Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำไทยแท้

คำไทยแท้

Published by cokensincekid, 2020-06-07 22:03:09

Description: คำไทยแท้

Search

Read the Text Version

ภาษาตา่ งประเทศ ในภาษาไทย “คาไทยแท้” นายวศนิ สนิ ธปุ นั โรงเรยี นอนบุ าลลาพนู ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

การยืมคาจากภาษาอืน่ การยมื เปน็ ลกั ษณะของทกุ ภาษา ไม่วา่ ภาษาใดที่ไมม่ ีภาษาอนื่ เขา้ มาปะปน เม่ือแต่ละ ชาตติ อ้ งมีการตดิ ตอ่ สัมพนั ธก์ ันมาต้งั แต่อดตี กาล จนเกิดการนาคาหรือลกั ษณะทางภาษาของอกี ภาษาเขา้ ไปใช้ในภาษาของตน Date Your Footer Here 2

ประเภทของการยืม 1.ยืมเนื่องจากวัฒนธรรม กลุ่มที่มี ลั ก ษ ณ ะ ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ด้ อ ย ก ว่ า จ ะ รั บ เ อ า วฒั นธรรมจากกลมุ่ ทมี่ ีความเจริญมากกวา่ 2. ยืมเนื่องจากความใกล้ชิด การท่ีสอง กลุ่มใช้ภาษาต่างกันร่วมสังคมเดียวกันหรือมี อาณาเขตใกล้ชิดกัน มีความสัมพันธ์กันใน ชีวิตประจาวนั ทาให้เกิดการยืมภาษาซ่งึ กนั และกัน 3. ยืมจากคนต่างกลุ่ม การยืมภาษา เ ดี ย ว กั น แ ต่ เ ป็ น ภ า ษ า ข อ ง ผู้ ใ ช้ ท่ี อ ยู่ ใ น ส ภ า พ ท่ี ตา่ งกัน

อิทธพิ ลของการยมื ก า ร ยื ม ท า ใ ห้ ภ า ษ า เ กิ ด ก า ร เปล่ียนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่อวงศัพท์ซึ่ง ก า ร ยื ม ท า ใ ห้ จ า น ว น ศั พ ท์ ใ น ภ า ษ า มี ก า ร เพิ่มพูน เกิดวาระการใช้ศัพท์ต่างๆ กันเป็นคา ไวพจน์ คือ คาท่ีมีความหมายเดียวกัน แต่เรา เลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมท้ัง ยังมีประโยชน์ในการแต่งบทร้อยกรองเพราะมี หลากคา

ประวัติศาสตรก์ ารยมื ของประเทศไทย • ภาษาไทยมีการยืมจากภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปน เป็นเวลานานแล้ว แม้ในหลักศิลาจารึกของพ่อขุน รามคาแหงเมื่อปี พ.ศ.1826 ก็ยังปรากฏคายืมมาจาก ภาษาบาลีสันสกฤต และเขมรเขา้ มาปะปนมากมาย • ประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างชาติมาช้านานย่อมทา ให้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเป็น จานวนมาก เช่น เขมร จีน ชวา มลายู ญวน ญี่ปุ่น เปอร์เซีย โปรตุเกส ฝรงั่ เศส พม่า มอญ องั กฤษ

สาเหตุการยืมของภาษาไทย 1. ความสัมพันธ์ทางถิ่นฐาน การมีอาณาเขตติดต่อหรือ ใกลเ้ คยี งกนั กับมิตรประเทศ 2. ความสัมพันธ์ทางการค้า การติดต่อซื้อขายแลกเปลยี่ น สนิ คา้ กับต่างประเทศ 3. ความสัมพันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม การเผยแพร่ ศิลปะ วรรณคดี ของต่างประเทศสู่ประเทศไทย 4. การศึกษาและการกีฬา การที่นักเรียนไทยไปศึกษาท่ี ต่างประเทศทาให้รับวิชาความรู้ และวิทยาการมากมาย 5. ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีซงึ่ กัน และกัน ระหว่างไทยกับตา่ งประเทศ

คาไทยแท้ คาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว ไม่ว่า จะเป็นคานาม สรรพนาม วิเศษณ์ บุพบท สันธาน อุทาน ฯลฯ ซึ่งเรียกว่าภาษาคาโดด เช่น ลุง ป้า น้า อา กา ไก่ ฯลฯ มีคาไทยแท้ หลายคาท่ีมีหลาย พยางค์ เช่น มะม่วง สะใภ้ ตะวัน กระโดด มะพร้าว 7

คาไทยแท้ คาไทยแทห้ ลายคาที่มีหลายพยางค์ สาเหตุทีเ่ กิดจาก ๑.๑ การกร่อนเสียง คา ๒ พยางค์เมื่อพูดเร็วๆ เข้า คาแรกจะ กร่อนลง เช่น มะม่วง - หมากม่วง ตะคร้อ – ต้นครอ้ สะดอื - สายดือ มะตูม - หมากตมู ๑.๒ การแทรกเสียง คือคา ๒ พยางค์เรียงกันแลว้ มเี สยี งแทรก ตรงกลาง เช่น ลูกกระดุม – ลูกดุม ผักกระถิน - ผกั ถิน นกกระจอก – นกจอก ลูกกระเดือก – ลกู เดือก ๑.๓ การเติมพยางค์หน้าคามูล โดยเติมคาให้มี ความหมาย ใกล้เคียงกัน เช่น จมุ๋ จม๋ิ – กระจุ๋มกระจิ๋ม เด๋ียว - ประเดย๋ี ว ท้วง – ประท้วง ทา - กระทา

คาไทยแท้ คาไทยแทไ้ ม่มีตัวการนั ต์ ไม่นยิ มคาควบกล้า คาไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกดมี 8 มาตรา คาไทยจะสะกดตรงตาม มาตราตัวสะกด และไม่มีการันต์ เช่น มาตราแม่กก ใช้ ก สะกด เช่น มาก จาก นก จิก รัก มาตราแม่กด ใช้ ด สะกด เช่น กัด ตัด ลด ปดิ พดู มาตราแม่กบ ใช้ บ สะกด เชน่ จบั จบ รบั พบ ลอบ เป็นตน้

คาไทยแท้ • - คาไทยแท้คาเดียวอาจมีความหมายหลายอย่าง เช่น ไก่ขัน ขบขัน ขนั นา้ • - คาไทยแท้มีรูปวรรณยุกต์เป็นเคร่ืองหมาย กากับเสียง เช่น คา ค่า ค้า (เม่ือเสียงเปลี่ยน ความหมายจะเปลย่ี นตาม) • - คาไทยแทไ้ มพ่ บพยัญชนะต่อไปน้ี ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ษ ฬ ยกเว้น ฆา่ เฆ่ียน ระฆงั ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯลฯ • - คาไทยแท้หากออกเสียง ไอ จะใช้ ใอ เช่น ใหม่ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ (มใี ช้ ๒๐ คา) ไม่ใช้ อยั

- คาทใี่ ชเ้ รยี กเครือญาตมิ าแต่ เดิม เชน่ พอ่ แม่ พี่ นอ้ ง พ่ี ปา้ นา้ - คาท่ีเป็นสรรพนาม เชน่ มงึ กู สู เรา เขา แก เอง็ - คาที่บอกกิริยาอาการโดยท่ัวๆไปซง่ึ ใช้มาก่อน เชน่ นั่ง นอน คลาน ย่าง ย่า ก้ม เงย เกิด ตาย - คาท่บี อกจานวน เช่น อา้ ย ย่ี ร้อย เอ็ด ลา้ น - คาที่ใช้เรยี กเคร่ืองมือเครื่องใช้ หรือสัตวส์ ิ่งของทใี่ ช้ประกอบอาชีพ มาแต่ โบราณ เชน่ บ้าน เรือน ครัว วัว ควาย หม้อ เสา ตัวอยา่ งคาไทยแท้ 11

- คาเรียกชอ่ื ธรรมชาตซิ ง่ึ มีมานาน เช่น คลอง หว้ ย หนอง ไฟ ดนิ หนิ ฝน - คาทีใ่ ช้เรียกสีทร่ี ู้จกั กัน โดยท่ัวไป เชน่ ดา ดา่ ง มว่ ง เขียว มอ ฟา้ - คาทีเ่ ปน็ คณุ ศพั ท์เกา่ แก่ เช่น ใหญ่ หนกั แบน กลม เกลยี ด ลืม หลง อว้ น ซบู - คาท่ใี ชเ้ รยี กอวัยวะ เช่น หูตา มอื ตนี ขน ผม - คาทใ่ี ชเ้ ป็นลักษณนาม เช่น ลา กอ้ น หลุม คน ตัวอย่างคาไทยแท้

13