๖หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ การใช้ยาและสารเสพติด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. มสี ว่ นรว่ มในการป้องกนั ความเสยี่ งต่อการใชย้ า การใชส้ ารเสพตดิ และความรุนแรง เพ่ือสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ ๒. วเิ คราะห์ผลกระทบท่เี กิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหนา่ ยสารเสพติดได้
ยาและการใชย้ า ความหมายและความสาคัญของยา • ยา หมายถงึ สารหรอื วัตถุทีใ่ หผ้ ลตอ่ รา่ งกายและจติ ใจ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพอื่ การวเิ คราะห์ บาบัด บรรเทา รักษา และปอ้ งกนั โรคหรอื ความเจ็บปว่ ยของมนุษย์และสตั ว์
ประเภทของยา สามารถแบง่ ออกเปน็ ประเภทได้ ดงั น้ี
ประโยชนข์ องการใชย้ า • เพอ่ื การรกั ษาโรคให้หายขาด เชน่ การใชย้ าปฏชิ วี นะเพื่อใช้ในการรักษาโรคตดิ เชอื้ หรือการใชย้ าเพอ่ื รกั ษาโรคเรื้อรงั และ โรคท่ัวไปตา่ งๆ เป็นตน้ • เพ่ือการควบคุมโรคหรือบรรเทาอาการต่างๆ เช่น ไอ เป็นไข้ คัน เปน็ ตน้ ซึ่งยาทีใ่ ชใ้ นการรักษาจะตอ้ งมีสรรพคณุ ตรงกับ อาการท่ีผปู้ ่วยเป็นอยู่ • เพอ่ื การป้องกันโรค เชน่ การใช้ยาเพอ่ื ปอ้ งกนั โรคตดิ เชอ้ื ต่างๆ ไดแ้ ก่ การฉีดวัคซีน ป้องกนั โรคระบาด การให้วัคซนี ปอ้ งกนั โรคโปลโิ อในเด็ก เป็นตน้
ปญั หาและผลกระทบจากการใช้ยา ๑ เกิดจากการขาดความรู้ ความเขา้ ใจในการใช้ยา ๒ คณุ ภาพของยาไมไ่ ด้มาตรฐาน หรอื ยาอาจหมดอายุแลว้ ๓ พยาธิสภาพของผู้ใช้ยา เชน่ พนั ธกุ รรม สภาพรา่ งกายของแตล่ ะคน มผี ลตอ่ การใชย้ าแตกตา่ งกนั
สาเหตุของการใชย้ าผดิ หรอื การติดยา การใช้ยาผดิ หรอื การติดยาเปน็ ผลมาจากพฤติกรรมของบคุ คลในการเลือกใช้ยาทไ่ี ม่เหมาะสมต่อการรักษาโรค รวมท้งั ในดา้ นประเภทของยา บุคคล เวลา วิธกี ารใช้ ขนาด ตลอดจนระยะเวลาที่กาหนด โดยมสี าเหตุทส่ี าคญั ในการใชย้ าผิดหรือการติดยา ดังนี้ • เลือกซอื้ ยาท่ีมีราคาถกู และหาซอื้ ไดง้ า่ ย หรอื ซอื้ ตามความนยิ มตามสงั คม • มีความเชือ่ แบบผิดๆ ว่ายาบางชนิดรกั ษาโรคน้ไี ด้ • หลงเชื่อคาโฆษณาของสรรพคณุ ยาชนิดนนั้ • เลียนแบบบุคคลที่ใกล้ชิด เช่น คนในครอบครวั เพ่ือน เป็นตน้ • ขาดความระมัดระวงั ในการใช้ยา • ขาดมาตรการในการลงโทษตอ่ การซอ้ื ขายยา และการผลติ ยาทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง
สถานการณก์ ารใชย้ าในปัจจบุ นั • ในสภาพสังคมปัจจบุ นั ที่เทคโนโลยเี จริญก้าวหนา้ ทาใหส้ ินคา้ ทั้งเคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภคถูกคดิ คน้ ข้นึ ใหม่ เพือ่ อานวยความสะดวก ให้แก่มนุษย์ รวมไปถึงยาตา่ งๆ ทีม่ สี ว่ นต่อการดารงชวี ติ ซึ่งหากเรามคี วามรคู้ วามเข้าใจในการใชย้ าที่ถกู ตอ้ ง ย่อมจะสง่ ผลดตี อ่ ผู้ใช้ ยา แต่หากมีพฤติกรรมการใชย้ าทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง ก็อาจกอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อผใู้ ชไ้ ด้ ดงั น้ี ๑. การใชย้ าเพื่อคลายความเครยี ด ๒. การใช้ยาชกู าลงั ๓. การใช้ยาแกง้ ่วง ๔. การใชย้ าแกป้ วด ๕. การใช้ยาชดุ ๖. การใชย้ าลดความอว้ น ๗. ยาและอาหารเสริม
ปญั หาและอันตรายจากการใชย้ า • การแพย้ า การแพ้ยาเปน็ ภาวะทีร่ ่างกายมกี ารเปลย่ี นแปลงตอ่ การตอบสนองของยา เนอื่ งจากเคยไดร้ บั ยาชนดิ นนั้ มากอ่ น แลว้ ซึ่งทาใหเ้ กิดการกระตุ้นให้รา่ งกายสร้างภมู ิค้มุ กันที่เรยี กวา่ “สิ่งต่อตา้ น” ขึน้ มา ทาใหเ้ กิดอาการตา่ งๆ เชน่ เปน็ ผืน่ คนั และบวม อาเจียน ชอ็ ก หรอื อาจเสียชีวติ ได้ เปน็ ต้น • การด้อื ยา การดอื้ ยาเปน็ ผลจากการใช้ยาไม่ถกู กับชนดิ ของเชอ้ื โรค ไม่ถกู ขนาด ไม่ครบจานวน หรอื ไม่ถูกตามกาหนดเวลาท่ี สามารถทาลายเช้ือโรคน้นั และจะเกดิ การต่อตา้ นยาชนดิ น้ันขน้ึ • ผลข้างเคยี งของการใชย้ า หมายถึง ผลหรอื อาการอน่ื ๆ ของยาที่เกดิ ขึน้ นอกเหนอื จากภาวะการรักษาโรคอันมผี ลตอ่ สภาพรา่ งกายทเี่ ปล่ยี นแปลงในระยะเวลาหนึ่ง หรอื แสดงอาการอย่างชัดเจน
• การตดิ ยา ยาบางชนิดถา้ ใช้ไมถ่ กู ต้องหรือใช้ต่อเน่อื งกนั เป็นระยะเวลานาน อาจจะมีผลตอ่ การตดิ ยาขนานน้นั ได้ง่าย • พิษของยา การใชย้ าเกนิ ขนาดเพราะใช้ไม่ถกู วิธี อาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อรา่ งกายได้ ซ่ึงมีผลตอ่ ระบบอวัยวะของร่างกาย ต่างๆ ดงั นี้ ๑. ระบบประสาทสว่ นกลาง ทาให้นอนไม่หลบั ปวดศีรษะ กระวนกระวาย ๒. ระบบเสน้ ประสาท ทาให้หอู ื้อ หูตงึ หูหนวก ๓. ระบบไหลเวียนโลหิต ทาให้หวั ใจเตน้ ผิดปกติ เกิดความผิดปกตขิ องเมด็ เลอื ด ๔. ระบบทางเดนิ อาหาร อาจทาให้เกดิ แผลในกระเพาะอาหาร ๕. ครรภม์ ารดา มอี ันตรายต่อทารกในครรภ์ ซึง่ อาจทาให้สญู เสียอวยั วะต้ังแต่ตั้งครรภ์ ๖. อวยั วะอน่ื ๆ เช่น ตับ ไต ทท่ี าหนา้ ทกี่ าจดั ของเสยี ออกจากร่างกาย แต่เน่อื งจากสถานการณ์ท่ีตอ้ งทางานหนกั หรอื ไดร้ บั ยาบางชนิด สง่ ผลต่อสภาพของรา่ งกายได้ เป็นตน้
แนวทางการจัดกจิ กรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา ตัวอยา่ งแนวทางการจัดกิจกรรมป้องกนั ความเสย่ี งต่อการใชย้ า มีดงั น้ี • แสดงบทบาทสมมติเมื่อไปซอื้ ยาจากร้านขายยาทม่ี เี ภสัชกร บอกรายละเอยี ดยาที่ใช้ ประวัตกิ ารแพย้ า ผลข้างเคยี ง • นาตวั อยา่ งยาท่ีใช้อยู่ประจา หรือที่เคยรบั ประทาน มาอธบิ ายใหเ้ พอ่ื ฟงั ท้งั ช่ือยา สรรพคณุ การใชย้ า ข้อระมัดระวงั ในการใช้ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ยา และสามารถนาไปปฏบิ ตั ิได้อยา่ งถูกตอ้ ง • สาธติ การอา่ นฉลากยา โดยนาฉลากยาหลากหลายประเภทมาอา่ นใหเ้ พ่อื นในหอ้ งฟัง และควรเนน้ ย้าใหเ้ พอื่ นในหอ้ งฟัง และปฏิบตั ติ ามเก่ยี วกับการเก็บรกั ษายา • เชญิ วิทยากรมาบรรยาย ถึงยาทใ่ี ชร้ บั ประทานทม่ี ปี ฏิกริ ิยาระหว่างยา อาหาร เคร่อื งดื่ม หรืออาหารเสริม และวิธกี าร หลีกเลี่ยง • ยกตวั อย่างกรณีศึกษา หรือบุคคลที่รจู้ กั วธิ ปี ฏิบัติตนเมอื่ เกดิ อาการข้างเคยี งจากการใช้ยา
สารเสพติด • องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมายของคาว่า “สารเสพตดิ ” ไว้วา่ สารเสพตดิ คอื สารทีก่ ารทากิจกรรมท่ีตนเองช่นื ชอบ ใน ยามวา่ ง สามารถปอ้ งกนั การตดิ สารเสพตดิ ไดเ้ สพเขา้ ไปแลว้ จะทาใหเ้ กดิ ความตอ้ งการทั้งทางร่างกายและจติ ใจ โดยไม่สามารถ หยดุ เสพได้และจะตอ้ งเพม่ิ ปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ โดยอาจเสพเข้าส่รู ่างกายโดยการกนิ สบู ฉดี หรอื ดมเปน็ เวลาตดิ ต่อกัน จนใน ที่สุดรา่ งกายจะทรดุ โทรมและจติ ใจอยใู่ นภาวะทไ่ี ม่ปกติ ทาใหเ้ กดิ โรคภัยไข้เจ็บแกร่ ่างกายและจติ ใจ
สถานการณเ์ กย่ี วกับสารเสพตดิ ในปัจจบุ นั • ปัญหาการใช้สารเสพติดเป็นปัญหาที่บอ่ นทาลายชาติอย่างท่ัวโลก การปราบปรามไมส่ ามารถจะทาลายหรอื ทาให้สาเร็จได้ง่าย เพราะมีผลประโยชนเ์ กยี่ วพันกนั อยา่ งมหาศาล ซ่งึ ปัจจบุ นั ยงั มกี ารแพร่ระบาดเพ่มิ มากข้นึ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในชมุ ชน ดังนั้น การหาแนวทางแก้ไขที่ดแี ละมีประสิทธิภาพจึงเปน็ สิง่ สาคญั ต่อชุมชนทีจ่ ะสรา้ งพลงั ในการช่วยป้องกนั ชมุ ชนของตนเองให้มี ความปลอดภัยจากสารเสพติด เป็นชมุ ชนท่ีมสี ุขภาพดี มีความสขุ ทง้ั ตนเองและบุคคลท่ีอย่รู ่วมกันในชุมชน ปัจจยั ตามหลกั ระบาดวทิ ยา ปัจจยั เชอื่ มโยงทีเ่ กย่ี วกบั การแพรร่ ะบาดของสารเสพติด • บุคคล กลุ่มเป้าหมาย ผคู้ า้ • สารเสพตดิ มกี ารปรบั ปรงุ ให้ทนั สมยั มากขึ้น • สิง่ แวดล้อม ท้ังครอบครวั ชุมชน เศรษฐกจิ การเจริญกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี
สถานการณเก่ยี วกบั สารเสพตดิ
ผลกระทบทีเ่ กิดจากสารเสพติด ปญั หาสารเสพตดิ มีผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ดังต่อไปน้ี ปญั หาสุขภาพ สารเสพติดก่อให้เกิดผลกระทบตอ่ รา่ งกาย ดงั น้ี ดา้ นรา่ งกาย • ทาให้รา่ งกายทรดุ โทรม สมองเสอ่ื ม สตปิ ัญญาลดลง นา้ หนกั ลด ความตา้ นทานของรา่ งกายนอ้ ยลงบคุ ลกิ ภาพ แปรปรวน อารมณ์และจติ ใจไมป่ กติ ฟุง้ ซ่าน ขาดความรับผดิ ชอบ นอกจากน้ยี ังทาให้เกิดโรคตา่ งๆ เชน่ โรคมะเร็ง โรคถงุ ลมโป่งพอง โรคไวรัสตับอกั เสบ โรคทต่ี ดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ โรคเอดส์ เปน็ ต้น ตลอดจนการ เสียชวี ติ เน่อื งจากการใชส้ ารเสพตดิ เกนิ ขนาด ด้านจิตใจ • มีอาการของโรคจติ โรคประสาท เช่น ซึมเศร้า หดหู่ ชอบแยกตวั อยคู่ นเดียว คลุม้ คลัง่ จิตใจเล่อื นลอย ประสาทหลอนจนถงึ ขั้นซมึ เศร้ารุนแรง ซ่ึงเปน็ สาเหตุของการฆา่ ตวั ตายในท่ีสุด
ปญั หาครอบครวั • ทาใหค้ รอบครัวแตกแยก เกดิ การทะเลาะววิ าท การลกั ขโมย รายไดต้ กต่า ไม่พอเล้ียงครอบครัว ขาดความรักความอบอุ่น ขาดความ รบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ี ซ่งึ เป็นต้นเหตนุ าไปสกู่ ารเกดิ ปญั หาอื่นๆ ตามมา ปัญหาชุมชนและสังคม • ก่อให้เกดิ ปัญหาอาชญากรรมตา่ งๆ เช่น ลักทรัพย์ ปลน้ จี้ ฆา่ ตัดตอน กอ่ เหตทุ ะเลาะววิ าท การถูกสงั คมรังเกยี จ การขายบริการ ทางเพศเพอ่ื แลกกับการซือ้ ยามาเสพ การทอดทิง้ บตุ ร เป็นต้น ปญั หาเศรษฐกจิ • สารเสพติดบ่อนทาลายเศรษฐกิจของประชาชนและประเทศชาตทิ ี่จะต้องใชใ้ นการดาเนินการป้องกนั ปราบปราม บาบดั รกั ษา และ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ประชาชนขาดรายได้ ประชาชนว่างงาน
สถานการณเ์ สย่ี งท่นี าไปสู่ปัญหาสารเสพติดในชุมชน การทบี่ ุคคลใช้สารเสพตดิ น้นั เปน็ พฤตกิ รรมทแี่ สดงออกมาในด้านของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ซ่ึงจะเป็นสถานการณเ์ ส่ียงท่ีจะ นาไปสปู่ ญั หาสารเสพติดในชมุ ชนได้ ดังนี้ สถาบนั ครอบครัว สภาพครอบครวั ท่แี ตกแยก หยา่ ร้าง ขาดความอบอนุ่ ขาดการอบรมสงั่ สอน ขาดผ้นู าครอบครวั การถูกทอดท้งิ ทาให้เกดิ ปญั หา ครอบครวั ทจ่ี ะนาไปสกู่ ารใชส้ ารเสพตดิ ได้ จึงมักมีคากลา่ ววา่ “ครอบครัวคอื ภูมิคมุ้ กันสารเสพตดิ ” พฤติกรรมส่วนบคุ คล การเท่ยี วเตรต่ ามสถานบนั เทงิ ในเวลากลางคืน การอยากทดลอง การเลยี นแบบจากบคุ คลในครอบครัว เพ่ือน ผใู้ กลช้ ดิ หรือผู้ท่ตี น ชืน่ ชอบ การอยากให้สงั คมยอมรับ เป็นต้น
กลุม่ คนท่มี ีแนวโน้มตอ่ สารเสพติดในชุมชน ผ้มู ีอทิ ธพิ ลท่ีเปน็ ผูผ้ ลิต ผคู้ ้า ผู้จาหนา่ ย แหล่งผลิต แหล่งจาหน่ายภายในหรือบริเวณรอบๆ ชุมชน ความออ่ นแอทางสงั คม และวฒั นธรรมของชุมชน การมแี หลง่ เสื่อมโทรม ชมุ ชนแออัด การขาดความรัก ขาดการมสี ว่ นร่วม ขาดความรับผดิ ชอบ ขาดกฎระเบยี บของชมุ ชน เปน็ ตน้ สถาบันทางการศึกษา โรงเรียน ครู อาจารย์ ผูป้ กครอง ชมุ ชน มสี ว่ นช่วยพฒั นาเยาวชน ตลอดจนกลมุ่ เพอื่ นซ่ึงถือว่าเป็นกลุ่มท่ีมอี ทิ ธิพลมากกว่าครอบครัว สถาบนั ทางสังคมและการเมอื ง ด้านมาตรการทางสังคม การเมอื ง ขาดกฎระเบียบ กฎหมายหย่อนยานที่เออ้ื ตอ่ กลุม่ บุคคลบางคนของภาครัฐ และการเมืองสภาพสงั คม ออ่ นแอ เสอื่ มโทรม
ลักษณะทางจิตที่เสี่ยงต่อการตดิ สารเสพตดิ ลกั ษณะทางจิตท่ีเสย่ี งตอ่ การติดสารเสพตดิ มีดังน้ี • มงุ่ อนาคต และควบคมุ ตน นักเรียนท่ีมคี วามมุง่ อนาคตต่า ย่อมไมท่ ราบว่าจะมีอะไรเกดิ ข้นึ กบั ตนในอนาคต เช่น นักเรยี นทไ่ี มต่ ัง้ ใจเรียน มชี ีวิตอยูโ่ ดยไมม่ ีจดุ มุ่งหมาย จึงมีแนวโนม้ ท่ีเส่ียงตอ่ การติดสารเสพติด เพ่ือใชเ้ ปน็ ทางออก ของชวี ิตในปจั จุบนั เปน็ ต้น • ความเชอื่ อานาจในตน นกั เรียนท่มี ีความเชอื่ อานาจในตน จะเปน็ ผ้ทู เ่ี ขา้ ใจชีวิต สามารถยอมรับว่าสงิ่ ต่างๆ ที่เกิด ขึน้ กบั ตนเป็นเพราะการกระทาของนักเรียนเอง ดงั นั้น นกั เรียนทม่ี ีความเชอ่ื อานาจในตนสงู จะปลอดภัยและเอา ตวั รอดจากการติดสารเสพติดได้ ซึง่ ตรงข้ามกับนักเรยี นท่มี ีความเชอ่ื อานาจนอกตน ซ่งึ มคี วามคดิ วา่ ส่ิงที่เกิดขน้ึ ในชีวิตเปน็ เร่อื งบงั เอิญ ขึน้ อยู่กบั โชคชะตา วาสนาเคราะหก์ รรม หรอื เกิดจากการกระทาของผู้อ่ืน จงึ มโี อกาสเส่ยี ง ตอ่ การติดสารเสพติดได้มาก
การป้องกนั ปัญหาและแก้ไขปัญหาสารเสพติด การพัฒนาบคุ คล เป็นสง่ิ สาคัญทสี่ ุด เพราะการทค่ี นจะตดิ หรอื เป็นทาสสารเสพตดิ มาจากปัจจัยของบคุ คล อันเน่อื งมาจาก สภาพท้งั รา่ งกายและจติ ใจทม่ี ีผลกระทบมากท่สี ุด ซงึ่ การพฒั นาบุคคล สามารถใช้กลวธิ ตี า่ งๆ ดังน้ี • การใหก้ ารศกึ ษา ใหค้ วามรู้ทัง้ ในโรงเรยี นและแหลง่ ชมุ ชน • ใหข้ ้อมลู ข่าวสารผ่านส่ือต่างๆ ทง้ั วทิ ยุ โทรทัศน์ ส่อื สง่ิ พมิ พ์ สื่อออนไลน์ ผา่ นเสยี งตามสายโรงเรียน ชุมชน หอกระจาย ข่าวตามหมู่บา้ น สถานอี นามยั • จัดกิจกรรมสัมมนา การฝกึ อบรม การอภิปราย การโตว้ าทหี รอื รณรงค์การป้องกันยาเสพตดิ • จดั กิจกรรมทางเลือก กิจกรรมนันทนาการ เช่น การออกกาลงั กาย การแข่งกฬี า การเข้าค่ายธรรมะ • การสร้างภูมิคุม้ กันเดินรณรงคก์ ารปอ้ งกนั ยาเสพตดิ การรูถ้ กู ผดิ โทษของยาเสพตดิ
สังคมและสิง่ แวดล้อม มกี ลวธิ ี ดังน้ี ครอบครัว • ครอบครัวต้องมคี วามรักใคร่ กลมเกลียวกัน สรา้ งความอบอนุ่ พึ่งพาอาศัยกนั และกนั ชว่ ยกันแกไ้ ขปญั หา อุปสรรคตา่ งๆ • การให้การศกึ ษาแกส่ มาชิกในครอบครวั จะช่วยให้เกิดการเรยี นรู้ ทักษะ และประสบการณ์ทด่ี ี • การให้ข้อมลู ขา่ วสารทถ่ี ูกต้องแก่สมาชกิ ในครอบครวั เก่ยี วกับปัญหาสารเสพตดิ เพ่อื น • ทากจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพ เช่น การออกค่ายอาสา ออกกาลังกาย การเลน่ กฬี า การเชยี ร์กีฬา นนั ทนาการ เป็นตน้ • เลือกคบเพอ่ื น โดยใช้กระบวนการของการตดั สนิ ใจการปฏิเสธ เพ่อื หลีกเล่ยี งและปอ้ งกนั ปัญหาสารเสพติด โรงเรียนและสถานศกึ ษา • คร-ู อาจารย์ ต้องรับนโยบายสถานศึกษา ตลอดจนหนา้ ท่ีความรับผิดชอบในการดแู ลนกั เรยี นหรอื นักศกึ ษาอยา่ งใกล้ชิด รวมถึงเป็นที่ปรกึ ษาปญั หาตา่ งๆ ของนักเรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง มีกลวิธี ดงั น้ี • การกาหนดนโยบาย แผนงาน กจิ กรรม เพื่อป้องกนั ปญั หาสารเสพตดิ อยา่ งต่อเน่ือง • การกาหนดพืน้ ทแ่ี ละกลุม่ เป้าหมายในการดาเนินงานทีเ่ หมาะสม • การผสมผสานมาตรการ วธิ ีการ กลวิธหี ลายๆ วิธี เชน่ การใช้สอ่ื ข่าวสารการโฆษณา การจัดนทิ รรศการ การประชมุ สัมมนา เป็นตน้ • ประสานงานระหว่างหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องในการป้องกนั และปราบปรามการแพรร่ ะบาด • สนับสนุนทรพั ยากรทั้งภาครฐั และภาคเอกชน ในการมสี ่วนรว่ มเพอ่ื พัฒนาการดาเนินงาน • การใชภ้ มู ิปัญญาชาวบา้ นในชมุ ชน เพื่อพฒั นา ทดสอบ ปรบั ปรุงคณุ ภาพให้เหมาะสมต่อการสร้างงานและ สรา้ งคนของชมุ ชน
แนวทางการจัดกิจกรรมปอ้ งกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพตดิ การแกไ้ ขปญั หาสารเสพติดในชุมชนควรคานงึ ถึงสภาพปญั หาท่ีแท้จริง โดยให้ชมุ ชนมองดตู นเองจากองคป์ ระกอบตา่ งๆ ๔ ประการ คือ จดุ แขง็ หมายถงึ การวิเคราะหค์ วามพร้อม สิง่ ทช่ี ุมชนมีอยู่ทีจ่ ะช่วยปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาสารเสพตดิ จุดออ่ น หมายถงึ การวิเคราะหห์ าปัญหา ข้อบกพร่องของชุมชนต่อสถานการณ์การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา โอกาส หมายถงึ สิง่ ที่สนบั สนุนเกอื้ กลู แก่ชุมชน เช่น งบประมาณที่มตี ่อชมุ ชน ในการปอ้ งกนั และฟ้นื ฟู กาหนด นโยบายอยา่ งชดั เจนรว่ มกันของรัฐและชมุ ชน การแก้ไขกฎหมาย มาตรการใหม้ บี ทลงโทษอยา่ งหนัก เปน็ ต้น ขอ้ จากดั และภัยคุกคาม หมายถงึ สงิ่ ทเี่ ปน็ อุปสรรค เช่น มีการผลิต และจาหนา่ ยรอบชุมชนทง้ั รายใหญ่ รายยอ่ ย ขาดงบประมาณ มีแหล่งอบายมุขเพม่ิ ขึ้น เป็นต้น
กฎหมายเกี่ยวกับสารเสพติด พระราชบัญญัติคมุ้ ครองสุขภาพของผู้ไม่สบู บุหร่ี พ.ศ. ๒๕๓๕ จัดใหส้ ่วนหนง่ึ ส่วนใดหรอื ท้ังหมดของสานกั งานเปน็ เขตสบู บุหรี่หรือเขตปลอดบหุ รี่ ผู้ใดฝา่ ฝนื ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินสองหม่นื บาท • จัดเขตสบู บหุ รใ่ี ห้มสี ภาพลกั ษณะ และมาตรฐานตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง สภาพลักษณะเขตสบู บหุ รี่ ผ้ใู ดฝา่ ฝืนตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกนิ หนงึ่ หมนื่ บาท • ติดเคร่ืองหมายแสดงเขตปลอดบุหรีใ่ นโรงเรียน โรงพยาบาล ศาสนสถาน ท่าอากาศยาน สนามกีฬา ธนาคาร สถานที่ออกกาลงั กาย หา้ งสรรพสินค้า และสถานที่สาธารณะทัว่ ไป ใหอ้ ยู่ในบริเวณท่ีมองเห็นชดั เจน ผ้ใู ดฝ่าฝืนตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ สองพนั บาท
พระราชบญั ญตั ฟิ ืน้ ฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ • “ฟืน้ ฟูสมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ” หมายความว่า การกระทาใดๆ อนั เป็นการบาบัดการติดสารเสพติดและฟ้ืนฟู สภาพรา่ งกายและจิตใจของผู้ตดิ สารเสพตดิ รวมถงึ การรกั ษาสภาพรา่ งกายและจติ ใจของผซู้ ึ่งเสพสารเสพติดให้ กลับ สสู่ ภาพปกตโิ ดยไม่เสย่ี งตอ่ การเป็นผู้ตดิ สารเสพตดิ • ใหร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยตุ ิธรรม รกั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ • จัดใหม้ ีคณะอนกุ รรมการฟ้นื ฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ และจดั ต้ังศนู ย์ฟื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติด • ตัวอย่างบางมาตรา เชน่
พระราชกาหนดปอ้ งกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ • “สารระเหย” หมายความวา่ สารเคมหี รอื ผลิตภณั ฑท์ ่ีรฐั มนตรปี ระกาศวา่ เป็นสารระเหย • “ผ้ตู ิดสารระเหย” หมายความวา่ ผู้ซึ่งต้องใชส้ ารระเหยบาบดั ความตอ้ งการของร่างกายหรอื จิตใจเป็นประจา ตวั อยา่ งบางมาตรา เช่น
พระราชบญั ญัตคิ วบคุมเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบญั ญตั ิควบคมุ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ตอ่ )
การบาบัดรกั ษาผ้ตู ิดสารเสพตดิ และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง การบาบดั รักษาผู้ติดสารเสพตดิ ...ข้ันตอนการบาบดั รกั ษาผูต้ ิดสารเสพตดิ แบง่ เป็น ๔ ขน้ั ตอน ขนั้ เตรยี มการ (Pre-admission) เป็นการศกึ ษาประวตั ิข้อมลู และภูมหิ ลงั ของผู้ตดิ สารเสพตดิ ทั้งจากผขู้ อรับการรักษาและครอบครวั เพ่อื ชกั จงู ใหค้ าแนะนา และกระตุน้ ให้ผู้ตดิ สารเสพตดิ มีความตง้ั ใจในการรกั ษา ขั้นถอนพิษยา (Detoxification) เปน็ การบาบัดอาการทางกายทเี่ กดิ จากการใชส้ ารเสพตดิ การดาเนนิ การ การให้ยาชนิดอื่นทดแทน ขน้ั ตอนในการฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) ขั้นตอนนีเ้ ปน็ การปรับสภาพรา่ งกายและจติ ใจของผเู้ ลิกยาใหม้ คี วามเข้มแขง็ ปรบั เปลยี่ นบคุ ลกิ ภาพและพฤติกรรมให้ สามารถกลับคืนสสู่ ังคมไดอ้ ย่างปกติ ขั้นการตดิ ตามดแู ล (After-Care) เป็นการติดตามดูแลผู้เลิกสารเสพตดิ ที่ผ่านการบาบดั รักษา ท้ัง ๓ ขน้ั ตอน เพอ่ื ให้คาแนะนาปรกึ ษาใหก้ าลงั ใจ ทัง้ นเ้ี พื่อมใิ ห้ หวนกลับไปเสพยาซา้ อีก
หน่วยงานที่รบั ผิดชอบในการแกไ้ ขปญั หาสารเสพติด ศูนยร์ ับแจ้งข่าวและระบบการขา่ ว มหี นว่ ยงานจดั ระบบการข่าว และศูนย์แจ้งข้อมลู ขา่ วสารจากเจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐเกีย่ วขอ้ งกับสารเสพตดิ ประกอบดว้ ย สว่ นกลาง ไดแ้ ก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงานตารวจแห่งชาติ กองบัญชาการทหารสงู สดุ กองทัพบก กองทพั เรือ กองทพั อากาศ กองบญั ชาการตารวจปราบปรามยาเสพตดิ และกองบัญชาการตารวจนครบาลป้องกนั ปราบปราม ส่วนภมู ภิ าค เชน่ ศูนยป์ ้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ กรุงเทพมหานคร (ศปส.ก.) และศนู ย์ป้องกันปราบปรามยาเสพตดิ จงั หวัด (ศปส.จ.) สาหรบั สานักงานปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ แหง่ ชาติ (ป.ป.ส.) ไดเ้ ปิดศูนย์รับแจง้ ขอ้ มูลขา่ วสารเจา้ หน้าที่ของรัฐเกย่ี วขอ้ งกับสารเสพตดิ ดงั นี้ • สานกั งานปราบปรามยาเสพตดิ สานักงาน ป.ป.ส. • สานกั งานปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ ภาคเหนอื (เชยี งใหม่) • สานกั งานป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (ขอนแกน่ ) • สานกั งานป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ ภาคใต้ (สงขลา) • สานักงานป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ภาคกลาง (กทม.) คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลหรือขา่ วสารการกระทาเกี่ยวข้องกบั สารเสพตดิ ที่มาจากหนว่ ยงานภาครฐั ท่ีรับผิดชอบ ซ่งึ ประกอบด้วยผแู้ ทนจากหนว่ ยงานของสว่ นราชการต่างๆ ทั้งคณะกรรมการประจากรงุ เทพมหานคร และคณะกรรมการประจาภาค
การบาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดในชุมชน และหนว่ ยงานทบี่ รกิ ารใหค้ าปรกึ ษา ระบบการบาบดั รกั ษาผตู้ ดิ สารเสพติด ปัจจุบันประเทศไทยมีระบบการบาบดั รักษาผตู้ ิดยา ๓ ระบบ • ระบบสมัครใจ • ระบบต้องโทษ • ระบบบังคับ สถานบรกิ ารใหค้ าปรกึ ษาและบาบดั รกั ษาผ้ตู ิดสารเสพติด ผทู้ ่ปี ระสบปัญหาสารเสพตดิ และไม่อาจแกไ้ ขได้ดว้ ยตนเอง อาจขอรับคาปรึกษาแนะนา หรือขอรบั บริการการบาบดั รักษาสารเสพตดิ ได้ จากสถานบริการตา่ งๆ เชน่ • กองบาบดั รกั ษา สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด • โรงพยาบาลในส่วนกลาง เชน่ โรงพยาบาลธญั ญารกั ษ์ โรงพยาบาลตารวจ เป็นตน้ • โรงพยาบาลของรัฐ เอกชนและคลนิ กิ ต่างๆ ในศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ท่วั ทกุ ภาคของประเทศ • ศนู ยห์ รอื บ้านต่างๆ ของเอกชน เช่น ศูนย์เบิกอรณุ ในประเทศไทย บ้านสนั ติสุข ฯลฯ • กลมุ่ ผู้ตดิ ยาเสพตดิ นิรนาม (NA) ในประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ศนู ย์บรกิ ารชมุ ชนสขุ มุ วทิ ๓๓ บ้านพิชติ ใจ ศูนย์ บาบัดรักษายาเสพติดภาคเหนือ กลุ่มผู้ติดยาเสพตดิ นิรนาม จังหวดั ภเู ก็ต เปน็ ตน้
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: