ทกั ษะชีวิตเป็นความสามารถของบคุ คลในการจดั การกบั ปัญหาต่างๆ รอบตวั ในสภาพสงั คม ปัจจบุ นั ป้องกนั ตนเองและสามารถหลีกเล่ียงสถานการณ์คบั ขนั ท่ีอาจนาไปส่อู นั ตราย การเรียนรู้ และฝึ กฝนการใช้ทกั ษะชีวิตจะทาให้เราสามารถเผชิญปัญหาและเอาชนะปัญหาอปุ สรรค และอนั ตรายได้อยา่ งปลอดภยั
ทักษะชีวติ ทกั ษะชีวิต (Life Skill) หมายถึง ความสามารถขนั้ พื้นฐานของบุคคลในการปรบั ตัว และเลือกทางเดินชีวิตที่เหมาะสมในการเผชิญปัญหาท่ีอยรู่ อบตวั เรา ความสาคญั ของทกั ษะชีวิต ๑. ช่วยส่งเสริมให้เด็กและวยั รุ่นจดั การกับความเครียดและ วยั ร่นุ ควรหากิจกรรมที่เหมาะสม ความกดดนั ตา่ งๆ ในการแสดงออก ๒. ช่วยส่งเสริมให้มีความสามารถในการดารงชีวิตท้งั ภายนอก และภายในครอบครัว ๓. ช่วยส่งเสริมให้เด็กและวยั รุ่นเกิดการเรียนรู้แบบคิดเอง แก้ไข ปั ญ ห า เ อ ง แ ล ะ ไ ด้ แ บ บ อ ย่ า ง เ จ ต ค ติ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ต่ า ง ๆ ที่สาคญั
ทกั ษะชีวติ องคป์ ระกอบของทกั ษะชีวิต การตระหนกั รู้และเหน็ คณุ ค่าในตนเองและผ้อู ่ืน การคดิ วเิ คราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการกบั อารมณ์และความเครียด การสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ กี บั ผู้อื่น
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขัน ทอ่ี าจนาไปสู่อนั ตราย การนงั่ รถแทก็ ซ่ีคนเดยี ว ๑.๑ สังเกตป้ายเลขทะเบียนโลหะข้างประตูว่ามหี รือไม่ ๑.๒ โทรศัพท์บอกเพ่ือนหรือผ้ปู กครอง ๑.๓ นั่งเบาะหลงั ชิดประตูฝ่ังคนขับเสมอ ๑.๔ ถ้าคนขับชวนคุย ให้คยุ เฉพาะเร่ือง ๑.๕ อย่าเผลอหลบั ในรถเดด็ ขาด ๑.๖ สังเกตว่าคนขบั รถปรับกระจกมองหลงั บ่อยหรือไม่ ๑.๗ ถ้าบอกให้จอดรถแต่คนขับยงั เฉยหรือเพมิ่ ความเร็ว ให้เปิ ด กระจกแล้วโบกมือหรือร้องขอความช่วยเหลือทนั ทอี ย่านิ่งเฉย
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขัน ทอ่ี าจนาไปสู่อนั ตราย การน่งั รถแทก็ ซี่คนเดยี ว รปู ถ่ายในบตั รหน้าคนรถคนขบั แทก็ ซ่ี การนัง่ รถแทก็ ซ่ีควรนัง่ ฝัง่ ประตคู นขบั
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขนั ทอ่ี าจนาไปสู่อนั ตราย ผู้ป่ วยทางจิต ๒.๑ ประเภทชอบโชว์อวัยวะเพศ เม่ือพบผู้ป่ วยลักษณะนี้ ให้ต้ังสติแสดงท่าทีเฉยชา เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้นแล้วเดินผ่านไป แต่ท้ังนี้ต้องดูด้วยว่าเขาจะเข้ามาทาร้ายเรา หรือไม่ และรีบเดนิ เข้าหากลุ่มคนเพื่อขอความช่วยเหลือ ๒.๒ ประเภทชอบลวนลามในทส่ี าธารณะ เม่ือพบผู้ป่ วยลักษณะนี้ ให้ต้ังสติแล้วทา ตวั ปกติ อย่าอย่ใู นมุมอบั กับผ้ปู ่ วยแล้วให้รีบหนีออกมาขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้าง
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขัน ทอี่ าจนาไปสู่อนั ตราย ถ้าถูกจบั เป็ นตวั ประกนั ๓.๑ อย่าขดั ขืน ให้ชูมือขนึ้ อย่าเคลื่อนไหวอย่างกะทนั หัน ๓.๒ ทาตามคาสั่งอย่างรวดเร็ว ไม่อดิ ออดชักช้า ๓.๓ หากฝ่ ายตรงข้ามมอี าวธุ อย่าต่อสู้ ให้ต้งั สติอย่นู ่งิ ๆยอมรับสถานการณ์เพอ่ื รอ การช่วยเหลือ ๓.๔ อย่าโต้เถยี งหรือพูดก่อนถูกถาม
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขนั ทอี่ าจนาไปสู่อนั ตราย ถ้าถูกจบั เป็ นตัวประกนั ๓.๕ ช่วง ๔๕ นาทีแรก ฝ่ ายตรงข้ามจะมคี วามเครียดสูง ให้ระวงั เป็ นพเิ ศษ ๓.๖ อย่าพยายามหลบหนี ถ้าไม่มนั่ ใจว่าจะทาสาเร็จ ๓.๗ หากสถานการณ์เหมาะสม ให้สร้างความค้นุ เคยเรื่องทม่ี ีความสนใจตรงกนั ๓.๘ อย่าใช้วธิ ีอ้อนวอน ร้องขอ ร้องไห้ ให้รักษาศักด์ศิ รีของตนเอง ๓.๙ หากมีการใช้กาลงั บุกช่วยตวั ประกนั ให้หมอบราบกบั พืน้ ทนั ที หาที่กาบัง และ รีบแสดงตนเม่ือเหตุการณ์สงบแล้ว
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขนั ทอี่ าจนาไปสู่อนั ตราย การป้องกนั ตนเองจากการถูกข่มขืน ๔.๑ แต่งกายด้วยเสื้อผ้าทรี่ ัดกมุ เรียบร้อย และถูกกาลเทศะ ๔.๒ ไม่เดนิ ในท่ีเปลย่ี วเวลากลางคืน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในซอยลกึ ๔.๓ เมื่อรู้สึกตัวว่ามีคนเดินตามมาข้างหลัง ควรเปลี่ยนเส้ นทางเดินหรือเดิน เข้าไปยังสถานที่ท่ีมีคนพลุกพล่าน มีแสงไฟ หากจวนตัวให้กดกร่ิงบ้านใครก็ได้ หรือ ตะโกนส่งเสียงดงั ๆ ๔.๔ ไม่ควรขนึ้ รถไปกบั คนแปลกหน้า
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขัน ทอี่ าจนาไปสู่อนั ตราย สถานการณ์ถูกข่มขืน ๕.๑ ต้ังสติ อย่าตกใจกลวั จับตามองคนร้ายอย่าให้คลาดสายตา ๕.๒ หากเป็ นคนทเ่ี รารู้จกั ให้พยายามพูดเตือนสตใิ ห้รับรู้ถงึ ความรู้สึกของเรา ว่าไม่ชอบการกระทาแบบนี้ ๕.๓ หากเป็ นคนแปลกหน้า พยายามจดจาหน้าของคนร้ายให้ได้ ๕.๔ หากยงั ไม่ถูกประชิดตวั ควรตะโกนดงั ๆ ให้คน ๕.๕ อย่าปล่อยให้เหตุการณ์ผ่านไปโดยไม่ไปแจ้งความดาเนนิ คดี ๕.๖ พยายามเกบ็ หลกั ฐาน แล้วส่งให้เจ้าหน้าท่ตี ารวจทนั ที
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขัน ทอ่ี าจนาไปสู่อนั ตราย เหตุจลาจล ๖.๑ ออกจากทเี่ กดิ เหตุโดยเร็ว ๖.๒ ถ้าเราไม่เกย่ี วข้อง ไม่ต้องเข้าไปมุงดเู หตุการณ์ ๖.๓ ขณะเกดิ เหตุอย่าขัดขวาง โต้แย้ง ด่าทอ เพราะจะทาให้กล่มุ ผู้ก่อจลาจล โกรธแค้นมากขนึ้ ๖.๔ ให้ระลกึ เสมอว่า การก่อจลาจลเป็ นเร่ืองของการระบายอารมณ์โกรธจากความรู้สึก ผดิ หวงั ท่ไี ม่ได้รับการตอบสนองตามข้อเรียกร้อง ไม่ใช่สาเหตุจากเรื่อง ๖.๕ อย่ากระทาการใดๆ ท่อี าจทาให้เข้าใจว่าเราเป็ นฝ่ ายตรงข้ามเดด็ ขาด
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขนั ทอี่ าจนาไปสู่อนั ตราย การเกดิ อคั คภี ยั ๗.๑ หาทางออกฉุกเฉินอย่างน้อยสองทาง ๗.๒ เรียนรู้และฝึ กเดนิ ภายในห้องพกั ด้วยการปิ ดไฟให้มืดแล้วเดนิ เข้าหาประตู ๗.๓ หากพบสัญญาณเตือนเพลงิ ไหม้ ให้รีบกดทนั ที ๗.๔ ถ้าได้ยนิ สัญญาณเพลงิ ไหม้ให้รีบหนอี อกจากอาคาร ๗.๕ กรณเี พลงิ ไหม้ในห้องพกั ของเรา ให้หนอี อกมาแล้วปิ ดประตู
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขนั ทอ่ี าจนาไปสู่อนั ตราย การเกดิ อคั คภี ยั ๗.๖ กรณเี พลงิ ไหม้ไม่ได้เกดิ ขนึ้ ในห้องของเรา ให้รีบหนอี อกจากห้อง โดย ก่อนเปิ ดประตูให้ใช้หลงั มือแตะบานประตู ถ้าประตูยงั ไม่ร้อน ให้เปิ ดแล้วหนไี ปยงั ทางหนีไฟฉุกเฉินท่ใี กล้ท่สี ุด ๗.๗ หากแตะประตูแล้วพบว่าประตูร้อน อย่าเปิ ดเดด็ ขาด เพราะไฟกาลงั ลกุ ไหม้อยู่ภายนอก ๗.๘ หากต้องเผชิญหน้ากบั ควนั ไฟให้คลาน ๗.๙ อย่าใช้ลฟิ ต์ขณะเกดิ เพลงิ ไหม้เดด็ ขาด
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขนั ทอี่ าจนาไปสู่อนั ตราย
ทกั ษะการป้องกนั ตนเองจากสถานการณ์คบั ขัน ทอ่ี าจนาไปสู่อนั ตราย การสงั เกตทางหนีไฟจะช่วยใหร้ อดจากอคั คีภยั ถงั ดบั เพลิง
สรุป ทักษะชีวิตเป็ นความสามารถของบุคคลที่ต้องฝึ กฝน มีความสาคัญต่อการดารงชีวิต อย่ างปลอดภัยในท่ ามกลางปัญหาท่ีเกิดขึ้นในสั งคมทักษะชีวิตจะช่ วยให้ รู้ จักเหตุผล คดิ ตัดสินใจหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ อย่างเหมาะสม หน่วยก่อน สารบญั หน่วยต่อไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: