Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11__Global Warming

11__Global Warming

Published by sutthirak_u, 2019-04-28 11:59:33

Description: 11__Global Warming

Search

Read the Text Version

ภาวะโลกรอ้ น (Global Warning) และผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ น อ.ดร.สุทธิรกั ษ์ อ้วนศิริ สาขาวิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ

1. ภาวะโลกร้อน(Global warning)หมายถึงอะไร? 2. ภาวะโลกรอ้ นเกดิ ข้ึนได้อยา่ งไร? 3. กา๊ ซเรือนกระจกเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร? 4. ก๊าซเรอื นกระจกมผี ลตอ่ ภาวะโลกรอ้ นอยา่ งไร? 5. ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนในประเทศไทย 6. ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนในระดับสากล 7. สรุปผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ นในประเทศไทย 8. สรปุ ผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ นในระดับสากล 9. เราจะแกไ้ ขหรือป้องกนั ภาวะโลกรอ้ นได้อย่างไร? 2

ภาวะโลกรอ้ น (Global Warning) ภาวะโลกรอ้ นหมายถงึ อะไร? ---> ภาวะท่ีโลกไม่สามารถส่งผ่าน หรือระบายความร้อนที่เกิดข้ึนบนโลกกลับ ออกไปในช้ันบรรยากาศได้ เปน็ ผลทาให้ความรอ้ นเหล่าน้ันคงอยู่บนผิวโลก 30% ภมู อิ ากาศของโลกเกิดจากการไหลวน 70% ของพลังงานของดวงอาทิตย์พลังงาน ส่วน ใหญ่เข้ามาสู่โลกใน รูป ขอ ง แสงแดด ประมาณ 30% ของ พลังงานที่เดินทางมาสู่โลกสะท้อน กลับห้วงอวกาศ แต่ประมาณ 70% ดดู ซับผา่ นช้นั บรรยากาศลงมายงั โลก 3

-------> ปรากฏการณโ์ ลกรอ้ น (global warming) คอื ปรากฏการณ์ท่ี อณุ หภูมเิ ฉล่ยี ของผวิ โลกและผนื มหาสมุทรสงู ข้นึ โดยมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซเรอื นกระจกอ่ืนๆ เปน็ ตัวการกักเกบ็ ความร้อนจากแสงอาทิตย์ ไวไ้ มใ่ หค้ ายออกไปสบู่ รรยากาศ

ภาวะโลกรอ้ นเกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร ? ตามธรรมชาติในอากาศมีก๊าซท่ีวนเวียนอยู่เราเรียกว่า “ก๊าซเรือน กระจก” ท่ีสาคัญ คือ ไอน้า (H2O) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โอโซน (O3) มเี ทน (CH4) ไนตรสั ออกไซด์ (N2O) ซ่ึงจะเกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ ก๊าซ เหล่านี้มีปริมาณท้ังส้ินไม่ถึงร้อยละ 1 ของบรรยากาศ ปริมาณดังกล่าวเพียง พอทจี่ ะทาใหเ้ กิด “กา๊ ซเรอื นกระจกธรรมชาติ” ซึ่งมผี ลใหโ้ ลกของเรามีอุณหภูมิ อุ่นข้นึ จากเดิมอกี ประมาณ 30 องศาเซลเซียส 5

6

1. คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide) - เปน็ ก๊าซในบรรยากาศซึง่ ประกอบดว้ ยคาร์บอน 1 อะตอมและ ออกซเิ จน 2 อะตอม ตอ่ หนึ่งโมเลกลุ มสี ตู รเคมี CO2 - เม่อื อยใู่ นสถานะของแข็ง มักจะเรียกว่านา้ แข็งแหง้ (Dry Ice) - เปน็ กา๊ ซทม่ี ีปรมิ าณมากเป็นอันดับ 4 ในอากาศ รองจาก ไนโตรเจน ออกซเิ จนและ อาร์กอน - เกดิ ข้ึนจากธรรมชาตแิ ละการกระทาของมนษุ ย์ เช่น ภูเขาไฟ ระเบดิ การหายใจของสิ่งมชี ีวิต หรอื การเผาไหมข้ องสารประกอบอนิ ทรยี ์ - เปน็ วัตถุดบิ สาคญั ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื เพ่ือใช้ คาร์บอนและออกซิเจนในการสังเคราะหค์ าร์โบไฮเดรต จากกระบวนการ สงั เคราะห์ดว้ ยแสงนี้ พชื จะปลอ่ ยก๊าซออกซเิ จนออกมาสบู่ รรยากาศ ทาให้สัตว์ได้ ใช้ออกซเิ จนน้ใี นการหายใจ 7

8

2. มีเทน (Methane) - เปน็ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนพวกแอลเคน สตู รเคมี คือ CH4 - เปน็ กา๊ ซไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองคป์ ระกอบส่วนใหญข่ องกา๊ ซ ธรรมชาติ - ไดม้ าจากการหมักมูลสตั วแ์ ละนามาใชเ้ ป็นเชอ้ื เพลงิ ราคาถกู - พบได้ในช้ันถา่ นหิน (Coal Bed Methane) โดยจากกระบวนการ เกดิ ถา่ นหนิ ทาให้กา๊ ซสะสมตัวและกักเกบ็ อยใู่ นชอ่ งวา่ งในเนอื้ ถ่านหิน 9

3. ไนตรสั ออกไซด์ (Nitrous Oxide) - คอื สารประกอบทางเคมีท่มี สี ตู รทางเคมวี ่า N2O - ทอี่ ณุ หภูมหิ ้องจะไมม่ สี ี และเป็นกา๊ ซไมต่ ิดไฟ มกี ลนิ่ หอมและมีรส หวานเล็กน้อย - มกี ารนาไนตรัสออกไซดไ์ ปใชใ้ นการผ่าตัดและทางทนั ตกรรมเพื่อให้ เกดิ อาการชาและเพื่อการระงบั ความปวด - โดยทวั่ ไปรจู้ กั กนั ในชือ่ “แกส๊ หัวเราะ” เนือ่ งจากเม่อื สดู ดมแลว้ จะให้ ความรู้สึกเคล้ิมสุขหรือครม้ึ ใจ เป็นคณุ สมบัตทิ ที่ าใหม้ ีการใช้ในเชิงนันทนาการ โดยการใช้เป็นยาดม - มกี ารนาไปใชใ้ นการแข่งรถยนต์โดยให้เปน็ ตวั เตมิ ออกซเิ จนเพอ่ื เพิ่ม กาลงั ให้เครื่องยนต์อกี ดว้ ย 10

- เกดิ จากแบคทีเรียในดนิ และมหาสมทุ ร มันจึงเปน็ สว่ นของ บรรยากาศของโลก - เกดิ จากฝมี อื มนุษยโ์ ดยการพรวนดนิ และการใชป้ ุ๋ยไนโตรเจน ของ เสียจากสตั วก์ ม็ สี ว่ นชว่ ยเพมิ่ แบคทีเรียทีใ่ ห้เกดิ ไนตรสั ออกไซด์เพิ่มขน้ึ - เกดิ จากภาคปศุสัตว์ (ส่วนใหญ่คอื โคกระบือ ไกแ่ ละสุกร) ปลอ่ ย ไนตรสั ออกไซดท์ ี่ถอื เป็นกจิ กรรมมนุษย์มากถงึ ร้อยละ 65 แหลง่ ท่มี าจาก อุตสาหกรรมมเี พียงประมาณร้อยละ 20 - เกดิ จากการผลิตไนลอนและกรดไนตริก - เกิดการเผาผลาญเชอื้ เพลิงซากดึกดาบรรพใ์ นเครอื่ งยนตส์ ันดาป ภายใน 11

4. ซัลเฟอรเ์ ฮกซะฟลอู อไรด์ (SF6) - ไมม่ กี ลนิ่ ไม่มีพิษ ไม่ไวต่อปฏกิ ริ ยิ า - นิยมใช้ประโยชนใ์ นอุตสาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยเฉพาะ ในการผลิตเซอร์กิตเบรกเกอร์ และสวติ ชเ์ กียรท์ ี่ใช้กบั ระบบ ไฟฟ้าแรงสูง - กา๊ ซชนิดนมี้ เี วลาช่ัวชีวติ ในบรรยากาศ 3,200 ปี และมคี ่า ศกั ยภาพในการทาใหเ้ กิดภาวะโลกร้อนท่ี 22,000 ในเวลา 100 ปี 12

5. ไฮโดรฟลูโอโรคารบ์ อน (HFC) - เป็นสารที่ใช้กนั มากทส่ี ดุ ในกลุ่ม F-gases โดยพบในอตุ สาหกรรม เคร่อื งทาความเยน็ เชน่ ตเู้ ยน็ เครอ่ื งปรับอากาศ และถกู ใชใ้ นอุปกรณ์ ดับเพลิงในลักษณะฉดี ออกมาเปน็ โฟม - ก๊าซชนิดน้ีมเี วลาชั่วชวี ิตในบรรยากาศ 800-50,000 ปี และมีคา่ ศกั ยภาพในการทาให้เกิดภาวะโลกร้อนที่ 140-11,700 ในเวลา 100 ปี 13

6. เพอฟลูโอโรคารบ์ อน (PFCs) - ถูกใช้ในอตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์ เคร่อื งสาอางและยา - สารชนิดนเ้ี คยถกู ใชใ้ นอุปกรณด์ บั เพลิงซงึ่ ยงั สามารถพบได้ใน อปุ กรณ์ดบั เพลิง ร่นุ เกา่ - กา๊ ซชนดิ นีม้ ีเวลาช่วั ชวี ิตในบรรยากาศ 800-50,000 ปี และมีคา่ ศกั ยภาพในการทาให้เกดิ ภาวะโลกรอ้ นที่ 6,500 – 9,200 ในเวลา 100 ปี 14

กา๊ ซเรอื นกระจกมผี ลตอ่ ภาวะโลกรอ้ นไดอ้ ยา่ งไร? “กา๊ ซเรอื นกระจก” ในบรรยากาศเปน็ สงิ่ ขวางก้ันแสงอนิ ฟราเรดท่โี ลก สะท้อนกลับจากผิวโลกสู่บรรยากาศ แสงอินฟราเรดไม่สามารถทุละผ่าน อากาศได้เหมือนกับแสงสว่าง ดังน้ันพลังงานที่ส่งออกจากผิวของโลกจึงเป็น การส่งออกโดยกระแสลมและเมฆทอ่ี ยู่บนช้ันบรรยากาศที่หนาแน่นไปด้วยก๊าซ เรอื นกระจก กอ่ ใหเ้ กิดภาวะโลกร้อนขน้ึ 15

ก๊าซเรอื นกระจกเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร? กจิ กรรมของมนุษย์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติรวมถึง การตดั ไม้ทาลายป่าทาให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ - การทาการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกข้าวในนาที่มีน้าขัง การปศุ สัตว์ปลอ่ ยกา๊ ซมเี ทนและไนตรสั ออกไซด์ - ควันจากทอ่ ไอเสียรถยนตป์ ลอ่ ยกา๊ ซโอโซน - การปล่อยสารฮาโลคาร์บอน ((Chlorofluorocarbon (CFC), Hydrofluorocarbons (HFCs), Perfluorinated compounds (PFCs)) ก๊าซเหล่าน้ีเปลี่ยนแปลงลักษณะการดูดซับพลังงานของบรรยากาศ ผลก็คือ ปรากฏการณข์ อง “กา๊ ซเรือนกระจกขยายตัว” 16



ผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ นในประเทศไทย ระดบั นา้ ทะเล การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลกทาใหร้ ะดบั นา้ เฉลย่ี เพม่ิ ขึ้น 0.09 – 0.88 เมตร มีผลตอ่ สภาวะคล่ืนและการกัดเซาะชายฝง่ั สง่ ผลตอ่ ระบบนเิ วศ ชายฝั่งทะเลซึ่งเปน็ ท้ังทรัพยากรชีวภาพท่สี าคญั และแหล่งประกอบอาชีพของ ชุมชนชายฝง่ั ผลผลิตทางการประมง และเกษตรกรรมบริเวณชายฝัง่ รวมไปถึงธุรกจิ การท่องเท่ยี ว ซง่ึ มีความสาคัญต่อวิถีชีวติ ของ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ และเศรษฐกจิ ของประเทศ 18

ทรพั ยากรนา้ สภาพภูมอิ ากาศท่เี ปลย่ี นแปลงไปอาจทาใหเ้ กิดฝนตกหนกั ในบางพืน้ ท่ี จนประสบปัญหาน้าทว่ ม และอาจเกดิ นา้ ทว่ มใหญเ่ ร็วขนึ้ จากทุกๆ 10 ปี เปน็ ทุกๆ 5 ปี โดยเฉพาะบรเิ วณลมุ่ แม่น้าเจา้ พระยา ในขณะเดียวกันอุณหภมู ิที่ สงู ข้นึ จะทาให้นา้ จากแหลง่ นา้ ต่างๆ ระเหยเรว็ ขึ้น จงึ อาจเกดิ ปญั หาภัยแล้งใน พนื้ ที่ทีม่ ฝี นตกนอ้ ยได้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง และมีแนวโนม้ วา่ เข่ือนศรี นครนิ ทร์ จงั หวดั กาญจนบรุ ี ซ่งึ ชว่ ยปอ้ งกันการรกุ ลา้ ของนา้ เค็มทีจ่ ะเข้ามาสู่ แม่น้าแมก่ ลองนั้น อาจประสบกับปัญหาภยั แล้งได้ 19

ทรพั ยากรปา่ ไม้ อณุ หภูมิ และปรมิ าณนา้ ฝนท่ีเปลย่ี นแปลงไปจะทาให้องค์ประกอบ และ ประเภทของป่าเปล่ยี นแปลงไปอย่างมาก แมว้ า่ พื้นที่ปา่ จะยังเท่าเดิม ป่าใกลเ้ ขตรอ้ น (Sub-tropical life zone areas) น่าจะมพี ้นื ท่ี ลดลงจาก รอ้ ยละ 50 เหลือร้อยละ 12-20 ป่าเขตร้อน (Tropical life zone areas) บริเวณภาคใต้ของไทย อาจจะมีพื้นท่เี พิ่มขน้ึ จากร้อยละ 45 เปน็ รอ้ ยละ 80 เนือ่ งจากจะเปน็ บริเวณ ท่ีคาดวา่ จะมีฝนตกมากขน้ึ 20

- ปา่ แล้งใกลเ้ ขตรอ้ น (Subtropical dry forests) ซึ่งคิดเปน็ ร้อย ละ 12 ของพื้นท่ีป่าทัง้ หมด มแี นวโน้มจะสญู หายไป โดยมปี ่าประเภทใหม่ คือ ปา่ แล้งมากเขตร้อน (Tropical very dry forests) เกดิ ขึน้ มาแทนใน บรเิ วณภาคเหนอื และตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศ - ป่าแล้งเขตร้อน (Tropical dry forests) มแี นวโน้มท่จี ะรุกเข้าไป แทนทีป่ ่าช้ืนใกลเ้ ขตร้อน (Sub-tropical moist forests) เน่อื งจากความชื้น ในอากาศลดลง 21

พนื้ ที่ชายฝง่ั พ้ืนที่ชายฝั่ง และพื้นที่ซ่ึงติดกับแหล่งน้าที่เช่ือมต่อกับทะเล เช่น กรุงเทพฯ มีความเส่ียงสูงทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบจากปัญหาน้าท่วม และน้าทะเล หนนุ การละลายตัวของน้าแข็งบริเวณข้ัวโลกส่งผลให้ระดับน้าทะเลเพ่ิม สูงขึ้นจนท่วมพื้นที่บริเวณชายหาด นอกจากน้ี พื้นท่ีใกล้แหล่งน้าบริเวณที่ เชอื่ มตอ่ กบั ทะเลอาจจะเกดิ น้าทว่ มบ่อยข้ึนเนือ่ งจากนา้ ทะเลหนุน โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน คาดว่าพื้นท่ี ราบต่าในเขตชลประทานทางตะวันออก ของกรงุ เทพฯ ลงไปตามแม่น้าบางปะกง ระดบั นา้ อาจทว่ มสูงถึง 2 เมตร 22

สาหรับบรเิ วณอ่าวไทยและแม่น้าสายหลักทไี่ หลลงสอู่ า่ วไทย หาก ระดบั นา้ ทะเลปานกลางสูงขนึ้ อกี 25 – 50 ซม. การเปลย่ี นแปลงระดับของ นา้ จะมีความรุนแรงจนสร้างความเสียหายใหก้ ับแนวชายฝั่งบริเวณอ่าวไทย ตอนบนได้ นอกจากน้ี การรกุ ของน้าเค็มยงั จะสรา้ งความเสยี หายตอ่ ทดี่ นิ และ ผลติ ผลทางการเกษตรอกี ดว้ ย 23

ผลกระทบจากสภาวะโลกรอ้ นในระดบั สากล ระดบั นา้ ทะเล สาเหตุสาคัญที่ทาให้ระดับน้าทะเลสูงข้ึนคือ การขยายตัวของผิวน้า ทะเลเมื่อได้รับความร้อนมากขึ้น โดยมีการละลายของภูเขาน้าแข็งในขั้วโลก เป็นตัวสนับสนุน ผลกระทบจากการที่ระดับน้าทะเลเพิ่มสูงขึ้นอาจส่งผล กระทบในวงกว้าง โดยพ้ืนท่ีแต่ละแห่งมีโอกาสจะได้รับผลกระทบไม่เท่ากัน พ้ืนท่ีซ่ึงมีความเสี่ยงสูงคือพื้นท่ีที่อยู่สูงจากระดับน้าทะเลไม่มาก โดยเฉพาะ บริเวณชายฝัง่ ของประเทศกาลงั พฒั นาซ่งึ มีขีดความสามารถในการปรับตัวต่า 24

ระดับนา้ ทะเลเฉลย่ี ของโลกในชว่ ง 100 ปีทผี่ า่ นมาไดเ้ พ่มิ สูงขึน้ 10-25 เซนติเมตร อุณหภูมขิ องโลกทส่ี งู ขน้ึ อาจทาใหร้ ะดบั นา้ ทะเลเฉล่ีย เพมิ่ สูงขนึ้ อีกประมาณ 50 ซ.ม. ใน 100 ปขี ้างหนา้ โดยระดับน้าทะเลในแต่ ละพื้นทอ่ี าจเพม่ิ สงู ข้ึนไมเ่ ท่ากนั เนอ่ื งจากผลจากการเปลยี่ นแปลงของ กระแสนา้ ในมหาสมทุ ร คาดการณว์ ่าหากระดับนา้ ทะเลสูงขน้ึ อกี 1 เมตร พนื้ ที่ของประเทศ ตา่ งๆ อาจจะจมหายไป ดงั น้ี อุรกุ วยั จะหายไปรอ้ ยละ 0.05 อยี ปิ ต์ รอ้ ยละ 1 เนเธอรแ์ ลนด์ รอ้ ยละ 6 บังคลาเทศ ร้อยละ 8 25

ภาพ (a) แสดงการถดถอยของพน้ื ท่ีเกาะโซโกมู ระหวา่ งปี 1947-2014, ภาพ (b) พน้ื ทท่ี าง ตะวันออกของเกาะโซโกมทู ่ีถกู นา้ ทะเลเออ่ เข้าท่วม ภาพ (c) การถดถอยของเกาะ 26

ทรพั ยากรปา่ ไม้ พื้นทป่ี า่ ไม้ 1 ใน 3 ของโลกมีความเสย่ี งท่จี ะได้รับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อุณหภูมิเฉลยี่ ของโลกที่เพม่ิ ขึ้นเพยี ง 1 องศาเซลเซียสในศตวรรษท่ี 21 จะมีผลต่อโครงสรา้ งและองคป์ ระกอบทางนิเวศของปา่ เป็นอย่างมาก กล่าวคอื ปา่ หนึ่งในสามของโลกจะได้รับผลกระทบจากปรากฏการณน์ ้ี ป่าบางชนดิ อาจ หายไป ในขณะเดยี วกับอาจเกดิ โครงสรา้ งและองค์ประกอบทางนิเวศของปา่ ประเภทใหมข่ ึ้นได้ นอกจากน้ี จานวนศัตรพู ืชก็จะมีปริมาณและความรุนแรงที่ สูงข้นึ 27

ปา่ ไมท้ ่มี คี วามเสย่ี งสงู ท่จี ะไดร้ บั ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศ ไดแ้ ก่ ป่าไทก้าทางแถบขวั้ โลกเหนอื ป่าในเขตร้อน และป่า ชายเลน 28

การประมง กระแสนา้ รอ้ น น้าเยน็ ทเ่ี ปลี่ยนไปสง่ ผลใหจ้ านวนสัตว์นา้ ใน มหาสมทุ รลดจานวนลงอย่างมาก ภมู ิอากาศทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปส่งผลตอ่ การไหลของกระแสนา้ ร้อน กระแสน้าเย็นในมหาสมทุ ร ซง่ึ กระทบตอ่ ความอุดมสมบูรณข์ องมหาสมทุ ร เช่น แพลงก์ตอนสัตวบ์ ริเวณกระแสนา้ แคลิฟอร์เนยี ลดจานวนลงกว่าร้อยละ 70 นบั จากปี พ.ศ. 2493 ส่งผลให้จานวนปลาในมหาสมุทรลดลง และทา ให้นกทะเลจานวนมากลดจานวนลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั นกบางชนิด เชน่ นกพิลี แกนสนี ้าตาล ต้องอพยพข้นึ ไปอยู่ทางเหนอื เพือ่ ความอย่รู อด 29

เกิดปรากฎการณ์เอลนโิ ญ่ และ ลานิโญ่ ซงึ่ เป็นปรากฎการณเ์ กิดจาก ความผกผนั ของกระแสอากาศโลกบรเิ วณเสน้ ศูนย์สตุ ร เหนือมหาสมุทรแปร ซิฟิก มผี ลทางระบบนิเวศและห่วงลูกโซ่อาหาร ปริมาณปลาน้อย นกกินปลา ขาดอาหาร ชาวประมงขาดรายได้ เกดิ ความแหง้ แล้งทางตอนเหนือของทวีป อเมรกิ าใต้ และเกิดฝนตกหนกั ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอลนิโญ่ ลานโิ ญ่

การละลายของนา้ แขง็ Arctic ภาพถา่ ยจากดาวเทยี มแสดงการละลายตวั ของน้าแข็งบริเวณ Arctic ชว่ ง September 1979 และ September 2003 31

Greenland ภาพถา่ ยจากดาวเทียมในชว่ งฤดูหนาวแสดงถงึ การละลายตัวของแผ่น น้าแขง็ และมแี นวโน้มขยายพน้ื ทกี่ ารละลายตัวมากขึน้ 32

Antarctica 33

สรุปผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ นในประเทศไทย - จากสถิติในรอบ 50 ปี ทีผ่ ่านมาแสดงให้เหน็ ว่า อุณหภูมิของประเทศ ไทยมีแนวโน้มเพม่ิ สูงข้นึ เรือ่ ยๆ ผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้ กับประเทศไทย ที่เหน็ ได้ชัดเจนท่ีสดุ กค็ ือ “ปรากฏการณ์ปะการงั ฟอกขาว” อันเนอ่ื งมาจากอณุ หภมู ขิ องน้าทะเลท่สี งู ขนึ้ ปรากฏการณน์ ไี้ ด้เกดิ ข้ึน แล้วเปน็ บรเิ วณกว้างท่วั อา่ วไทย - การเกิดพายหุ มนุ ในเขตรอ้ นมคี วามถีใ่ นการเกดิ ท่ีสงู ข้ึนและรนุ แรง มากขนึ้ อนั จะนามาสคู่ วามเสียหาย ดังเชน่ การเกดิ จากพายุไต้ฝนุ่ เกย์ ในจังหวดั ชมุ พร ปี พ.ศ. 2532 และลา่ สดุ กบั กรณีของต.นา้ ก้อ อ.หลม่ สัก จ.เพชรบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2544 34

สรปุ ผลกระทบจากสภาวะโลกรอ้ นในระดบั สากล - นบั จากปี พ.ศ. 2393 เปน็ ตน้ มา พ้ืนท่ี Alpine Glaciers (ธาร น้าแข็งทเี่ กดิ ขน้ึ บริเวณภูเขาสงู ) ในทวีปยุโรปลดลงถึงครง่ึ หนงึ่ ในขณะท่รี ัฐบาล ของสหรัฐคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2573 ธารน้าแขง็ จะละลายหมดไปจาก Montana's Glacier National Park - ปลาแซลมอนทอี่ ยู่ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกตอนเหนือลดจานวนลงอย่าง มากเน่ืองจากน้าทะเลในบริเวณนัน้ ร้อนขึ้นกว่าปกติถึง 6 องศาเซลเซียส 35

- ทะเลที่ร้อนขึ้นทาใหน้ กทะเลหลายร้อยตวั จากจานวนนับพนั บริเวณ ชายฝัง่ แคลิฟอเนียตายลงเน่อื งจากขาดแคลนอาหาร - ปะการงั ทว่ั โลกกาลังถูกทาลายจากน้าทะเลท่ีร้อนขน้ึ อย่างผดิ ปกติ และถ้าอัตราการทาลายยงั คงท่ใี นระดับปจั จุบนั แนวปะการัง Great Barrier Reef ทั้งหมดอาจจะตายไดภ้ ายในหน่งึ ชว่ั อายคุ น - มีผเู้ สียชีวติ จากคล่นื รังสีความร้อนเป็นจานวนมาก เพ่ิมขนึ้ เรือ่ ยๆ ดงั ตัวอยา่ งในเมอื งชคิ าโก เอเธนส์ และนิวเดลี 36

- ระดับนา้ ทะเลทสี่ งู ขึน้ ส่งผลกระทบต่อทกุ ประเทศทม่ี พี นื้ ที่ซ่งึ สงู จาก ระดบั นา้ ทะเลไมม่ าก ท้ังในมหาสมุทรแปซฟิ ิค และมหาสมุทรอินเดีย เช่น เกาะตูวาลู ซง่ึ อยทู่ างตอนเหนือของประเทศฟิจิ ประชากรกว่า 10,000 คน ต้องอพยพไปอยู่ทน่ี วิ ซีแลนด์ เน่ืองจากระดบั น้าทะเลทเี่ พม่ิ สงู ขึน้ จนท่วมที่อยู่ อาศัย - การเพิม่ จานวนของพายุเฮอรเิ คน

- น้าทว่ ม ภยั แลง้ และการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อ เชน่ มาลาเรยี ซง่ึ จะเกดิ ข้ึนใน พื้นท่ที ไี่ ม่เคยประสบปัญหามาก่อน อนั จะนาไปสภู่ าวะขาด แคลนน้าและอาหาร และเกดิ ความขดั แย้งในระดบั ภูมิภาคเนอื่ งจากปัญหาภัย ธรรมชาติ - ปา่ ไม้ของโลกจานวนหนง่ึ ในสามอยใู่ นภาวะเสีย่ งต่อการถูกทาลาย เช่นเดยี วกับ สิง่ มชี ีวิตท่จี าเป็นตอ้ งพง่ึ พาอาศัยป่าไม้เพ่อื ความอยรู่ อด 38

เราจะแกไ้ ขหรอื ปอ้ งกนั สภาวะโลกรอ้ นไดอ้ ยา่ งไร? 39

40

“คอป 21” (Conference of Parties : COP 21) เปน็ การประชมุ รฐั ภาคี สหประชาชาตวิ า่ ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ จัดข้นึ เป็นปีที่ 21 ณ กรุง ปารีส วนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน-12 ธันวาคม 2558 ผู้เข้ารว่ มทง้ั ตัวแทนรฐั บาล องคก์ รเอกชน เอ็นจโี อคาดวา่ ไม่ต่ากวา่ 5 หม่นื คน สาระสาคัญ 7 ข้อทป่ี ระกาศออกมา ได้แก่ 1. ภายใน 85 ปขี ้างหนา้ หรือปี 2100 ทุกประเทศจะชว่ ยกนั ลดการ ปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์หรอื ใชพ้ ลังงานสะอาดเพ่ิมขนึ้ เพอื่ ควบคมุ อณุ หภูมิ โลกไมใ่ ห้เพม่ิ ถงึ 2 องศาเซลเซียส และไมเ่ กนิ 1.5 องศาเซลเซียส ในระยะยาว 2. ชว่ งปี 2020-2025 ประเทศยกั ษ์ใหญจ่ ะสนบั สนุนเงนิ 1 แสนลา้ น ดอลลารส์ หรฐั หรือประมาณ 3.6 ลา้ นล้านบาท ใหแ้ กก่ ลมุ่ ประเทศกาลงั พัฒนา เพอื่ ชว่ ยสนบั สนนุ ใหใ้ ชพ้ ลงั งานสะอาด เชน่ พลังงานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม หรือลดการท้งิ ขยะ ลดการเผาไหมจ้ ากภาคเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรรม ฯลฯ 41

3. ทุกประเทศสญั ญาว่าจะรับผดิ ชอบรว่ มกัน ลด “ปลอ่ ยก๊าซเรอื น กระจก” 4. ภายในปี 2050 จะพยายามเพม่ิ แหลง่ ดดู ซับกา๊ ซคาร์บอนฯ 5. ประเทศพัฒนาต้องชว่ ยเงินสนับสนนุ พลงั งานสะอาดอย่างต่อเนอ่ื ง 6. นับจากปี 2023 ทกุ ๆ 5 ปี จะมกี ารประเมนิ คามัน่ สัญญาลดโลก รอ้ นของทกุ ประเทศไดท้ าตามคาสญั ญาท่ีตกลงกนั ไวห้ รอื ไม่ และข้อสดุ ทา้ ย 7. ทุกประเทศจะตระหนกั และช่วยกันแก้ไขรวมถึงลดความเสียหายจาก “ภมู อิ ากาศแปรปรวน” 42

43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook