโซ่อาหารเหมือนและต่างกันอย่างไร . ตอบ : . . . . . . 5. ดวงอาทติ ยเ์ กย่ี วข้องกับระบบนิเวศนี้อยา่ งไร ตอบ : . . . . . 6. ถา้ ไมม่ ีต้นไม้จะมีผลอยา่ งไรกับระบบนเิ วศนี้ . ตอบ : . . . พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ | 1173 ใบงานท่ี 1 ชดุ การเรียนรู้ที่ 4 วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน (ชวี วิทยา) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 สายใยอาหาร ชอ่ื ................................................................................................เลขท.ี่ ..............ชั้น................. คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นศึกษาสายใยอาหาร และอ่านคำถามท่ีกำหนดให้ แลว้ เขยี นคำตอบลงในชอ่ งวา่ ง ทก่ี ำหนดให้ถูกต้องสมบูรณ์ ใช้เวลา 10 นาที ( 5 คะแนน) แผนภาพ สายใยอาหาร ท่ีมา : รศ. พเยาว์ ยินดีสขุ และคณะ, ชวี ิตกบั สงิ่ แวดล้อม สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการดำรงชีวติ 2555, หน้า 29 พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บริสทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ที่ 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ | 1174 คำถาม 1. สิ่งมชี วี ิตชนิดใดเปน็ ผู้บริโภคอนั ดับ 1 ตอบ : . .. .. 2. ผ้บู รโิ ภคอันดับ 2 มีอะไรบา้ ง ตอบ : . .. .. 3. ผู้บริโภคอนั ดบั 4 หรืออันดบั สดุ ท้ายมีอะไรบ้าง ตอบ : . .. .. 4. นักเรียนคดิ ว่างูทก่ี นิ หนู กับงทู กี่ ินกบจะได้อาหารไปสร้างเนื้อเยื่อได้เท่ากนั หรือไม่ อย่างไร ถา้ เร่ิมตน้ จากพืช ปรมิ าณเท่าๆ กัน ตอบ : . .. .. .. .. .. 5. พลังงานที่ไมถ่ า่ ยทอดไปยังผบู้ ริโภคลำดบั ตอ่ ไปนัน้ สูญหายไปทางใดบา้ ง ตอบ : . .. .. .. .. .. พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ุทธิ์ ครู/ชำนาญการ

ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ | 1175 ใบงานที่ 2 ชดุ การเรียนรู้ที่ 4 วชิ าวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน (ชีววิทยา) ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ช่อื ................................................................................................เลขท.่ี ..............ช้ัน................. . . คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอ่านคำถามที่กำหนดให้ แล้วเขียนคำตอบลงในชอ่ งวา่ งที่กำหนดให้ถูกต้องสมบรู ณ์ . ใชเ้ วลา 10 นาที ( 5 คะแนน) . 1. โซอ่ าหารหมายถงึ อะไร . ตอบ : . . . . . . . 2. สายใยอาหารหมายถึงอะไร . ตอบ : . . . . . . . 3. พชื มคี วามสำคญั ต่อส่ิงมีชวี ิตในโซอ่ าหารอยา่ งไรบ้าง . ตอบ : . . . . . . . 4. ขณะถ่ายทอดพลังงาน มีพลังงานสูญหายไปทางใดบ้าง . ตอบ : . . . 5. พรี ะมดิ จำนวนของส่ิงมีชีวติ (pyramid of number) คืออะไร ตอบ : . . . พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ

ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ | 1176 ใบสรุปเนอ้ื หา ชุดการเรยี นร้ทู ี่ 4 วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน (ชีววทิ ยา) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสงิ่ มชี ีวิตทอี่ าศัยอยู่ร่วมกัน ส่งิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศมีความสัมพนั ธ์กันในแงข่ องอาหารกลุ่มสิ่งมีชีวิตชนดิ ต่างๆ ท่อี ยรู่ ่วมกันและมี ความสมั พันธ์ซ่งึ กนั และกนั ถ้าจำแนกตามลกั ษณะการดำรงชวี ิตหรอื ตามลักษณะการกิน แบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ ดงั น้ี 1. ผผู้ ลิต (producer) 2. ผบู้ ริโภค (consumer) 2.1 ผบู้ รโิ ภคพืช (herbivores) 2.2 ผบู้ ริโภคสตั ว์ (carnivores) 2.3 ผ้บู ริโภคท้ังพชื และสัตว์ (omnivores) 2.4 ผบู้ รโิ ภคซากส่ิงมชี วี ิต (detritivores) 3. ผูย้ อ่ ยสลายสาร (decomposers) การถ่ายทอดพลงั งาน ดวงอาทิตยน์ บั เป็นแหล่งทใ่ี ห้พลังงานกับระบบนิเวศโลกได้รับพลงั งานนใี้ นรปู ของการแผ่รงั สี แต่รังสี ทัง้ หมดทส่ี ง่ มาจากดวงอาทิตย์น้ัน จะผา่ นบรรยากาศของโลกลงมาเพื่อใชใ้ นการสงั เคราะห์แสงเพยี งประมาณ 1 % เท่าน้นั ผ้ผู ลิตในระบบนิเวศจะเปน็ พวกแรกทีส่ ามารถจบั พลังงานจากดวงอาทติ ย์ไวไ้ ด้ ในขบวนการสงั เคราะห์ด้วย แสง ผูผ้ ลิตซึ่งเปน็ พืชทมี่ ีคลอโรฟิลล์น้ี จะเปล่ียนพลงั งานแสงใหเ้ ปน็ พลังงานเคมี แลว้ นำพลังงานเคมนี ้ีไป สังเคราะห์สารประกอบ ท่มี ีโครงสร้างอยา่ งงา่ ย คือ คาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นสารประกอบที่มีโครงสรา้ งซับซ้อน และมีพลังงานสูง คือ คารโ์ บไฮเดรท ในสภาพธรรมชาตจิ รงิ ๆ แลว้ การกินกันอาจไม่ได้เป็นไปตามลำดบั ทแ่ี น่นอน เช่นทก่ี ล่าวมาเพราะผ้ลู ่า ชนิดหน่งึ อาจจะลา่ เหย่ือได้หลายชนิดและขณะเดียวกนั น้ี อาจจะตกเป็นเหยื่อของผูล้ ่า เนื่องจากทกุ ลำดับข้ันของ การถ่ายทอดจะมีพลงั งานสูญไปในรปู ของความรอ้ นประมาณ 80-90 % ดังน้นั ลำดบั ของการกินในลูกโซ่อาหารน้ี จงึ มีจำนวนจำกัด โดยปกตจิ ะสนิ้ สุดในลำดบั ท่ี 4-5 เทา่ นัน้ ลกู โซอ่ าหาร สายใดมีลักษณะส้ันกจ็ ะย่งิ มีประสทิ ธภิ าพ ดีเทา่ นั้นเพราะมีพลังงานรัว่ ไหลไปจากลกู โซไ่ ดน้ อ้ ย เชน่ ชนดิ อ่ืนๆ อีกหลายชนดิ เชน่ กัน การถา่ ยทอดพลังงาน จงึ มี ความซับซ้อนมากขึ้น และสัมพนั ธ์เกี่ยวโยงกนั ไปมาในลกั ษณะ สายใยอาหาร (food web) การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศจากผู้ผลิตไปยงั ผู้บริโภคลำดับตา่ งๆจนถงึ ผู้สลายสารอินทรยี ์ พลงั งาน จะลดลงไปในแต่ละลำดับ และเมื่อพจิ ารณาจำนวนผู้ผลิตไปยงั ผูบ้ รโิ ภคลำดบั ต่างๆ จะมีจำนวนลดลงตามลำดับ ซ่งึ คล้ายกับการเปลีย่ นแปลงมวลสาร ซึ่งทงั้ การถ่ายทอดพลังงาน จำนวนประชากร และมวลของส่งิ มีชีวติ จะมี ลกั ษณะเป็นรูปพีระมดิ ซ่ึงมี 3 แบบดังน้ี 1. พรี ะมดิ จำนวนของสิง่ มีชวี ิต ( pyramid of numbers ) 2. พีระมดิ มวลของสง่ิ มชี วี ิต ( pyramid of biomass ) 3. พรี ะมดิ ปริมาณพลังงาน ( pyramid of energy ) พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บรสิ ทุ ธ์ิ ครู/ชำนาญการ

ชุดการเรยี นรู้ท่ี 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 1177 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ หลงั เรียน ชดุ การเรียนรู้ท่ี 4 วิชาวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน (ชวี วทิ ยา) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรือ่ งการถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ จำนวน 10 ข้อ คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคำตอบที่ถูกต้องทส่ี ุดเพียงขอ้ เดียว แล้วกาเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. องคป์ ระกอบสำคญั ที่เกี่ยวข้องกบั การถ่ายทอด 6. “เพลีย้ สม้ นก แมงมุม” จะสามารถเขียนความ พลังงานในระบบนิเวศคือข้อใด สัมพันธ์ในรูปโซ่อาหารได้อย่างไร ก. ผูผ้ ลติ , ผบู้ รโิ ภค ก. ส้ม  นก  แมงมุม  เพลี้ย ข. ผู้ผลิต, ผู้ย่อยสลาย ข. ส้ม  แมงมุม  เพล้ยี  นก ค. ผบู้ ริโภค, ผู้ยอ่ ยสลาย ค. สม้  เพลี้ย  แมงมมุ  นก ง. ผผู้ ลติ , ผ้บู ริโภค, ผู้ยอ่ ยสลาย ง. สม้  เพล้ยี  นก  แมงมุม 2. การถ่ายทอดพลังงานจากโซ่อาหารหนง่ึ ไปอีกโซ่ 7. ห่วงโซอาหารเกีย่ วขอ้ งกบั เร่ืองใดมากทส่ี ุด อาหารหน่งึ ซ่ึงเปน็ ความสัมพันธส์ ลบั ซบั ซอ้ น เรียกวา่ ก. สายใยอาหาร ก. การมรี ะดบั ของสิ่งมีชีวติ ข. วฏั จักรอาหาร ค. ห่วงโซอ่ าหาร ข. ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ง. พีระมดิ พลังงาน ค. ความเกย่ี วข้องของระดบั ชีวติ 3. อาหารส่วนใหญ่ทพ่ี ชื สรา้ งขนึ้ โดยกระบวนการ สังเคราะหด์ ้วยแสงจะถูกสะสมไว้ในรปู ใด ง. การถ่ายทอดพลงั งานต่อกันไป ก. ไขมัน ข. แป้ง 8. ในระบบนิเวศของสระนำ้ ปลาจะเป็นผบู้ รโิ ภคลำดบั ค. โปรตนี ท่ี 2 ขอ้ ใดคือผู้บริโภคลำดบั ที่ 1 ง. วติ ามิน 4. สัตวใ์ นขอ้ ใดเป็นผูบ้ รโิ ภคลำดับท่ี 1 ท้ังหมด ก. ปู ก. แมว พยาธิ งู ข. เสือ หนู จ้งิ จก ข. หอย ค. วัว มา้ กระตา่ ย ค. ไรน้ำ ง. กบ ปลา นกเหยีย่ ว 5. ในลำดับโซอ่ าหาร เหยย่ี ว จดั เปน็ ผบู้ ริโภคลำดบั ง. ซากปลาดว้ ยกนั ท่เี ทา่ ไร ก. ลำดับท่ี 1 9. พลงั งานชนิดใดสูญเสยี ไปเสมอในแง่ของการถ่าย ข. ลำดบั ท่ี 2 ทอดพลังงาน ค. ลำดับท่ี 3 ง. ลำดับสดุ ทา้ ย ก. พลงั งานเคมี ข. พลังงานความร้อน ค. พลังงานแสง ง. พลงั งานไฟฟ้า 10. ในการถ่ายทอดพลังงาน ผบู้ ริโภคไดร้ ับพลังงาน จากผผู้ ลติ เพียง 50 % เพราะ ก. ผูบ้ ริโภคมมี ากกว่าผผู้ ลิต ข. ผ้บู รโิ ภคเลอื กรบั ชนดิ ของผผู้ ลติ บางชนิดเท่าน้นั ค. ผู้บริโภคไม่สามารถเอาเนอื้ เย่ือของพืชมาใช้ ไดห้ มด ง. ผบู้ รโิ ภคไมส่ ามารถจะย่อยสลายเน้ือเย่ือพืชได้ ทง้ั หมด พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ

ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ | 1178 กระดาษคำตอบ แบบทดสอบหลังเรียน ช่อื .................................................................................... ชน้ั ................. เลขท.่ี ......... ขอ้ กขค ง จ 123 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ .................... คะแนน พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บริสุทธ์ิ ครู/ชำนาญการ

ชดุ การเรยี นรู้ที่ 4 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ | 1179 บนั ทึกสรปุ ผลการเรยี น ชุดการเรียนรู้ท่ี 4 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ผลการประเมนิ ผลการทดสอบก่อนเรยี น ผลการทดสอบหลังเรยี น คะแนน ระดับ คะแนน ระดบั เกณฑค์ ะแนนการประเมนิ ผลการเรยี นก่อน-หลังเรยี น 9 –10 คะแนน ระดับ ดีมาก 7 – 8 คะแนน ระดบั ดี 5 – 6 คะแนน ระดบั พอใช้ 1 – 4 คะแนน ระดับ ควรปรับปรงุ สรุปผลการประเมนิ  ผ่าน  ไม่ผา่ น หมายเหตุ : นักเรียนจะผ่านเกณฑ์การประเมิน เม่ือทำข้อสอบได้ตั้งแต่ 8 คะแนนขึ้นไป พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธิ์ ครู/ชำนาญการ

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมชนสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. 2552 ประดิษฐ์ เหลา่ เนตร์ และคณะ. หนงั สอื เรียน ชวี วิทยา มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พแ์ มค็ . 2553. ประสงค์ หลำสะอาด และจิตเกษม หลำสะอาด. คูม่ อื ชีววทิ ยา ENTRANCE ม.4-5-6 ฉบับสมบรู ณ์. กรุงเทพมหานคร : พฒั นาศึกษา, 2543. พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ, ชวี ิตกบั ส่ิงแวดล้อม สง่ิ มชี ีวติ กับกระบวนการดำรงชวี ติ . กรุงเทพ : สำนกั พิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ, 2555. พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ชีววทิ ยา ม.4. กรุงเทพ : สำนักพมิ พ์ บรษิ ัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ, 2549. สมบุญ เตชะภญิ ญาวัฒน.์ พฤกษศาสตร์. พมิ พ์ครง้ั ที่ 3, กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ร้ัวเขยี ว, 2537. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธกิ าร. หนงั สอื เรียน สาระการเรียนรู้ พืน้ ฐานและเพม่ิ เตมิ ชีววิทยา เลม่ 6. พิมพ์ครั้งท่ี 4, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว, 2544. ฤทธิ์ วฒั นชัยย่ิงเจริญ. หนงั สอื เรียน ส่งิ มชี ีวติ กบั กระบวนการดำรงชีวิต ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทัศน์, 2553. http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b4.htm http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=60363 http://www2.pop.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1310 https://sites.google.com/site/science0152/17 พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธิ์ ครู/ชำนาญการ

ภาคผนวก พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ

แนวทางการบนั ทกึ ผล ใบกจิ กรรมที่ 1 ชุดการเรียนรทู้ ่ี 4 วิชาวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน (ชวี วิทยา) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ กลุม่ ที่ ...................... สมาชิกในกลุ่ม 1).................................................................... 4).................................................................... 2) .................................................................. 5).................................................................... 3) .................................................................. 6).................................................................... จุดประสงคข์ องกจิ กรรม 1. เขยี นความสมั พันธ์ของสง่ิ มีชวี ติ ชนดิ ต่างๆ ในแงก่ ารกินกันเปน็ อาหารได 2. บอกความสำคัญของดวงอาทติ ยต์ อ่ ระบบนิเวศได 3. บอกปจั จยั ทรี่ บกวนหรือทำลายสายใยอาหารต่างๆ ได้ 4. ระบชุ อื่ ผู้บรโิ ภคอันดบั ต่างๆ ในสายใยอาหารได้ 5. บอกความแตกต่างของสายใยอาหารและห่วงโซ่อาหารได้ วสั ดแุ ละอุปกรณ์ 1. บัตรคำ 8 ใบ ดังตอ่ ไปนี้ ต้นไม้สเี ขียว ดวงอาทิตย์ เต่าทอง หนอน นก แมงมุม ตก๊ั แตน แมลงปกี แข็ง 2. กระดาษวาดภาพ 1 แผน่ 3. ปากกาเมจิ 1 ดา้ ม ลำดับขั้นตอนในการปฏบิ ตั ิ 1. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษาบัตรคำท่ีครูแจก 2. เขยี นความสมั พนั ธ์ของสิง่ มชี วี ติ ทีก่ ำหนดให้วา่ ส่งิ มชี วี ติ ชนดิ ใดกินอะไรเป็นอาหารโดยให้เขยี นลูกศร และหันหัวลกู ศรไปทางผู้กนิ ใหต้ ิดบตั รชอ่ื สงิ่ ตา่ งๆ ในกระดาษวาดภาพ และใชป้ ากกาหรือดนิ สอเขียนลกู ศร บนั ทึกผลการทำกจิ กรรม พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ

สรุปผลการทำกิจกรรม ดวงอาทติ ยเ์ ปน็ แหลง่ พลงั งานทพี่ ชื สเี ชียวใช้ในการผลิตอาหาร จากน้นั แมลง ต๊กั แตนหนอน จะเปน็ ผ้บู ริโภคลำดับท่ี 1 เต่าทอง แมงมมุ จะเปน็ ผบู้ ริโภคลำดับท่ี 2 สว่ น นก จะเป็นผู้บรโิ ภคลำดับสดุ ทา้ ย การ กินตอ่ กนั เปน็ ทอดๆ เรียกวา่ ห่วงโซอ่ าหาร (food chain) และหลายๆ หว่ งโซ่อาหารมารวมกนั จะเปน็ สายใยอาหาร (food web) ในห่วงโซ่อาหารถา้ ขาดผูผ้ ลติ ส่ิงมีชวี ิตกจ็ ะตายหมดเพราะสิ่งมีชีวติ อื่นสรา้ ง อาหารเองไม่ได้ต้องอาศยั อาหารผู้ผลิตซงึ่ เป็นพชื สเี ขยี ว คำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. สงิ่ ใดเปน็ ผู้ผลิต ตอบ : พืชสเี ขยี ว 2. ผ้บู รโิ ภคอนั ดบั 2 ไดแ้ ก่สิง่ มชี วี ติ ชนิดใด ตอบ : แมงมุม นก เตา่ ทอง 3. ผู้บรโิ ภคอันดบั สดุ ทา้ ยคอื ส่ิงมชี ีวติ อะไร ตอบ : นก 4. สายใยอาหารและหว่ งโซ่อาหารเหมือนและตา่ งกนั อยา่ งไร ตอบ : เหมือนในแง่ความสมั พันธท์ ม่ี ีการถา่ ยทอดพลงั งานเปน็ ทอดๆ ไปตา่ งกันที่ห่วงโซอ่ าหาร มกี ารถา่ ยทอดพลงั งานเพยี งสายเดยี วไม่ซับซ้อน สง่ิ มีชวี ติ ชนดิ เดียวกนิ อาหารชนิดเดียว แต่ สายใยอาหารมีการถา่ ยทอดพลังงานซบั ซอ้ นกวา่ โดยส่ิงมชี ีวติ ชนิดเดียวอาจกินอาหารหลายชนิด 5. ดวงอาทิตยเ์ ก่ยี วขอ้ งกับระบบนเิ วศนอ้ี ยา่ งไร ตอบ : เป็นแหลง่ พลงั งานที่พชื ใช้ในการผลิตอาหาร 6. ถา้ ไมม่ ีต้นไมจ้ ะมีผลอย่างไรกับระบบนิเวศนี้ ตอบ : สิ่งมชี วี ติ จะตายหมด เพราะ หนอน แมลง ตก๊ั แตน ไม่มีอาหารกินกต็ ายแมงมุม เต่าทอง นก กข็ าดอาหาร ในที่สดุ จะตายหมด พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ

แนวคำตอบ ใบงานท่ี 1 ชดุ การเรียนรู้ที่ 4 วชิ าวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ชีววทิ ยา) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 สายใยอาหาร ชอื่ ................................................................................................เลขท.ี่ ..............ชั้น................. คำช้แี จง : ให้นักเรียนศกึ ษาสายใยอาหาร และอ่านคำถามที่กำหนดให้ แล้วเขยี นคำตอบลงในช่องวา่ ง ท่กี ำหนดให้ถกู ต้องสมบูรณ์ ใชเ้ วลา 10 นาที ( 5 คะแนน) แผนภาพ สายใยอาหาร ทม่ี า : รศ. พเยาว์ ยนิ ดีสขุ และคณะ, ชวี ิตกบั สงิ่ แวดลอ้ ม สิ่งมชี วี ติ กับกระบวนการดำรงชีวิต 2555, หน้า 29 พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บริสุทธิ์ ครู/ชำนาญการ

คำถาม 1. สิ่งมชี ีวิตชนดิ ใดเปน็ ผบู้ ริโภคอันดบั 1 ตอบ : กระต่าย หนู นกกนิ พชื ตก๊ั แตน 2. ผ้บู ริโภคอนั ดับ 2 มอี ะไรบา้ ง ตอบ : สนุ ขั จ้ิงจอก นกเคา้ แมว เหยี่ยว นกกนิ แมลง แมงมมุ แมลงปกี แข็ง กบ งู 3. ผูบ้ ริโภคอนั ดบั 4 หรืออนั ดับสดุ ทา้ ยมีอะไรบ้าง ตอบ : สุนัขจง้ิ จอก งู เหยย่ี ว 4. นักเรียนคดิ วา่ งทู ีก่ ินหนูกับกินกบจะได้อาหารไปสร้างเนื้อเย่ือไดเ้ ทา่ กันหรือไม่ อยา่ งไร ถ้าเรม่ิ ต้นจากพชื ปริมาณเท่าๆ กัน ตอบ : ไม่เท่ากัน เพราะงูที่กนิ หนูนัน้ โซ่อาหารสั้น คอื พชื  หนู  งู การสูญเสยี พลังงาน ระหวา่ งการถ่ายทอดพลังงานจึงน้อย ส่วนงทู ่กี นิ กบนน้ั โซอ่ าหารค่อนข้างยาว คอื พชื  ตัก๊ แตน  แมลงปกี แขง็  กบ  งู การสูญเสียพลังงานจึงค่อนขา้ งมาก ถ้าเรม่ิ ตน้ ท่ีพืช 1,000 g เท่ากนั งูทก่ี ินหนูจะได้รับการ ถ่ายทอดเทา่ กับ 10 g ส่วนงูท่ีกินกบจะได้รับการถ่ายทอดพลงั งานเทา่ กบั 0.1 g เท่านั้น เนอ่ื งจากสูญเสยี ระหว่างการถ่ายทอด 5. พลังงานทไี่ ม่ถ่ายทอดไปยังผู้บริโภคลำดับตอ่ ไปนัน้ สญู หายไปทางใดบา้ ง ตอบ : พลงั งานที่ไม่ถ่ายทอดไปนั้นสูญหายไปในดา้ นตอ่ ไปนี้ 1. เปลี่ยนเปน็ พลังงานความร้อนกลับคืนส่สู ิง่ แวดล้อม 2. เปลย่ี นเปน็ พลังงานท่ใี ชใ้ นการหายใจ นอกจากน้ีในการกนิ อาหารนน้ั จะมบี างส่วนท่ีกินไม่ได้ เช่น ขน เลบ็ กระดกู เป็นตน้ บางส่วนที่เปน็ กากอาหาร พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ

แนวคำตอบ ใบงานท่ี 2 ชุดการเรยี นร้ทู ่ี 4 วชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน (ชีววทิ ยา) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ชือ่ ................................................................................................เลขท.ี่ ..............ชน้ั ................. คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนอา่ นคำถามท่ีกำหนดให้ แลว้ เขยี นคำตอบลงในชอ่ งวา่ งท่ีกำหนดใหถ้ กู ต้องสมบรู ณ์ ใชเ้ วลา 10 นาที ( 5 คะแนน) 1. โซ่อาหารหมายถงึ อะไร ตอบ : โซ่ทแ่ี สดงความสัมพันธ์ของสงิ่ มชี ีวติ ในแงท่ ่เี ป็นอาหาร ถา่ ยทอดพลังงานต่อกันเปน็ ทอดๆ 2. สายใยอาหารหมายถึงอะไร ตอบ : ความสมั พันธข์ องส่งิ มชี ีวติ ในการถา่ ยทอดพลังงานกนั อย่างซับซ้อนกว่าโซ่อาหาร โดยสงิ่ มีชีวิต ชนิดเดยี วอาจกินอาหารหลายชนิด ซงึ่ โซอาหารมกี ารถ่ายทอดพลังงานสายเดียวไม่ซับซ้อน 3. พืชมีความสำคัญต่อส่งิ มชี วี ิตในโซ่อาหารอยา่ งไรบ้าง ตอบ : พืชสามารถสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ และเกดิ แกส๊ ออกซิเจน ทำให้อากาศบรสิ ทุ ธิ์ เหมาะแก่การ หายใจของส่งิ มีชวี ติ ทกุ ชนดิ พืชเป็นแหลง่ อาหารของส่ิงมชี วี ิต และยังเปน็ แหลง่ ต้นนำ้ ลำธาร 4. ขณะถ่ายทอดพลงั งาน มพี ลงั งานสูญหายไปทางใดบา้ ง ตอบ : ขณะถ่ายทอดพลังงาน มีพลงั งานสญู หายไปดงั นี้ 1. เปน็ สว่ นท่รี บั ประทานไม่ได้ เชน่ ขน กระดกู เปลือก 2. เปน็ กากอาหารท่ดี ดู ซึมไปใชไ้ มไ่ ด้ ต้องมีการขับถ่ายออกไป 3. เปลย่ี นเปน็ พลงั งานท่ใี ชใ้ นการหายใจ 5. พีระมิดจำนวนของสงิ่ มชี วี ิต (pyramid of number) คืออะไร ตอบ : คือการใชจ้ ำนวนของสิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศนัน้ ๆ มาเขยี นเรียงลำดับ โดยผ้ผู ลิตอยูท่ ี่ฐาน ผู้บรโิ ภคลำดบั ต่างๆ ก็เรียงลำดับตอ่ ข้นึ ไป หน่วยเป็นจำนวนต่อตารางเมตร พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ

เฉลยแบบทดสอบวดั ผลการเรยี นรู้ กอ่ นเรียนและหลังเรยี น ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 4 วิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน (ชีววิทยา) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เรื่องการถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ จำนวน 10 ขอ้ 1. ง 2. ก 3. ข 4. ค 5. ง 6. ค 7. ง 8. ค 9. ข 10. ค พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ

พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook