๒หนว่ ยการเรียนรู้ที่ การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเอง และครอบครัว จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. การวางแผนดแู ลสขุ ภาพตามภาวะการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของตนเองและบคุ คลในครอบครัวได้ ๒. วางแผนและปฏบิ ตั ิตามแผนการพฒั นาสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั ได้
การดแู ลสุขภาพของบุคคลแต่ละวัย บคุ คลแต่ละวัยมีพัฒนาการทางร่างกายและอารมณท์ ่แี ตกตา่ งกนั ดังนี้ วยั ทารกและวัยเด็ก เปน็ วัยที่พอ่ แม่และผูใ้ หญใ่ นครอบครัวจะให้การดแู ล จัดการวางแผน การปลกู ฝังใหม้ ีสขุ นิสัยในการ ดูแลสขุ ภาพของตนเอง เพ่อื ใหม้ ีภาวะการเจริญเตบิ โตท่เี หมาะสมกับวัยและเติบโตเป็นผู้ใหญท่ ่มี ี คุณภาพของสงั คม อายุต้ังแต่ ๑๓ ถึง ๒๐ ปี เป็นชว่ งของการเปลี่ยนแปลงทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ และพฤตกิ รรมอยา่ ง วยั รนุ่ รวดเรว็ ควรปลูกฝงั แบบแผนการดาเนนิ ชวี ติ ดา้ นการดูแลสขุ ภาพที่เหมาะสมเพอื่ ทจี่ ะไดเ้ ตบิ โตเปน็ ผ้ใู หญ่อย่างมีคุณภาพ และมสี ุขภาพสมบูรณแ์ ขง็ แรง วยั ผใู้ หญ่ แบง่ ออก เป็น ๒ ช่วง คอื วัยผใู้ หญ่ตอนต้น ตั้งแต่อายุ ๒๐ ถึง ๔๐ ปี และวัยกลางคน คือ ชว่ งอายุ ๔๐ - ๖๐ ปี บคุ คลในวัยผใู้ หญ่ตอนต้นมกี ารพฒั นาทางร่างกายอย่างเต็มที่ทง้ั เพศหญิงและเพศชาย ร่างกายสมบรู ณ์ เปน็ วยั ทางานและสร้างครอบครวั วยั สูงอายุ มอี ายุตัง้ แต่ ๖๐ ปีข้ึนไป อวยั วะทกุ ระบบในรา่ งกายเสอื่ มถอย ปัญหาทางกายท่พี บบอ่ ยประกอบด้วย การเคล่ือนไหวไมค่ ลอ่ งตัวและการกล้นั ปัสสาวะไมค่ อ่ ยได้ ข้อกระดกู เส่ือม ท้องผูก ตาเปน็ ต้อกระจก หูตึง และนอนไม่หลบั เป็นวยั ท่ีควรไดร้ บั การดแู ลจากคนในครอบครวั
การดแู ลสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั การดูแลสุขภาพตนเอง ๑ การออกกําลงั กายอย่างสมา่ํ เสมอ ควรออกกาลงั กายอย่างถกู ต้องตามวิธกี ารของการออกกาลงั กาย ๒ การรับประทานอาหารท่ีถกู ตอ้ ง ทานใหค้ รบ ๕ หมู่ ๓ การพักผ่อนและกิจกรรมนันทนาการ เปน็ การสร้างภมู ิคมุ้ กันโรค ผ่อนคลายความเครียดจากการทางาน การพักผอ่ นท่ีดที ีส่ ดุ คือการนอนหลบั ในเวลากลางคืน วนั ละ ๖-๘ ช่วั โมง ๔ หลีกเลีย่ งพฤติกรรมเสย่ี ง พฤตกิ รรมเสย่ี งท่ีบ่อนทาลายสุขภาพ สาเหตขุ องการท่ีจะเกดิ อบุ ัตภิ ยั และ ภยั อันตราย เช่น การด่ืมสรุ า การสูบบุหรี่ การเสพสารเสพตดิ ๕ สร้างทักษะในชวี ติ เพอื่ การอยูก่ ันดว้ ยสันติ การใช้ชีวติ รว่ มกนั ในครอบครวั ตอ้ งมีการช่วยเหลอื เกอ้ื กูลกนั ในทกุ ดา้ น ไม่ว่าจะเปน็ ดา้ นการศกึ ษา สาธารณสุข หรือความเป็นอยู่ทวั่ ไป
๖ มีการพัฒนาทางดา้ นปญั ญา ลดละความเหน็ แก่ตวั ม่งุ เขา้ ถงึ ความดี เช่น การศกึ ษา การเล่นกีฬาศาสนา การรวมกลุ่ม การเจรญิ ภาวนา การสัมผสั ธรรมชาติ เปน็ ต้น ๗ มกี ารเรยี นรทู้ ่ีดี เป็นกิจกรรมทท่ี าให้เกดิ ความสนุก ทาให้เกิดปญั ญา เกิดความคิด มีความสขุ สร้างแรงจงู ใจ ทตี่ ้องการจะเรียนรู้ในเรอ่ื งตา่ งๆ มากขึ้น ๘ การจัดส่ิงแวดลอ้ มให้เก้ือกลู ตอ่ สขุ ภาพ ท้ังทางกายภาพ ทางชวี ภาพ และทางสงั คม สามารถทาได้ ดังนี้ สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพ สง่ิ แวดลอ้ มทางชีวภาพ สง่ิ แวดล้อมทางสังคม • มสี ขุ าภิบาลท่ีดี สะอาดปราศจาก • ปราศจากแหลง่ เพาะพนั ธพุ์ าหะนา • มีสัมพนั ธภาพและมิตรไมตรที ดี่ ี ต่อกัน มลภาวะ โรค เพื่อที่จะทาใหก้ ารกอ่ เกดิ โรค • มคี วามเอือ้ อาทรตอ่ กนั ทัง้ ที่บ้าน ทโี่ รงเรยี น ตา่ งๆ ลดนอ้ ยลงไปหรอื ไมเ่ กดิ ข้ึน • มีสถานท่ีออกกาลังกาย พกั ผ่อน ทท่ี างาน เปน็ มติ รทีด่ ีกบั เพื่อนบา้ นและชมุ ชน • มนี ้าสะอาดสาหรบั บริโภคอยา่ ง เพยี งพอ • มีสถานทก่ี าจัดขยะมลู ฝอยอย่างถูก สขุ ลักษณะ
การดูแลสขุ ภาพครอบครวั • ครอบครวั เปน็ สงั คมเลก็ ๆ สงั คมหนึง่ มีสมาชิก พอ่ แม่ ลกู หรือเปน็ สงั คมของกลมุ่ ญาติประกอบด้วย บดิ า มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย บตุ ร เปน็ ตน้ สมาชิกในครอบครัว มีบทบาทหนา้ ท่ตี ่างกนั แตท่ กุ คนตอ้ งมคี วามหว่ งใย มคี วามรัก เออื้ อาทรซ่ึงกนั และกันให้ความชว่ ยเหลอื ดูแลกนั และกนั • ในด้านสขุ ภาพ แต่ละคนมหี นา้ ทด่ี แู ลสขุ ภาพของตนให้แขง็ แรง เมอ่ื สุขภาพของตนแขง็ แรงสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บแลว้ สขุ ภาพ ส่วนรวมหรือสขุ ภาพของครอบครัวก็จะแขง็ แรงสมบรู ณ์ ครอบครัวยอ่ มจะมีความสขุ ทั้งนค้ี รอบครัวจะขยายใหญข่ ึน้ ได้ตอ้ งดาเนินการ ตามแนวทาง ดงั นี้ ๑ สนับสนนุ และเออื้ อํานวยให้สมาชกิ ใหม่เกดิ และมชี วี ติ อยูร่ อดได้ ๒ ป้องกันและคมุ้ ครองใหม้ ีการเจรญิ เติบโตจากวัยเด็กสวู่ ัยผู้ใหญอ่ ยา่ งราบรนื่ ๓ ส่งเสริมสมาชิกของครอบครวั แต่ละคนให้อย่รู ่วมกนั อย่างสามคั คี ๔ ช่วยกนั ดแู ลสุขภาพทง้ั ร่างกาย จติ ใจและอารมณ์ ไม่นําสงิ่ ทจ่ี ะเข้ามาทําลายการมสี ขุ ภาพทด่ี ีของสมาชกิ ครอบครวั
กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครวั การประเมินปัญหา • พิจารณาประเมิน “สภาวะของสขุ ภาพ” โดยตนเองเปน็ คนประเมนิ ตนเองและครอบครัวของตนเองวา่ อยู่ในกลมุ่ ใด อย่ใู นกล่มุ ท่มี ี สุขภาพดี หรืออยใู่ นกลุ่มเสยี่ ง โดยสามารถประเมินสภาวะสุขภาพไดท้ ัง้ จากลักษณะของร่างกาย และลกั ษณะของส่งิ แวดล้อม ตวั อยา่ งเชน่ รา่ งกายอยู่ในสภาพท่แี ข็งแรงหรอื ทรดุ โทรม สภาพแวดล้อมสะอาดหรอื สกปรก เต็มไปด้วยมลพษิ เปน็ ตน้ รูปร่างผอมหรอื อว้ น นัยนต์ ามองเหน็ เปน็ ปกตหิ รอื ไม่ มีอาการสายตาส้ันหรอื อาการสายตายาว
การวิเคราะห์ปญั หา • เม่อื ทราบวา่ สภาวะของร่างกายอยใู่ นสภาวะออ่ นแอหรอื อยู่ในสภาวะเส่ยี ง กน็ าเอาปัญหานน้ั ๆ มาวเิ คราะหว์ า่ เกิดขนึ้ จากสาเหตใุ ด เชน่ พฤติกรรมการกินอาหารทอ่ี าจทาใหร้ ่างกายอว้ นเกนิ ไป เกิดสภาวะน้าตาลในเลอื ดสูง นาพฤติกรรมน้นั มาวิเคราะห์วา่ ทาไมจงึ อ้วน กินอาหารประเภทใดมากเกินไป เมื่อกินอาหารแล้วได้ออกกาลังกายเพือ่ เผาผลาญอาหารเปน็ พลงั งานหรือไม่ หรอื สืบหาความ เปน็ มาจากพันธกุ รรม เป็นต้น
การวางแผนในการแกป้ ัญหา • เปน็ กระบวนการในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของตนเองและครอบครวั โดยการหาวธิ แี ก้ปัญหาท่ดี ที ่เี หมาะสมว่าจะดูแลสขุ ภาพ ของตนเองและครอบครัวอยา่ งไรจึงจะมีสุขภาพดี ซ่ึงกระบวนการแกป้ ญั หาน้ีเป็นการวางแผนเพื่ออนาคต โดยทีเ่ รารตู้ ัวของ เราเองและครอบครวั ว่า จะต้องแก้ปญั หาให้ลุล่วงไปในทางที่ดไี ด้ โดยอาศัยแนวคิดของการสาธารณสขุ มลู ฐานประยุกตใ์ หเ้ ขา้ กบั สภาพจริง
การลงมอื ปฏบิ ัติตามแผนทวี่ างไว้ • ก่อนท่จี ะปฏบิ ตั ิใหบ้ รรลุจุดม่งุ หมายนนั้ จะต้องมกี ารวางแผน นาเอาแผนที่วางไวม้ าปฏบิ ตั ิให้สอดคล้องกบั หลกั การทาง วทิ ยาศาสตร์ โดยไม่ปฏบิ ตั อิ ยา่ งงมงาย แต่ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี ีวติ ของคนเราและครอบครวั เชน่ การใช้วธิ ีการคลาย ความเครียดด้วยการนวดการพกั ผอ่ นในกิจกรรมท่สี อดคล้องกับสุขภาพและแผนที่วางไว้ เป็นตน้
การประเมินผล • เป็นกระบวนการสดุ ทา้ ยของทุกๆ กิจกรรม เพอื่ จะไดท้ ราบผลหรือบทสรุปท่ีเราได้ปฏิบัตติ ามแผนแลว้ เกดิ ผลอยา่ งไร ประสบ ความสาเร็จมากน้อยเพยี งใด เพือ่ นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงพัฒนาในการดาเนนิ การต่อไป คอื ถา้ ดีกด็ าเนินการตอ่ ไปและพฒั นา ย่ิงข้ึน แตถ่ ้าไม่ดกี ็ตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไข เพ่ือจะไดส้ มั ฤทธิผลตามทีว่ างเอาไว้
การวางแผนดแู ลสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั คณุ ค่าของการวางแผนดูแลสขุ ภาพของตนเองและครอบครัว • การวางแผนดแู ลสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั เปน็ เร่ืองทีม่ คี ณุ คา่ เพราะนอกจากจะกระตุ้นใหต้ นเองและบคุ คลในครอบครวั ใส่ใจในการดแู ลสขุ ภาพแล้ว ยังสง่ ผลดตี อ่ ตนเองและครอบครัว ดังน้ี ๑ สรา้ งเสริมสขุ ภาพทง้ั กายและจติ ใจของตนเองและครอบครวั ๒ ทําให้มคี ุณภาพชวี ติ ทีด่ ีข้นึ ๓ สรา้ งสัมพันธภาพอันดีภายในครอบครวั ทาํ ให้เกิดความอบอนุ่ ในครอบครวั ได้ ๔ กาํ หนดหรือเลือกรูปแบบการดๆเนินชีวิตของตนเองและบุคคลในครอบครวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๕ กําหนดชว่ งเวลาในการดูแลสุขภาพไดอ้ ย่างเหมาะสม ๖ เปน็ การเฝ้าระวังสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครวั ไม่ให้เจบ็ ปว่ ย ๗ ช่วยในการวางแผนคา่ ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลในกรณเี จบ็ ป่วย
ขัน้ ตอนในการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว สามารถแยกได้ ๓ ขั้นตอน ข้นั ท่ี ๑ การประเมนิ สภาวะสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั มี ๒ วิธี การประเมนิ ด้วยตนเอง • เป็นการประเมนิ สภาวะสขุ ภาพของตนเองทัง้ ในดา้ นร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา สังเกต สขุ ภาพของตนเองและสมาชกิ ภายในครอบครวั ได้ว่า มีสภาพอว้ น ผอม แขง็ แรงสมบูรณ์ ปราศจาก โรคภยั ไข้เจบ็ มีสุขภาพจิตทด่ี ีหรอื ไม่ สามารถดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งมีสติสัมปชญั ญะ และอยใู่ นสังคมได้ อย่างมคี วามสุขมากน้อยเพียงใด การประเมินโดยบุคลากรสาธารณสขุ หรอื แพทย์ • การประเมนิ สุขภาพดว้ ยตนเองในบางด้านอาจไม่ละเอยี ดและครอบคลมุ มากนัก จาเปน็ ต้องมี ผ้เู ชี่ยวชาญหรอื ผู้ชานาญการในวงการสาธารณสุขหรือแพทย์เขา้ มามีส่วนร่วมด้วยเพอื่ ความถูกตอ้ ง และชัดเจน
สง่ิ ทีจ่ าํ เปน็ ท่ีสดุ ในการดแู ลสขุ ภาพ ก็คอื ควรไปพบแพทยเ์ พ่อื ตรวจสุขภาพประจําปี ปลี ะ ๑-๒ ครัง้ โดยจะไดร้ ับบรกิ ารทาง การแพทย์ ดังนี้ • รายละเอียดท่วั ๆ ไป เกีย่ วกบั ประวตั สิ ่วนบคุ คล ประวัติครอบครัว โดยสังเขป ประวัติการพัฒนาการ ประวตั ิการเจบ็ ปว่ ย การดูแล รักษาจากอดีตถึงปจั จบุ นั • ตรวจสอบสภาพรา่ งกาย โดยการฟัง คลา การเคาะ การสังเกต เพือ่ ค้นหาความผดิ ปกติ • ตรวจในหอ้ งปฏิบัตกิ าร เชน่ การตรวจเลือด ตรวจคลืน่ หัวใจ ตรวจปัสสาวะ ตรวจอุจจาระ และอืน่ ๆ
ขน้ ท่ี ๒ การวเิ คราะหข์ ้อมูลท่ไี ด้จากการประเมนิ • เป็นข้ันตอนเพ่ือสร้างความเข้าใจ และตระหนกั ถงึ สภาวะและปญั หาสขุ ภาพของตนเอง โดยกระบวนการนี้จะเร่มิ ตน้ ต้งั แตก่ าร เปรียบเทียบสภาวะสขุ ภาพที่ประเมนิ ได้ กับเกณฑ์มาตรฐานท่ีควรจะเปน็ เม่ือวเิ คราะหไ์ ด้แล้ว ก็สามารถนาไปวางแผนเพ่ือ แก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสมตอ่ ไป ขัน้ ที่ ๓ การวางแผนหรือกําหนดวิธีการเพ่อื แกป้ ัญหาท่พี บหรอื ปรากฏ • เป็นขนั้ ตอนของการออกแบบกจิ กรรมเพ่อื แก้ไขปัญหาสขุ ภาพหรือสาเหตขุ องปัญหาสุขภาพทพ่ี บ โดยจะตอ้ งมีการวางแผนท่ี ชัดเจน และเปน็ ระบบ เช่น อาจสรา้ งตารางการดูแลสขุ ภาพของตนเองในระยะเวลา ๑ เดือน การวางแผนน้ี เราเป็นผู้ วางแผนและดาเนนิ การดว้ ยตนเอง หรืออาจเกิดจากการท่ีสมาชิกในครอบครวั ชว่ ยกนั วางแผนในการดแู ลสขุ ภาพให้กบั สมาชกิ ในครอบครวั ของตนเอง
การวางแผนดแู ลสุขภาพโดยใช้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง • หลักของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และการมีภูมคิ ุ้มกนั ในตัวท่ีดี ท้งั น้จี ะตอ้ งอยู่บนพืน้ ฐานของความรู้ ควบคู่ไปกบั คุณธรรม ฉะนน้ั สุขภาพที่พอเพยี ง หมายถงึ การกระทาอะไรแตพ่ อดี กินพอดี อย่พู อดี ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงกับการดูแลสุขภาพ พอประมาณ • รักษาสุขภาพตามฐานะของตนเองที่เรยี บงา่ ย ไม่เบยี ดเบยี นหรอื ทาความเดือดร้อนผอู้ ่นื มเี หตุผล • รวู้ ่าดแู ลรักษาสขุ ภาพเพราะอะไร เชน่ เพราะต้องการให้รา่ งกายแข็งแรง มีอายุยนื ยาว ความรู้ควบคคู่ ณุ ธรรม • ใชค้ วามรใู้ นทางท่ีถูกต้อง ไม่เอาเปรยี บผอู้ ่นื เช่น ผลติ อาหารทมี่ ีคณุ ภาพ สะอาดปลอดภยั ใหก้ ับผูบ้ รโิ ภค มีภูมคิ ุ้มกนั ในตัวที่ดี • อาทิ การรบั ประทานอาหารทปี่ ลอดภัย ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมกบั เพศและวัย
งานสาธารณสขุ มลู ฐานกับการดแู ลสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั ลักษณะงานสาธารณสุขมลู ฐาน • งานสาธารณสขุ มลู ฐาน มีความสอดคล้องกบั ชีวิตความเปน็ อยขู่ องคนไทยในเรื่องของสขุ ภาพอนามัย ชว่ ยสง่ เสริมความเขา้ ใจของ ผู้คนในท้องถิ่น และยังเปน็ การลงทนุ ท่ไี มส่ ูง มคี วามพอเพยี งและเหมาะสมกับชุมชนในสงั คมไทยเปน็ อย่างยง่ิ ปัจจบุ ันงาน สาธารณสุขมลู ฐานจะครอบคลมุ การดาเนนิ งาน ดังน้ี ๑. งานโภชนาการ ๘. การสร้างเสริมภมู คิ ุ้มกนั โรค ๒. งานสขุ ศกึ ษา ๙. การสง่ เสรมิ สุขภาพฟนั ๓. การรักษาพยาบาลท่ีจําเปน็ เบอ้ื งตน้ ๑๐. การส่งเสรมิ สุขภาพจิต ๔. การจัดหายาท่จี ําเป็น ๑๑. การรกั ษาอนามัยส่งิ แวดล้อม ๕. การสุขาภบิ าลและจัดหาน้ําสะอาด ๑๒. คุ้มครองผบู้ ริโภค ๖. อนามยั แมแ่ ละเดก็ และการวางแผนครอบครัว ๑๓. การป้องกันควบคมุ อบุ ตั ิเหตุ อุบัตภิ ัย และโรคไมต่ ิดต่อ ๗. งานควบคมุ ป้องกนั โรคติดตอ่ ในท้องถ่นิ ๑๔. การควบคุมป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคเอดส์
แนวทางในการดําเนินงานสาธารณสขุ มลู ฐาน • การดาเนนิ งานสาธารณสุขมูลฐานในปจั จบุ ันใช้วธิ กี ารคดั เลือกบุคคลในชุมชน ท่ีมีความรัก ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั การปฐม พยาบาล เขา้ มาเปน็ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ในกรงุ เทพมหานคร เรยี กวา่ อสส. (อาสาสมัครสาธารณสขุ ) ส่วนในชนบทหรอื ต่างจังหวัด เรยี กว่า อสม. (อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาํ หมบู่ ้าน) บุคคลเหล่าน้ีได้รบั การอบรม ดา้ นสาธารณสุขมลู ฐานทีถ่ กู ต้อง เพอ่ื ดแู ลชว่ ยเหลือประชาชนในชุมชน มี ๒ ลักษณะ คอื การดูแลผไู้ ม่เจ็บป่วย • คือการทากจิ กรรมรว่ มกัน เชน่ การให้ความรู้ด้านสขุ ภาพตา่ งๆ การร่วมกนั ทากจิ กรรมในชุมชน การประชาสัมพันธด์ า้ นตา่ งๆ เกีย่ วกบั เร่อื งสุขภาพออนามยั ในชมุ ชนและทว่ั ๆ ไป เพ่ือเปน็ การผสมผสานความรู้รว่ มกันของคนในชุมชนใหร้ ่วมกันดแู ลสขุ ภาพเพ่ือ การมสี ขุ ภาพดถี ว้ นหนา้ ดังนี้ ๑ เป็นผ้ปู ฏบิ ัติตนให้มสี ขุ ภาพดี เช่น การออกกาลังกาย กินอาหารท่ีมปี ระโยชน์ มีภาวะโภชนาการทีด่ ี รกั ษา ความสะอาดของร่างกายและทีอ่ ยู่อาศัยอย่างสม่าเสมอ หลีกเล่ยี งสารเสพตดิ ทกุ ชนดิ ๒ เปน็ ผู้รบั บริการ เชน่ การพาบตุ รหลานไปรบั การฉดี วคั ซนี ป้องกันโรคตามชว่ งวัย การเขา้ รว่ มกจิ กรรมหรือ โครงการตา่ งๆ เช่น โครงการกฬี าชมุ ชนสัมพนั ธ์ โครงการออกกาลังกาย เป็นต้น
การดแู ลผไู้ ม่เจ็บปว่ ย • เป็นกิจกรรมทกี่ ระทารว่ มกนั ของเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุขอาสาสมัคร เพอ่ื บริการใหก้ บั ประชาชนในชมุ ชนตา่ งๆ เช่น การฉีดวคั ซนี การพ่นยากันยงุ การฟื้นฟสู มรรถภาพคนป่วย การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกนั โรค เพ่อื ใหด้ ารงชีวิตอย่ใู นสงั คมไดต้ ามอตั ภาพ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี ๒ เพ่อื ศึกษาข้อมลู ผปู้ ว่ ย ครอบครัวสภาพแวดลอ้ ม สําหรบั นํามาใช้ในการประเมินปญั หาและผลกระทบ ๒ เพ่อื สนบั สนุนครอบครวั ให้รจู้ ักการวางแผนการช่วยเหลือและประเมินผลในการช่วยเหลอื ผปู้ ่วยให้ กลบั คืนสกู่ ารมสี ขุ ภาพดี ๓ เพ่อื การบรกิ ารสขุ ภาพแบบผสมผสาน ครอบคลุมดา้ นสง่ เสริม รักษาพยาบาลป้องกนั โรค และการฟ้นื ฟู สมรรถภาพ ๔ เพอ่ื ให้การดูแลผปู้ ว่ ยเป็นไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และมปี ระสทิ ธภิ าพ ๕ เพอ่ื เปน็ การเชอื่ มความสัมพนั ธท์ ่ีดขี องสาธารณสขุ กบั ผู้ป่วยและครอบครวั ใหใ้ กลช้ ิดยิง่ ขน้ึ
ขอ้ มูลข่าวสารและแหล่งการเรียนรู้ทางสุขภาพ ความหมายของข้อมูลและข้อมูลขา่ วสาร • ข้อมูล (Data) หมายถงึ ข้อเท็จจรงิ ทมี่ อี ยู่ หรอื ไดม้ าจากเหตุการณท์ ่ีเกิดข้นึ โดยไมไ่ ด้จัดการ เปลีย่ นแปลงใดๆ อาจจะเปน็ เคร่อื งหมาย ตัวเลข หรือสัญลกั ษณ์ใดๆ กไ็ ด้ • ขอ้ มูลข่าวสาร (Information) หรอื อาจเรยี กว่า ขา่ วสาร หมายถงึ ข้อมลู ที่ผ่านกระบวนการ วิเคราะห์หรือจัดการด้วยวิธกี ารใดวธิ ีการหนึง่ ใหอ้ ยใู่ นรูปแบบที่สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นการ ตดั สนิ ใจได้
ความสาํ คญั ของข้อมูลขา่ วสารทางสขุ ภาพ • ปจั จบุ นั ข้อมูลข่าวสารเขา้ มามีบทบาทในการดาเนินชวี ิตอยา่ งมาก ประกอบกับความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีท่มี ากข้นึ ทาให้ ข้อมลู ข่าวสารทเ่ี กย่ี วข้องกบั สุขภาพมีการเผยแพร่อย่างรวดเร็วและมอี ิทธพิ ลหรอื บทบาทต่อการดาเนนิ ชีวิต โดยเฉพาะข้อมลู ข่าวสาร สุขภาพที่มรี ปู แบบของการโฆษณาชวนเช่อื เช่น การรบั ประทานสารอาหารบางอย่างทีช่ ะลอความแก่ชรา การลดน้าหนัก โดยการ สวมใสอ่ ุปกรณ์บางชนดิ เป็นต้น กลุ่มของขอ้ มลู ข่าวสารทางสุขภาพ ข้อมูลขา่ วสารสุขภาพ (Health Information) หมายถงึ ขอ้ มูลข่าวสารทางดา้ นการแพทย์ และสาธารณสุข ซึ่งมปี ระโยชน์ตอ่ การนามาตัดสนิ ใจในการดาเนินกจิ กรรมทางดา้ น สุขภาพ โดยสามารถทีจ่ ะแบ่งกลมุ่ ของข้อมลู ขา่ วสารทางสขุ ภาพตามกิจกรรมของการ สาธารณสุขไดเ้ ปน็ ๔ กลมุ่ ใหญ่ คือ • ขอ้ มลู ขา่ วสารที่เกยี่ วขอ้ งกับการสร้างเสริมสุขภาพ เชน่ ข้อมลู ข่าวสารทีเ่ กยี่ วกบั การออกกาลงั กาย การบรโิ ภค การพกั ผ่อน เปน็ ตน้ • ข้อมูลขา่ วสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การปอ้ งกันโรค เชน่ การเสรมิ สร้างภูมิคุ้มกนั โรค การสขุ าภบิ าลสิ่งแวดลอ้ ม เปน็ ต้น • ข้อมูลข่าวสารทเี่ กี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล เชน่ วิธีการรกั ษาพยาบาลแบบต่างๆดูแลรกั ษาผู้ปว่ ย หรือขอ้ มูลเกี่ยวกับยารักษาโรคขนานใหม่ๆ • ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การฟืน้ ฟสู มรรถภาพ เชน่ การทากายภาพบาบัดแบบต่างๆ หรือเทคนิคในการฟน้ื ฟูจติ ใจของบุคคล เปน็ ตน้
ความสาํ คญั ของข้อมูลขา่ วสารทางสขุ ภาพ การตัดสินใจของบุคคลในการทจ่ี ะเลือกรูปแบบหรอื วิธกี ารใดนั้นขึน้ อยูก่ ับขอ้ มูลขา่ วสารทางสุขภาพท่ไี ดร้ บั โดยทั่วไปแลว้ ข้อมูลข่าวสาร สขุ ภาพจะมีประโยชน์ต่อการตัดสนิ ใจอยดู่ ้วยกัน ๒ ดา้ น คอื ด้านการวางแผน • ในการดาเนนิ ชีวิตของคนเรามกี ารวางแผนลว่ งหนา้ ทั้งมรี ะบบและไม่มีระบบ เช่น การวางแผนเรือ่ งสุขภาพ วางแผนการบรโิ ภค อาหารในแต่ละวัน วางแผนการออกกาลงั กาย ปัจจยั สาคญั คือ เร่ืองของข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะข้อมลู ขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพทม่ี ผี ล ต่อการตัดสนิ ใจ เช่น ปัจจุบันแนวทางในการรกั ษาโรคมอี ย่หู ลายแนวทาง ไดแ้ ก่ การแพทยแ์ ผนตะวันตก การแพทย์แผนไทย หรอื การแพทยท์ างเลือกอ่ืนๆ บคุ คลที่เจ็บปว่ ยจะเลอื กทางไหนก็ขึ้นอยู่กบั ข้อมลู ขา่ วสารสขุ ภาพทีไ่ ด้รับมา ด้านการควบคุม • ข้อมูลข่าวสารสขุ ภาพ มีประโยชนอ์ ยา่ งมากตอ่ การควบคมุ หรือการประเมินผล วา่ สงิ่ ทไ่ี ด้ดาเนินการไปแล้วเกดิ ผลดีตอ่ สขุ ภาพ อยา่ งไร และควรจะดาเนนิ การอยา่ งไรต่อ เช่น กรณลี ดความอว้ น ถ้าทราบวา่ หลงั การออกกาลงั กายและควบคุมอาหารแล้วทดลอง ชั่งน้าหนกั พบวา่ นา้ หนกั ตวั ลดลงกม็ กี าลังใจทจ่ี ะลดความอ้วนตอ่ ทาให้สามารถลดความอ้วนไดใ้ นทส่ี ดุ สง่ิ เหล่านี้เกดิ จากผลของการ ประเมินวา่ สิ่งท่ตี ดั สนิ ใจไปแลว้ นนั้ เหมาะสมตอ่ สุขภาพมากน้อยเพียงใด
แหลง่ ของขอ้ มลู ขา่ วสารสุขภาพ • การแสวงหาขอ้ มูลขา่ วสารทางดา้ นสขุ ภาพนั้น สามารถสบื คน้ ได้จากแหล่งตา่ งๆ มากมาย โดยแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญๆ่ ดังน้ี แหล่งปฐมภมู ิ แหล่งทุติยภูมิ • เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ หรอื บุคลากรทางการแพทย์ตา่ งๆ • ส่อื สิง่ พมิ พ์ • อาสาสมัครหรือผู้นาํ ชุมชนทางดา้ นสขุ ภาพ • สอื่ วิทยุ โทรทศั น์ • บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย • นทิ รรสการด้านสขุ ภาพ • บุคคลอน่ื ในชมุ ชนที่มคี วามรทู้ างดา้ นสุขภาพ • สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์และโทรคมนาคม
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: