ชดุ การเรียนรู้ เรื่องระบบนเิ วศ วชิ าวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ชีววิทยา) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ชดุ การเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ โดย วา่ ที่ ร้อยโทอดุ ม บรสิ ุทธ์ิ ครู / ชำนาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นลำพลบั พลาวิทยาคาร อำเภอชุมพลบรุ ี จังหวัดสุรินทร์ สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 33 พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บริสทุ ธ์ิ ครู/ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ | 1ก7 คำนำ การจัดทำชดุ การเรยี นรู้ เรื่องระบบนิเวศ เล่มน้ีจดั ทำขนึ้ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาและการพฒั นา การเรยี นการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน (ชีววิทยา) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เพื่อช่วยให้ผเู้ รียนสามารถเกดิ การเรียนรู้เป็นไปตามลำดบั ขั้นตอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าได้พยายามศึกษาค้นคว้าเอกสารและตำราตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การทำชุดการเรียนรู้ เพอ่ื ใหเ้ กิดความชดั เจนถกู ต้องตามหลักวชิ า ดังนน้ั จึงไดจ้ ัดทำชุดการเรียนรู้ ท้ังหมด 6 ชุดดงั น้ี ชุดท่ี 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ ชดุ ที่ 2 ประเภทของระบบนเิ วศ ชุดท่ี 3 ความสัมพนั ธ์ของสง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ ชดุ ที่ 4 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ ชุดท่ี 5 การหมนุ เวียนสารในระบบนิเวศ ชดุ ที่ 6 การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีของสิง่ มชี วี ิต ในแตล่ ะชดุ การเรยี นรู้ นักเรยี นสามารถนำไปศึกษาได้ด้วยตนเอง ทบทวนเน้ือหา หรือสามารถนำไปศึกษา เพ่ิมเติมกรณีทน่ี ักเรยี นไมท่ ันเพอื่ น หรอื สามารถนำไปใชใ้ นการเรียนซอ่ มเสรมิ ในกรณที ่ีเรยี นแล้วสอบไมผ่ ่าน ซ่งึ ขา้ พเจ้าได้พยายามนำเสนอรายละเอยี ดความสำคญั ทีจ่ ำเปน็ ในชุดการเรียนร้นู ้ี ชุดการเรยี นรู้ทกุ เลม่ ดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชยี่ วชาญ และได้นำไปใช้เพื่อทดลองหา ประสิทธิภาพแลว้ จงึ สามารถนำมาใชแ้ กป้ ัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนได้อยา่ งดี ข้าพเจ้าจึงหวังเป็นอยา่ งยง่ิ วา่ ชุดการเรียนรนู้ ี้ สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ และเป็นตัวอยา่ งแก่ผู้ทส่ี นใจได้ต่อไป ว่าท่ี ร.ท.อุดม บริสทุ ธ์ิ ครู / ชำนาญการ พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ | 1ข7 สารบัญ คำนำ หน้า สารบญั ก คำช้แี จง ข ลำดับขั้นตอนการใช้ ชดุ การเรยี นรทู้ ่ี 1 1 สาระสำคัญ 2 ตัวชีว้ ัด 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3 แบบทดสอบกอ่ นเรียน ชุดการเรียนร้ทู ี่ 1 3 ใบความรู้ 4 ใบกิจกรรมท่ี 1 6 ใบงานที่ 1 10 ใบสรุปเนอ้ื หา ชุดการเรยี นท่ี 1 12 แบบทดสอบหลังเรียน ชดุ การเรียนรทู้ ่ี 1 13 บันทกึ สรุปผลการเรียน 14 บรรณานกุ รม 16 ภาคผนวก 17 18 - แนวทางการบันทึกผล ใบกิจกรรมท่ี 1 - แนวคำตอบ ใบงานที่ 1 - เฉลยแบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บริสทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ | 117 คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นคำช้ีแจงให้เขา้ ใจก่อนทีจ่ ะลงมือศกึ ษาชุดการเรียนรู้ แล้วปฏบิ ตั ติ ามลำดับขน้ั ตอน ดังตอ่ ไปนี้ 1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพือ่ ประเมนิ ความรูพ้ ืน้ ฐานเดมิ ก่อนท่จี ะลงมือศึกษาชุดการเรยี นรู้ 2. นกั เรียนศกึ ษาชดุ การเรียนรู้ และปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยการศกึ ษาใบความรู้ ใบกจิ กรรม และใบงาน 3. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ซักถาม หรือมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ อยา่ งเต็มที่ และเต็มความสามารถ 4. นักเรยี นตอ้ งปฏิบัตติ นเปน็ สมาชกิ ที่ดขี องกลมุ่ ยอมรับฟังความคิดเหน็ ของสมาชกิ กลุ่ม และให้ความ รว่ มมอื ในการทำงานอยา่ งเต็มความสามารถ 5. นักเรียนตรวจคำตอบจากแนวคำตอบ 6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นเพอื่ เปรียบเทียบความก้าวหน้าในการศึกษาชุดการเรยี นรู้ 7. เม่อื ปฏิบัติกิจกรรมแตล่ ะกิจกรรมเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ให้สง่ ใบกิจกรรม และเก็บวสั ดุอุปกรณท์ ุกอย่าง ตลอดจนสถานท่ปี ฏบิ ัติกจิ กรรมให้สะอาดเรียบร้อย 8. ให้นักเรียนปฏิบัติกจิ กรรมด้วยความต้ังใจ และมีความซื่อสตั ยต์ อ่ ตนเองใหม้ ากที่สดุ โดยไม่ดูแนว คำตอบ และเฉลยก่อนทำแบบทดสอบ และกิจกรรมตา่ งๆ พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ | 127 ลำดบั ขั้นตอนการใช้ ชดุ การเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ อา่ นคำชี้แจง ทดสอบกอ่ นเรียน ไม่ผา่ นเกณฑ์ (ร้อยละ 80) กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทดสอบหลังเรียน ศึกษาใบความรู้ ใบความรู้ ชุดการเรียนรูท้ ่ี 1 ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม และใบงาน ใบกิจกรรมที่ 1 ใบงานที่ 1 สรุปเนอ้ื หาชุดการเรียนรู้ท่ี 1 ผา่ นเกณฑ์ (รอ้ ยละ 80) ศึกษาชดุ ต่อไป พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ทุ ธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ | 137 สาระสำคญั ความหมายของระบบนิเวศ ส่งิ มีชวี ิตส่วนใหญจ่ ะอาศัยอยู่รวมกันเปน็ กล่มุ เรียกว่า กลุม่ สิ่งมีชีวิต (community) กลุม่ ส่ิงมชี ีวติ เหลา่ น้ี จะอาศัยอยู่ในบริเวณทเี่ ปน็ แหลง่ ท่อี ยู่ (habitat) ท่ีแตกต่างกัน กลุม่ สงิ่ มีชีวิตที่อาศยั อยรู่ ่วมกนั จะมีความสมั พันธ์ กนั และมีความสัมพันธก์ ับแหล่งท่อี ยู่ เรียกว่า ระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนิเวศ = กล่มุ ส่ิงมชี ีวติ + แหล่งที่อยู่ ระบบนเิ วศ เป็นโครงสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ ต่างๆ กับบริเวณแวดล้อมที่สิ่งมีชีวติ เหล่าน้ี ดำรงชวี ติ อยู่ ระบบนเิ วศนัน้ เปน็ แนวคดิ (concept) ทีน่ ักนเิ วศวิทยาไดน้ ำมาใช้ในการมองโลกสว่ นย่อยๆ ของโลก เพือ่ ทจ่ี ะไดเ้ ข้าใจความเปน็ ไปบนโลกน้ไี ดด้ ีขน้ึ โครงสร้างของระบบนเิ วศ ระบบนเิ วศทุกระบบไม่วา่ จะเล็กหรอื ใหญ่ ต้องมีองค์ประกอบ 2 สว่ น คอื 1. องค์ประกอบที่ไม่มีชวี ิต (Abiotic component) ไดแ้ ก่ แรธ่ าตุตา่ งๆ เช่น ไนโตรเจน (N) คาร์บอน (C) ออกซเิ จน (O) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) นำ้ (H2O) และอินทรียส์ ารทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ สง่ิ มีชวี ติ ตลอดจน สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพอ่ืนๆ เช่น แสง อุณหภูมิ ความเป็นกรด เป็นดา่ ง ความเค็ม ความชืน้ เปน็ ต้น 2. องคป์ ระกอบท่มี ีชีวติ (Biotic component) ได้แก่ ผู้ผลติ ผบู้ ริโภคลำดบั ต่างๆ และผู้ยอ่ ยสลายเปน็ ต้น ตัวช้วี ัด ว 2.1 ม.4-6/1 อธิบายดลุ ยภาพของระบบนิเวศ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกวามหมายของระบบนิเวศได้ถูกตอ้ ง (K) 2. อธบิ ายโครงสรา้ งและความสัมพันธ์ของส่งิ มชี วี ติ และส่งิ ไมม่ ีชวี ติ ในระบบนเิ วศน้นั ได้ (K) 3. สำรวจสภาพทางกายภาพและชีวภาพตามบรเิ วณท่สี นใจได้ (P) 4. นำเสนอผลการสำรวจหนา้ ช้ันเรียนได้ (P) 5. เขยี นแผนภาพแสดงความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบภายในระบบนิเวศในทอ้ งถ่นิ ได้ (P) 6. แสดงความเปน็ คนชา่ งสังเกต ชา่ งคิด ช่างสงสยั ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ ม่นั ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บริสทุ ธิ์ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ | 147 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ ก่อนเรยี น ชดุ การเรียนรทู้ ี่ 1 วชิ าวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ชีววิทยา) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรอ่ื งความหมายและโครงสร้างของระบบนิเวศ จำนวน 10 ข้อ คำชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถกู ต้องทส่ี ดุ เพียงข้อเดียว แลว้ กาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ข้อใดไมจ่ ดั เป็นระบบนิเวศ 6. สง่ิ มชี วี ิตในข้อใดต่อไปน้ีจัดเป็นกล่มุ สิ่งมชี ีวิต ก. บอ่ น้ำทม่ี ีสง่ิ มีชีวิตอยเู่ ตม็ ข. ลานจอดรถพน้ื คอนกรตี (community) ค. สนามหญา้ หนา้ โรงเรยี น ง. สวนดอกไม้หนา้ เสาธง ก. จ้ิงหรดี และตกั๊ แตนในกอหญา้ 2. ระบบนเิ วศที่ใหญ่ทสี่ ดุ คือข้อใด ข. นกกระจาบ 20 ตวั บนกิง่ ไม้ ก. มหาสมุทร ข. ปา่ ไม้ ค. โลกของส่ิงมชี ีวิต ง. ท่งุ หญ้า ค. มดแดงจำนวนมากมายในรัง 3. ระบบนิเวศ ประกอบดว้ ยส่ิงใด ง. ปลาหางนกยงู 100 ตวั ในอ่างน้ำ ก. herbivore + carnivore + omnivore ข. producer + consumer + decomposer 7. ข้อใดต่อไปนี้ถอื ว่าเปน็ ปัจจัยทางกายภาพ (physical ค. population + habitat ง. community + habitat factors) 4. ข้อใดคือความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) ก. จอก แหน สาหร่าย ก. สถานทีซ่ ่ึงส่งิ มีชวี ติ อาศัยอยู่ ข. ความสมั พนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ติ ชนดิ ต่างๆ ท่ีอยู่ ข. อุณหภมู ิ แสงสว่าง ความกดดนั รวมกันกบั แหลง่ ท่ีอยู่ ค. กลุ่มของสง่ิ มชี วี ติ ท่ีอยรู่ วมกันในแต่ละแหง่ ค. แรธ่ าตุ ดนิ จลุ นิ ทรยี ์ ง. สิ่งตา่ งๆ ที่อยรู่ วมกับสิง่ มีชีวติ ง. สารอาหาร ออกซเิ จน พชื น้ำ 5. แหลง่ ท่ีอยู่อาศยั มีความหมายตรงกบั ข้อความใด ตอ่ ไปนี้ 8. “ในการสำรวจปา่ ชายเลนแหง่ หน่ึง พบพืชประเภท ก. ปลาช่อนชอบอาศยั อย่ตู ามริมบ่อ หนอง บึง โกงกาง แสม เสมด็ ลำพู ขนึ้ ปะปนกันสว่ นในร่องนำ้ ที่มีพืชนำ้ ปกคลุมและมอี าหารอุดมสมบรู ณ์ และพืน้ ดินโคลนมลี กู ปลา หอย ปูกา้ มดาบกระจายอยู่ ข. กระบองเพชรเป็นพชื ทะเลทราย ใบเปล่ียนแปลง เป็นหนามเพอ่ื ช่วยลดอัตราการคายน้ำ โดยท่วั ไปการศึกษาต่อมาทราบว่าหอยกินใบไมท้ ่รี ่วง ค. นกปากห่างอพยพมาอาศยั ทำรงั อยชู่ ั่วคราว เปน็ อาหาร สว่ นปกู า้ มดาบกนิ หอย และลกู ปลา” (4-6 เดือน) ทวี่ ดั ไผล่ ้อมจังหวัดปทุมธานี ข้อมลู น้ีได้จากการศึกษาเกี่ยวกับ ง. สาหรา่ ยขา้ วเหนยี วเป็นพชื น้ำที่มีดอก รากดูด อาหารจากดนิ โดยตรง ใบเปลย่ี นโครงสรา้ ง ก. กลุ่มสิ่งมชี วี ติ ข. แหล่งท่อี ยู่อาศยั สำหรบั จบั สตั ว์น้ำเล็กๆ เปน็ อาหาร ค. ระบบนเิ วศ ง. ห่วงโซ่อาหาร 9. แหลง่ กำเนิดของพลงั งานในระบบนเิ วศคือข้อใด ก. ดวงอาทติ ย์ ข. ผ้ผู ลิต ค. ผบู้ รโิ ภค ง. แรธ่ าตอุ าหาร 10. ข้อใดไม่ได้แสดงถึงความสมั พันธ์ระหว่างสิง่ มชี วี ติ กบั แหล่งที่อยู่ ก. การเปล่ียนสขี องจ้ิงจก ข. การอพยพของนกบางชนิด ค. การมีสีสวยงามของดอกกลว้ ยไม้ ง. การมีอวัยวะขจัดเกลือออกจากร่างกายของนกทะเล พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธิ์ คร/ู ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ | 157 กระดาษคำตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ช่อื .................................................................................... ช้ัน................. เลขท.่ี ......... ข้อ กขค ง จ 123 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ .................... คะแนน พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ | 167 ใบความรู้ ชดุ การเรียนรูท้ ่ี 1 วิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน (ชวี วทิ ยา) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ความหมายและโครงสร้างของระบบนิเวศ ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ ความหมายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถงึ ความสัมพนั ธข์ องกลุ่มสง่ิ มชี วี ิตในแหลง่ ทอ่ี ยู่ โดยกลุ่มสิ่งมีชีวติ จะมี ความสัมพันธ์กับสิ่งไม่มชี ีวติ ที่เปน็ สภาพแวดล้อมที่อาศยั อยู่ และมคี วามสมั พนั ธซ์ ่ึงกนั และกนั เองทำใหเ้ กดิ ระบบ อยา่ งถาวรของการหมุนเวียนแลกเปลยี่ นสาร และพลงั งานซ่ึงจะก่อให้เกดิ สภาวะสมดุลทางธรรมชาตขิ ึ้น ระบบ นิเวศอาจจะมขี นาดใหญ่หรือเลก็ กไ็ ด้ เชน่ ระบบนิเวศแหล่งน้ำจดื (fresh water ecosystem) ระบบนิเวศของ ทะเล (marine ecosystem) เป็นตน้ ภาพที่ 1 ระบบนเิ วศแหล่งน้ำจืด ท่มี า : http://i.ytimg.com/vi/JUrxCGQ6ciA/maxresdefault.jpg ภาพท่ี 2 ระบบนิเวศของทะเล ทมี่ า : http://ttangkwaa.blogspot.com/ พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บริสทุ ธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ | 177 สิ่งมชี ีวติ สว่ นใหญ่จะอาศยั อยู่รวมกนั เป็นกลุ่มเรยี กว่า กลมุ่ ส่ิงมีชีวติ (community) กลุ่มสิง่ มชี ีวติ เหลา่ น้ี จะอาศัยอยู่ในบริเวณทเี่ ป็นแหลง่ ทอ่ี ยู่ (habitat) ท่ีแตกต่างกนั กลมุ่ ส่งิ มชี ีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกนั จะมีความสัมพนั ธ์ กัน และมีความสมั พันธก์ บั แหล่งทอี่ ยู่ เรียกว่า ระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนเิ วศ = กลุ่มสง่ิ มชี ีวิต + แหลง่ ทอ่ี ยู่ ระบบนเิ วศ เป็นโครงสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ติ ต่างๆ กับบริเวณแวดล้อมที่สิง่ มีชีวติ เหล่าน้ี ดำรงชวี ิตอยู่ ระบบนเิ วศนน้ั เปน็ แนวคดิ (concept) ทนี่ กั นเิ วศวทิ ยาไดน้ ำมาใชใ้ นการมองโลกสว่ นยอ่ ยๆ ของโลก เพอื่ ท่ีจะได้เข้าใจความเป็นไปบนโลกนีไ้ ดด้ ีข้นึ ระบบนิเวศหน่ึงๆ นั้น ประกอบดว้ ยบรเิ วณท่สี ิ่งมชี วี ติ ดำรงอยู่ และกล่มุ ประชากรท่มี ชี ีวิตอยู่ในบริเวณ ดังกลา่ ว พชื และโดยเฉพาะสัตว์ตา่ งๆ ก็ตอ้ งการบริเวณท่อี ย่อู าศัยท่ีมขี นาดอยา่ งน้อยทีส่ ุดทเี่ หมาะสม ทงั้ นเ้ี พือ่ ว่า การมีชวี ิตอย่รู อดตลอดไป ยกตวั อยา่ งเชน่ สระน้ำแหง่ หนง่ึ เราจะพบสัตวแ์ ละพืชนานาชนิด ซ่งึ สามารถปรับตวั ให้ เข้ากบั บรเิ วณนำ้ ที่มันอาศยั อยู่โดยมจี ำนวนแตกตา่ งกันไปตามแตช่ นดิ สระนำ้ น้ันดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณ แวดลอ้ มอ่ืนๆ ดว้ ยขอบสระ แตต่ ามความเปน็ จริงแลว้ ปริมาณน้ำในสระสามารถเพ่มิ ขน้ึ ได้ โดยน้ำฝนท่ีตกลงมา ในขณะเดียวกันกบั ท่ีระดับผิวน้ำก็จะระเหยไปอยู่ตลอดเวลา น้ำทไี่ หลเขา้ มาเพิ่มกจ็ ะพัดพาเอาแรธ่ าตุและช้ินส่วน ตา่ งๆ ของพืชทีเ่ น่าเปอ่ื ยเข้ามาในสระตัวอ่อนของยงุ และลกู กบตัวเล็กๆ อาศยั อยู่ในสระน้ำ แตจ่ ะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึง่ มถี ิ่นที่อยนู่ อกสระกจ็ ะมาหาอาหารในสระน้ำ การไหลเขา้ ของสารและการสญู เสียสารเชน่ นี้จงึ ทำ ให้สระนำ้ เปน็ ระบบเปิดระบบหนึ่ง โครงสร้างของระบบนิเวศ ในระบบนเิ วศหน่ึงๆ ประกอบดว้ ยส่ิงมีชวี ติ และสภาพแวดล้อมท่ีไมม่ ชี ีวติ ซึ่งมีความสมั พันธ์เกย่ี วขอ้ งกนั อย่างใกลช้ ิด ขนาดและอาณาเขตของระบบนิเวศมีไม่จำกัด ระบบนิเวศทุกๆ ระบบจะมีโครงสร้างทีก่ ำหนดโดย ชนิดของสิง่ มีชีวติ เฉพาะอย่างทอ่ี ยู่ในระบบนั้นๆ โครงสรา้ งประกอบด้วยจำนวนและชนดิ ของส่งิ มีชีวติ ตา่ งๆ เหล่านี้ และการกระจายตัวของมนั ถึงแมว้ ่าระบบนิเวศบนโลกจะมีความหลากหลายแต่มีโครงสร้างทีค่ ลา้ ยคลึงกันคือ ประกอบไปดว้ ยสว่ นสำคญั 2 สว่ นคอื 1. องคป์ ระกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic component) ได้แก่ 1.1 สารอนิ ทรีย์ (Organic) ไดแ้ ก่ ซากพชื ซากสัตว์ ฮิวมสั คาร์โบไฮเดรด ไขมันโปรตีน เปน็ ตน้ 1.2 สารอนนิ ทรีย์ (Inorganic) ไดแ้ ก่ เกลอื แร่ นำ้ คาร์บอน ไนโตรเจน โปตสั เซียม เปน็ ต้น 1.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical) ไดแ้ ก่ อณุ หภูมิ แสง ฝน ความช้นื ความเป็นกรดเปน็ ดา่ ง ความเคม็ เปน็ ต้น 2. องค์ประกอบท่ีมีชีวติ (Biotic component) แบ่งได้ดังน้ี 2.1 ผผู้ ลติ (Producer) คอื พวกที่สามารถนำเอาพลงั งานจากแสงอาทิตยม์ าสงั เคราะห์ อาหารขึน้ ได้ เอง จากแร่ธาตุและสารท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ พชื สีเขยี ว แพลงค์ตอนพืช และแบคทีเรยี บางชนดิ พวกผูผ้ ลติ นี้ มีความสำคัญมาก เพราะเป็นสว่ นเริ่มตน้ และเชือ่ มต่อระหวา่ งส่วนประกอบที่ไม่มชี วี ิตกับสว่ นที่มชี ีวิตอ่นื ๆ ใน ระบบนเิ วศ 2.2 ผู้บรโิ ภค (Consumer) คอื พวกท่ไี ด้รับอาหารจากการกนิ สิง่ ทม่ี ชี วี ิตอ่ืนๆ อีกทอดหนึ่ง ได้แก่ พวกสัตว์ตา่ งๆ แบ่งไดเ้ ปน็ 1) ผู้บริโภคปฐมภูมิ (Primary consumer) เป็นสิง่ มชี ีวติ ท่ีกนิ พชื เป็นอาหาร เชน่ กระต่าย ววั ควาย และปลาท่ีกนิ พชื เลก็ ๆ ฯลฯ พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บริสุทธ์ิ ครู/ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ | 187 2) ผู้บรโิ ภคทตุ ยิ ภูมิ (Secondary consumer) เป็นสัตว์ทไี่ ดร้ บั อาหารจากการกินเนอื้ สัตว์ท่ีกนิ พืชเปน็ อาหาร เช่น เสอื สุนขั จิง้ จอก ปลากนิ เนื้อ ฯลฯ 3) ผู้บรโิ ภคตติยภูมิ (Tertiauy consumer) เปน็ พวกท่กี ินท้ังสัตว์กนิ พืช และสัตวก์ นิ สตั ว์ นอกจากนย้ี งั ได้แกส่ ิง่ มีชวี ติ ท่ีอยู่ในระดบั ขน้ั การกินสูงสุดซึ่งหมายถงึ สตั ว์ที่ไม่ถูกกินโดยสัตวอ์ ื่นๆ ต่อไป เป็นสัตว์ที่ อยูใ่ นอันดบั สุดทา้ ยของการถูกกินเป็นอาหาร เช่น มนุษย์ 2.3 ผู้ยอ่ ยสลาย (Decomposer) เป็นพวกไม่สามารถปรุงอาหารได้ แตจ่ ะกนิ อาหารโดย การผลิต เอนไซน์ออกมาย่อยสลายแร่ธาตตุ ่างๆ ในส่วนประกอบของสงิ่ ทมี่ ีชวี ิตใหเ้ ป็นสารโมเลกุลเล็กแล้วจึงดดู ซึมไปใชเ้ ปน็ สารอาหารบางส่วน สว่ นทเี่ หลือปลดปลอ่ ยออกไปสู่ระบบนเิ วศ ซ่งึ ผู้ผลิตจะสามารถเอาไปใชต้ ่อไป จงึ นับว่าผู้ย่อย สลายเปน็ ส่วนสำคัญท่ที ำให้สารอาหารสามารถหมนุ เวียนเปน็ วัฏจกั รได้ ภาพท่ี 3 ผู้ย่อมสลาย ท่มี า : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=60154 ระบบนเิ วศเกือบทุกระบบนิเวศจะประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบดังกล่าวขา้ งต้น แต่จะแตกต่างกนั ในสว่ น ของปริมาณและคุณภาพขององคป์ ระกอบต่างๆ ท้งั นขี้ ึ้นอยกู่ ับสภาพแวดล้อมของแต่ละระบบนน่ั เอง ซ่งึ เราเรยี ก ระบบนิเวศทว่ั ไปว่าเป็นระบบนิเวศแบบเปิด คือมที ้ังผผู้ ลติ ผบู้ ริโภค และผู้ย่อยสลาย อย่างไรกต็ ามอาจมรี ะบบ นิเวศที่มอี งค์ประกอบไมค่ รบท้งั สามสว่ น ซึง่ เราเรียกว่าระบบนเิ วศแบบปดิ ได้แก่ ระบบนิเวศถำ้ ระบบนิเวศ ใต้ทะเลลกึ กวา่ 1,000 เมตร และระบบนิเวศเมือง โดยระบบนิเวศเหลา่ นี้จะไม่มีผู้ผลิต แต่จะนำเข้าอาหารจาก ระบบนเิ วศอน่ื ๆ ภาพท่ี 4 องค์ประกอบของระบบนเิ วศ ที่มา : http://www.karmins.com/edu/read-htm-tid-249.html พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ุทธ์ิ ครู/ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ | 197 กลุม่ ส่ิงมชี ีวติ และแหล่งท่ีอยู่ ถา้ นกั เรียนสงั เกตสิ่งแวดล้อมทอ่ี ยู่รอบๆ ตวั ไม่วา่ จะเปน็ ที่บ้าน ท่ีโรงเรียน บนบก หรอื ในแหลง่ น้ำ หว้ ย ลำคลองต่างๆ กต็ าม เราจะพบสง่ิ มีชีวิตหลายชนิดท่อี าศยั อยรู่ ่วมกนั ตามแหลง่ ต่างมากมาย ตวั อยา่ ง เชน่ ตน้ หญา้ ต้นกก จงิ้ หรดี แมลงปอ กบ เขยี ด มด หอย ถ้ามองขึ้นไปบนต้นไม้ใหญ่เราอาจจะพบรังนก แมลงบางชนดิ กาฝาก แมงมมุ หรือเช้ือรา เปน็ ตน้ เราจะพบเหน็ ส่งิ มชี วี ติ ท่ตี ้องอาศยั อยู่รวมกันหลายชนิด โดยมีการอยู่รวมกนั เปน็ กลุม่ ๆ เรียกวา่ กลมุ่ ส่ิงมีชีวติ ในสภาพธรรมชาตกิ ลุ่มสง่ิ มชี ีวติ ในแตล่ ะกลุ่มจะมีลักษณะหรือองคป์ ระกอบที่ แตกต่างกันออกไป ดังนี้ 1. กลมุ่ สง่ิ มีชีวิตแต่ละกลุ่ม มักมจี ำนวนชนดิ ของส่ิงมีชวี ติ ไม่เท่ากัน 2. จำนวนส่ิงมีชวี ติ แตล่ ะชนดิ ในกลุม่ สง่ิ มีชีวิตหน่งึ ๆ แตกต่างกนั กล่าวคือ บางชนิดจำนวนมาก บางชนดิ มจี ำนวนนอ้ ย 3. ในกลมุ่ สิง่ มชี ีวิตแต่ละกลมุ่ เรามกั พบจำนวนสมาชกิ ของส่ิงมีชวี ิตแตล่ ะชนดิ จะมีการเปล่ียนแปลงแบบ ผกผันกบั จำนวนชนิดของสิ่งมีชีวติ คอื 3.1 ถ้าจำนวนสมาชิกของสง่ิ มีชวี ิตแต่ละชนดิ มนี ้อยจะพบวา่ จำนวนชนดิ จะมอี ยูม่ ากหรืออาจกลา่ วได้ ว่ามกี ารกระจายของชนิดสิง่ มีชีวติ สิง่ มีชวี ิตสงู (high species diversity) 3.2 ถ้าจำนวนสมาชกิ ของสง่ิ มีชีวติ แต่ละชนิดมมี าก จะพบว่าจำนวนชนิดจะมีอยูน่ ้อยหรืออาจกลา่ ว ได้วา่ มีการกระจายของสิง่ มีชีวิตต่ำ พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บริสทุ ธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ | 1170 ใบกจิ กรรมท่ี 1 ชุดการเรียนรู้ที่ 1 วิชาวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน (ชวี วทิ ยา) ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 การสำรวจสภาพทางกายภาพและชวี ภาพของระบบนเิ วศในบริเวณโรงเรียน กลุม่ ที่ ...................... สมาชิกในกลุ่ม 1).................................................................... 4).................................................................... 2) .................................................................. 5).................................................................... 3) .................................................................. 6).................................................................... จดุ ประสงคข์ องกจิ กรรม 1. สำรวจสภาพทางกายภาพและชีวภาพตามบรเิ วณทกี่ ำหนดได้ 2. บอกความหมายของระบบนิเวศได้ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 1. เทอรม์ อมเิ ตอร์ 2. แว่นขยาย 3. กระดาษพเี อช 4. ขวดเกบ็ ตัวอยา่ งส่ิงมีชีวติ ลำดบั ขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติ 1. ให้นักเรียนศกึ ษาระบบนิเวศตามบริเวณที่กำหนดให้ เชน่ สนามหญา้ ใต้ต้นไม้ สระนำ้ เป็นตน้ 2. สำรวจลักษณะทางกายภาพ ดงั นี้ 2.1 ปริมาณแสงสว่างในบริเวณนน้ั 2.2 สภาพสี กลิ่นของดินหรือนำ้ 2.3 วัดอุณหภมู ิที่พ้นื ผวิ ดนิ หรอื นำ้ 2.4 วัดความเปน็ กรด–เบสของบริเวณทศ่ี ึกษา 3. สำรวจลกั ษณะสภาพทางชวี ภาพ โดยระบชุ อ่ื กลมุ่ สิ่งมชี วี ิต จำนวน และลกั ษณะโครงสร้างภายนอกของ ส่งิ มีชวี ติ แลว้ บันทึกผล ตารางบนั ทึกผลการทำกจิ กรรม สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สงิ่ มีชีวิต จำนวน ลักษณะของ แหล่งท่ีศกึ ษา แสงสว่าง ส-ี กลน่ิ อณุ หภมู ิ ค่า pH ส่ิงมีชีวติ พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บริสทุ ธิ์ คร/ู ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ | 1171 สรุปผลการทำกจิ กรรม . . . . . . . . . . . . . . . คำถามท้ายกจิ กรรม . 1. ส่ิงท่ีพบในบรเิ วณท่ีไปสำรวจตรงตามท่ีคาดคะเนหรอื ไม่ . . ตอบ : . . . . . . 2. ชนดิ และปริมาณของส่ิงมชี วี ติ ทพี่ บมากท่ีสุด และนอ้ ยท่ีสุดคอื อะไร เพราะเหตุใดจงึ เป็นเชน่ น้นั . ตอบ : . . . . . . 3. นักเรยี นคดิ ว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่จี ะพบสง่ิ มชี ีวิตอาศัยอยู่ควรมีลกั ษณะใด . ตอบ : . . . . . . 4. นกั เรียนมแี นวทางในการรักษาสภาพทางธรรมชาตขิ องระบบนิเวศนัน้ อยา่ งไรบ้าง . ตอบ : . . . พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บริสุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ | 1172 ใบงานที่ 1 ชดุ การเรียนรู้ที่ 1 วิชาวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน (ชวี วิทยา) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ ชื่อ................................................................................................เลขท.ี่ ..............ช้ัน................. คำชแี้ จง : ให้นกั เรยี นอ่านคำถามที่กำหนดให้ แล้วเขยี นคำตอบลงในชอ่ งวา่ งท่ีกำหนดใหถ้ กู ต้องสมบรู ณ์ . ใช้เวลา 10 นาที (10 คะแนน) . . 1. สิ่งมีชีวิตต่างๆ ท่ีอาศัยอยูร่ ่วมกนั ในแต่ละบริเวณมคี วามสมั พันธ์กนั อย่างไร ตอบ : . . 2. มปี ัจจัยสำคญั อะไรบ้างท่ชี ่วยใหส้ ิง่ มีชวี ติ ดำรงชีวิตอยไู่ ด้ในระบบนิเวศ . ตอบ : . . . . 3. ถา้ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของแหลง่ ที่อยู่เปลี่ยนแปลงไปจะเกดิ ผลกระทบอย่างไรในระบบนเิ วศ . ตอบ : . . . . 4. นักเรยี นคดิ วา่ แนวโน้มการเปลยี่ นแปลงของระบบนเิ วศจะเปน็ อย่างไร มีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง . ตอบ : . . . . . . 5. นอกเหนือจากระบบนเิ วศทนี่ ักเรยี นสำรวจในโรงเรียนแล้ว นกั เรยี นคดิ วา่ มีระบบนเิ วศอ่ืนๆ อกี หรือไม่ อยา่ งไร ตอบ : . .. .. .. .. พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บริสทุ ธ์ิ ครู/ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ | 1173 ใบสรปุ เน้อื หา ชุดการเรียนรู้ที่ 1 วิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน (ชีววิทยา) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ ความหมายของระบบนเิ วศ สงิ่ มีชีวติ ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลมุ่ เรียกวา่ กลุ่มสิ่งมีชวี ติ (community) กล่มุ ส่ิงมชี วี ติ เหลา่ น้ี จะอาศยั อยู่ในบริเวณทีเ่ ป็นแหล่งทีอ่ ยู่ (habitat) ท่ีแตกตา่ งกนั กลุม่ ส่งิ มชี วี ิตที่อาศัยอยรู่ ่วมกันจะมีความสัมพันธ์ กัน และมีความสมั พันธ์กับแหลง่ ที่อยู่ เรยี กว่า ระบบนเิ วศ (Ecosystem) ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหลง่ ทอี่ ยู่ ระบบนิเวศ เปน็ โครงสร้างความสมั พนั ธ์ระหว่างสิ่งมชี วี ติ ตา่ งๆ กับบรเิ วณแวดล้อมท่ีสิง่ มีชวี ติ เหล่าน้ี ดำรงชวี ิตอยู่ ระบบนเิ วศนนั้ เปน็ แนวคิด (concept) ท่นี ักนเิ วศวิทยาไดน้ ำมาใช้ในการมองโลกส่วนยอ่ ยๆ ของโลก เพื่อที่จะไดเ้ ขา้ ใจความเปน็ ไปบนโลกนไ้ี ดด้ ีขน้ึ องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ ระบบนิเวศทุกระบบไมว่ ่าจะเล็กหรอื ใหญ่ ต้องมีองค์ประกอบ 2 สว่ น คือ 1. องคป์ ระกอบที่ไมม่ ชี วี ติ (Abiotic component) ไดแ้ ก่ แร่ธาตตุ ่างๆ เช่น ไนโตรเจน (N) คาร์บอน (C) ออกซเิ จน (O) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) นำ้ (H2O) และอินทรีย์สารทมี่ ปี ระโยชน์ต่อส่งิ มชี วี ิต ตลอดจน สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพอ่ืนๆ เชน่ แสง อณุ หภูมิ ความเป็นกรด เป็นด่าง ความเคม็ ความชืน้ เป็นต้น 2. องค์ประกอบท่มี ีชีวติ (Biotic component) ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้บริโภคลำดบั ต่างๆ และผู้ยอ่ ยสลายเปน็ ตน้ พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชุดการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนิเวศ | 1174 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ หลงั เรียน ชดุ การเรียนรทู้ ี่ 1 วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน (ชีววิทยา) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรอ่ื งความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ จำนวน 10 ขอ้ คำชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นเลอื กคำตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว แล้วกาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ข้อใดไมจ่ ดั เป็นระบบนเิ วศ 6. สง่ิ มีชวี ิตในขอ้ ใดต่อไปน้ีจดั เปน็ กลมุ่ ส่ิงมชี ีวิต ก. บอ่ น้ำทม่ี ีสง่ิ มชี วี ติ อย่เู ต็ม ข. ลานจอดรถพน้ื คอนกรีต (community) ค. สนามหญา้ หนา้ โรงเรียน ง. สวนดอกไม้หนา้ เสาธง ก. จ้งิ หรีดและตั๊กแตนในกอหญ้า 2. ระบบนเิ วศที่ใหญ่ท่สี ดุ คือข้อใด ข. นกกระจาบ 20 ตวั บนกิ่งไม้ ก. มหาสมุทร ข. ป่าไม้ ค. โลกของส่ิงมีชวี ติ ง. ทุ่งหญ้า ค. มดแดงจำนวนมากมายในรัง 3. ระบบนิเวศ ประกอบดว้ ยสิ่งใด ง. ปลาหางนกยูง 100 ตวั ในอ่างนำ้ ก. herbivore + carnivore + omnivore ข. producer + consumer + decomposer 7. ขอ้ ใดต่อไปนี้ถอื ว่าเป็นปัจจัยทางกายภาพ (physical ค. population + habitat ง. community + habitat factors) 4. ข้อใดคือความหมายของระบบนเิ วศ (Ecosystem) ก. จอก แหน สาหรา่ ย ก. สถานทีซ่ ่ึงส่ิงมีชีวิตอาศยั อยู่ ข. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ิตชนิดตา่ งๆ ท่ีอยู่ ข. อุณหภมู ิ แสงสว่าง ความกดดนั รวมกันกบั แหลง่ ท่ีอยู่ ค. กลุ่มของสง่ิ มีชีวติ ทีอ่ ยู่รวมกันในแตล่ ะแหง่ ค. แรธ่ าตุ ดนิ จลุ ินทรยี ์ ง. สิ่งต่างๆ ที่อย่รู วมกับสิง่ มชี ีวิต ง. สารอาหาร ออกซเิ จน พชื น้ำ 5. แหลง่ ทอ่ี ยู่อาศยั มีความหมายตรงกับข้อความใด ตอ่ ไปนี้ 8. “ในการสำรวจป่าชายเลนแหง่ หน่ึง พบพืชประเภท ก. ปลาช่อนชอบอาศัยอยตู่ ามริมบ่อ หนอง บึง โกงกาง แสม เสม็ด ลำพู ขน้ึ ปะปนกนั สว่ นในร่องน้ำ ที่มีพืชนำ้ ปกคลุมและมอี าหารอุดมสมบรู ณ์ และพน้ื ดินโคลนมลี กู ปลา หอย ปกู า้ มดาบกระจายอยู่ ข. กระบองเพชรเป็นพืชทะเลทราย ใบเปล่ยี นแปลง เป็นหนามเพ่อื ช่วยลดอตั ราการคายน้ำ โดยทั่วไปการศึกษาต่อมาทราบว่าหอยกนิ ใบไมท้ ีร่ ่วง ค. นกปากห่างอพยพมาอาศยั ทำรังอยชู่ วั่ คราว เปน็ อาหาร ส่วนปูกา้ มดาบกินหอย และลกู ปลา” (4-6 เดือน) ท่ีวดั ไผล่ ้อมจงั หวัดปทุมธานี ขอ้ มูลน้ีได้จากการศึกษาเกี่ยวกบั ง. สาหรา่ ยขา้ วเหนียวเป็นพชื นำ้ ทีม่ ดี อก รากดูด อาหารจากดินโดยตรง ใบเปลี่ยนโครงสรา้ ง ก. กลุม่ สงิ่ มชี วี ิต ข. แหลง่ ทอ่ี ยู่อาศยั สำหรบั จบั สตั วน์ ้ำเล็กๆ เป็นอาหาร ค. ระบบนิเวศ ง. ห่วงโซ่อาหาร 9. แหล่งกำเนดิ ของพลังงานในระบบนเิ วศคือข้อใด ก. ดวงอาทิตย์ ข. ผู้ผลติ ค. ผบู้ ริโภค ง. แร่ธาตอุ าหาร 10. ขอ้ ใดไม่ไดแ้ สดงถึงความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชีวติ กับแหลง่ ท่ีอยู่ ก. การเปล่ยี นสขี องจ้ิงจก ข. การอพยพของนกบาชนดิ ค. การมีสสี วยงามของดอกกลว้ ยไม้ ง. การมีอวัยวะขจัดเกลือออกจากรา่ งกายของนกทะเล พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและโครงสรา้ งของระบบนเิ วศ | 1175 กระดาษคำตอบ แบบทดสอบหลังเรียน ช่อื .................................................................................... ช้นั ................. เลขท.่ี ......... ข้อ กขค ง จ 123 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ .................... คะแนน พฒั นาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ
ชดุ การเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนเิ วศ | 1176 บนั ทกึ สรุปผลการเรยี น ชุดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหมายและโครงสร้างของระบบนิเวศ ผลการประเมนิ ผลการทดสอบก่อนเรียน ผลการทดสอบหลังเรียน คะแนน ระดับ คะแนน ระดบั เกณฑค์ ะแนนการประเมินผลการเรยี นก่อน-หลงั เรยี น 9 –10 คะแนน ระดับ ดมี าก 7 – 8 คะแนน ระดับ ดี 5 – 6 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 – 4 คะแนน ระดับ ควรปรับปรงุ สรุปผลการประเมนิ ผา่ น ไมผ่ า่ น หมายเหตุ : นักเรยี นจะผ่านเกณฑ์การประเมนิ เมื่อทำข้อสอบได้ต้ังแต่ 8 คะแนนขึน้ ไป พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บริสทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ
บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : ชมุ ชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. 2552 ประดษิ ฐ์ เหลา่ เนตร์ และคณะ. หนังสือเรียน ชีววทิ ยา มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แมค็ . 2553. ประสงค์ หลำสะอาด และจิตเกษม หลำสะอาด. คูม่ อื ชีววทิ ยา ENTRANCE ม.4-5-6 ฉบับสมบรู ณ์. กรงุ เทพมหานคร : พฒั นาศึกษา, 2543. พเยาว์ ยินดีสขุ และคณะ, ชวี ิตกับสง่ิ แวดล้อม สง่ิ มชี ีวิตกบั กระบวนการดำรงชีวิต. กรุงเทพ : สำนกั พิมพ์ บรษิ ัทพฒั นาคุณภาพวชิ าการ, 2555. พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และคณะ. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ชีววิทยา ม.4. กรงุ เทพ : สำนกั พมิ พ์ บริษัทพฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ, 2549. สมบญุ เตชะภญิ ญาวัฒน์. พฤกษศาสตร์. พิมพ์ครง้ั ท่ี 3, กรงุ เทพ : สำนกั พิมพร์ ัว้ เขียว, 2537. สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธกิ าร. หนังสอื เรียน สาระการเรยี นรู้ พนื้ ฐานและเพิ่มเติม ชวี วทิ ยา เลม่ 6. พิมพ์ครงั้ ท่ี 4, กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว, 2544. ฤทธ์ิ วัฒนชัยยงิ่ เจรญิ . หนงั สือเรียน สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวติ ชีวิตกับสง่ิ แวดล้อม ม.4-ม.6. กรงุ เทพฯ : อักษรเจรญิ ทัศน์, 2553. http://i.ytimg.com/vi/JUrxCGQ6ciA/maxresdefault.jpg http://ttangkwaa.blogspot.com/ http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b2.htm http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b3.htm http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b4.htm http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=60154 http://www.karmins.com/edu/read-htm-tid-249.html พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ ครู/ชำนาญการ
ภาคผนวก พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ
แนวทางการบันทึกผล ใบกิจกรรมท่ี 1 ชดุ การเรยี นรู้ที่ 1 วิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน (ชีววทิ ยา) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 การสำรวจสภาพทางกายภาพและชีวภาพของระบบนิเวศในบรเิ วณโรงเรียน กลุ่มท่ี ...................... สมาชิกในกลุ่ม 1).................................................................... 4).................................................................... 2) .................................................................. 5).................................................................... 3) .................................................................. 6).................................................................... จดุ ประสงค์ของกิจกรรม 1. สำรวจสภาพทางกายภาพและชวี ภาพตามบรเิ วณท่กี ำหนดได้ 2. บอกความหมายของระบบนเิ วศได้ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 1. เทอรม์ อมิเตอร์ 2. แวน่ ขยาย 3. กระดาษพเี อช 4. ขวดเก็บตวั อยา่ งส่ิงมีชีวิต ลำดับขัน้ ตอนในการปฏบิ ัติ 1. ใหน้ กั เรียนศึกษาระบบนิเวศตามบรเิ วณที่กำหนดให้ เชน่ สนามหญา้ ใตต้ น้ ไม้ สระนำ้ เป็นตน้ 2. สำรวจลกั ษณะทางกายภาพ ดงั น้ี 2.1 ปรมิ าณแสงสวา่ งในบรเิ วณนั้น 2.2 สภาพสี กลนิ่ ของดินหรือนำ้ 2.3 วดั อณุ หภมู ิท่ีพน้ื ผวิ ดนิ หรอื น้ำ 2.4 วัดความเปน็ กรด–เบสของบรเิ วณที่ศึกษา 3. สำรวจลกั ษณะสภาพทางชวี ภาพ โดยระบชุ ่ือกลุ่มส่ิงมีชีวิต จำนวน และลักษณะโครงสรา้ งภายนอกของ ส่ิงมีชีวติ แล้วบนั ทกึ ผล ตารางบันทึกผล สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดลอ้ มทางชีวภาพ แหลง่ ทีศ่ ึกษา แสงสวา่ ง ส-ี กลน่ิ อุณหภูมิ ค่า pH สิง่ มีชวี ิต จำนวน ลักษณะของ สิ่งมีชีวิต บริเวณสระนำ้ ของ โรงเรียน มี แสง น้ำใส 28 องศา 6-7 กบ 2 ตวั แข็งแรง สว่าง ไม่มี ลกู อ๊อด จำนวนมาก ส่องถงึ กลิ่น ปลา จำนวนมาก พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธิ์ ครู/ชำนาญการ
สรปุ ผลการสำรวจ สภาวะแวดล้อมของแหล่งท่ีอยู่ มีองคป์ ระกอบ 2 ส่วน ดงั ต่อไปนี้ 1. สภาวะแวดลอ้ มทางกายภาพ (physiological environment) เปน็ สภาวะแวดลอ้ มท่ีไมม่ ีชวี ิต ได้แก่ แสงสว่าง สี – กลิน่ ของน้ำ อุณหภูมิ ค่า pH ซง่ึ จากการสำรวจพบวา่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพท่จี ะพบ สิง่ มชี วี ติ อาศยั อยู่ คอื ต้องมีแสงสวา่ งส่องถึง มีความชน้ื และอุณหภูมิทีพ่ อเหมาะ . 2. สภาวะแวดลอ้ มทางชวี ภาพ (biological environment) เปน็ สภาวะแวดลอ้ มทม่ี ีชวี ิตได้แก่ สิ่งมชี ีวิต ชนิดเดียวกัน หรือ สง่ิ มีชีวิตชนิดอ่นื ซ่งึ จากการสำรวจสิง่ มีชวี ิตทพี่ บมากทส่ี ุด คือ ลูกอ๊อด และลูกน้ำ และ สิง่ มีชวี ติ ทีพ่ บนอ้ ยท่ีสดุ คือ กบ. คำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. สง่ิ ทพี่ บในบริเวณท่ีไปสำรวจตรงตามท่ีคาดคะเนหรือไม่ ตอบ : บรเิ วณทีไ่ ปสำรวจพบสงิ่ ต่าง ๆ ตามทคี่ าดคะเนไว้ เชน่ สตั วน์ ้ำเล็ก ๆ 2. ชนดิ และปริมาณของสิ่งมชี วี ิตท่ีพบมากท่ีสุด และน้อยทส่ี ุดคืออะไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนนั้ ตอบ : จะพบลูกอ๊อด ลกู นำ้ ในปริมาณทม่ี าก พบกบในปริมาณทีน่ ้อยกว่า 3. นกั เรยี นคิดวา่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพทจ่ี ะพบส่งิ มชี ีวติ อาศัยอย่คู วรมลี ักษณะใด ตอบ : มแี สงสว่างส่องถึง มคี วามช้นื อุณหภมู ิพอเหมาะ 4. นักเรียนมแี นวทางในการรักษาสภาพทางธรรมชาตขิ องระบบนเิ วศนนั้ อยา่ งไรบ้าง ตอบ : ช่วยกันอนรุ ักษ์และป้องกนั ไม่ทำลายสภาพทางธรรมชาติ พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
แนวคำตอบ ใบงานท่ี 1 ชดุ การเรยี นรทู้ ่ี 1 วิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน (ชวี วทิ ยา) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ความหมายและโครงสร้างของระบบนิเวศ ชอ่ื ................................................................................................เลขท.่ี ..............ชัน้ ................. คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนอา่ นคำถามที่กำหนดให้ แลว้ เขยี นคำตอบลงในชอ่ งวา่ งที่กำหนดให้ถูกต้องสมบูรณ์ ใช้เวลา 10 นาที ( 10 คะแนน) 1. สงิ่ มีชีวติ ตา่ งๆ ที่อาศยั อยูร่ ่วมกันในแตล่ ะบริเวณมีความสัมพนั ธก์ นั อย่างไร ตอบ : สัตวไ์ ด้รับอาหารและกา๊ ซออกซิเจนทีเ่ กดิ จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื สว่ นพชื จะใช้ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์จากสตั ว์ในการสังเคราะหแ์ สง 2. มปี จั จยั สำคัญอะไรบา้ งทีช่ ่วยให้ส่งิ มชี วี ติ ดำรงชีวติ อยู่ไดใ้ นระบบนเิ วศ ตอบ : ก๊าซ แสงสวา่ ง อุณหภมู ิ คา่ pH ความช้ืน 3. ถา้ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของแหลง่ ท่ีอยู่เปลี่ยนแปลงไปจะเกดิ ผลกระทบอย่างไรในระบบนเิ วศ ตอบ : ส่งิ มีชวี ติ บางชนดิ ไมส่ ามารถปรับตวั ให้อยรู่ อดได้กจ็ ะสูญหายหรือตายไป 4. นกั เรยี นคิดว่าแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของระบบนเิ วศจะเป็นอยา่ งไร มีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง ตอบ : มีการเปลย่ี นแปลงมากข้นึ มีสาเหตุมาจากการกระทำของมนษุ ย์ มีเทคโนโลยสี มัยใหม่ เข้ามา มากข้ึน หรืออาจเกิดจากภยั ธรรมชาติ 5. นอกเหนือจากระบบนเิ วศทนี่ ักเรยี นสำรวจในโรงเรียนแลว้ นกั เรียนคิดว่ามรี ะบบนเิ วศอ่ืนๆ อกี หรือไม่ อยา่ งไร ตอบ : มี ไดแ้ ก่ ระบบนิเวศนำ้ จดื ระบบนเิ วศทางทะเล ระบบนิเวศปา่ ชายเลน ระบบนเิ วศปา่ ไม้ พัฒนาโดย : วา่ ที่ ร.ท.อุดม บรสิ ทุ ธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
เฉลยแบบทดสอบวดั ผลการเรียนรู้ กอ่ นเรยี นและหลังเรยี น ชุดการเรยี นรู้ที่ 1 วิชาวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ชีววิทยา) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เรือ่ งความหมายและโครงสร้างของระบบนิเวศ จำนวน 10 ข้อ 1. ข 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก 6. ก 7. ข 8. ค 9. ก 10. ค พัฒนาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บริสุทธิ์ คร/ู ชำนาญการ
พฒั นาโดย : วา่ ท่ี ร.ท.อดุ ม บรสิ ุทธ์ิ คร/ู ชำนาญการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: