Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน ครู และผู้ปกครอง โรงเรียนระยองวิทยาคม ปีการศึกษา 2566

คู่มือนักเรียน ครู และผู้ปกครอง โรงเรียนระยองวิทยาคม ปีการศึกษา 2566

Published by jarupha28, 2023-06-12 05:42:36

Description: คู่มือนักเรียน ครู และผู้ปกครอง โรงเรียนระยองวิทยาคม ปีการศึกษา 2566

Search

Read the Text Version

กำหนดเวลำในกำรเรียนกำรสอน คาบท่ี เวลา ระยะเวลา / กิจกรรม - 07.50 น. เขา้ แถวหน้าเสาธง - 08.00 - 08.20 น. 1 08.20 - 09.10 น. เคารพธงชาติ และกิจกรรมหน้าเสาธง 2 09.10 - 10.00 น. 50 นาที 3 10.00 - 10.50 น. 50 นาที 4 10.50 - 11.40 น. 50 นาที 5 11.40 - 12.30 น. 50 นาที 6 12.30 - 13.20 น. 7 13.20 - 14.10 น. 50 นาที (พกั กลางวนั ม.ต้น) 8 14.10 - 15.00 น. 50 นาที (พกั กลางวัน ม.ปลาย) 9 15.00 - 15.50 น. 10 15.50 - 16.40 น. 50 นาที 50 นาที 50 นาที 50 นาที เบอรโ์ ทรศพั ท์หน่วยงำนภำยใน ชอ่ื หน่วยงานภายใน เบอรโ์ ทรศพั ท์ โรงเรยี นระยองวทิ ยาคม/ 0-3861-4332, ห้องธรุ การ FAX 0-3861-4332 หอ้ งกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ 0-3861-8914 หอ้ งกลุ่มบรหิ ารทวั่ ไป 0-3862-1594 หอ้ งกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 0-3861-8832 ห้องกิจการนักเรยี น 0-3861-8691 หอ้ งพสั ดุ 0-3861-6638 ห้องการเงนิ 0-3861-5720 ห้องนโยบายและแผน 0-3862-1958 ห้องงานทะเบยี นและวดั ผล 0-3861-8833 คณะกรรมกำรจัดทำคมู่ อื ฯ ทปี่ รกึ ษา : นายพรศกั ด์ิ ทพิ ย์วงษ์ทอง, นายวีระวัฒน์ เพช็ รฉกรรจ์, นายสมปอง โชคนิมติ , นายสิงหา รกั ษาธรรม และ นางสาวจุฑามาศ เสมามอญ ฝ่ายรวบรวมขอ้ มลู : งานสารสนเทศโรงเรยี น, กลุม่ งาน/งาน และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาพประกอบอื่น ๆ : งานโสตทศั นศกึ ษา, Photo Club RYW - ชมุ นุมถ่ายภาพ, ห้องเรยี นพิเศษ English Program และหอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทย์-คอม ฝ่ายออกแบบและจัดทารูปเล่ม : งานสารสนเทศโรงเรยี น

สำรบญั ⚫ สารประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 1 ⚫ สารผู้อานวยการโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม 2 ⚫ ขอ้ มลู ท่ัวไปของโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม 3 ⚫ เครอ่ื งแบบนักเรยี น ม.ต้น 7 ⚫ เครอื่ งแบบนักเรยี น ม.ปลาย 8 ⚫ เครอ่ื งหมายชดุ นักเรยี น 9 ⚫ การแต่งกายชุดฝึกพลศึกษา 10 ⚫ ทรงผมนักเรยี น 11 ⚫ การแต่งกายลกู เสอื -เนตรนารสี ามญั รุน่ ใหญ่ 12 และยุวกาชาด ⚫ ระเบยี บโรงเรยี นระยองวทิ ยาคมวา่ ด้วยแนวทาง 13 การปฏิบัติตนของนักเรยี น พ.ศ.2566 ⚫ ระเบียบโรงเรยี นระยองวทิ ยาคมวา่ ด้วย 19 การตัดคะแนนความประพฤตินักเรยี น พ.ศ.2566 ⚫ งานทะเบยี นและวดั ผล 25 ⚫ เกณฑ์การจบการศกึ ษา 26 ⚫ กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 27 ⚫ งานแนะแนว 29 ⚫ ทุนการศกึ ษา 30 ⚫ ระเบียบการใช้ห้องพยาบาล 31 ⚫ การรบั บรกิ ารโครงการสวสั ดิการนักเรยี น 31 ด้านประกันอุบัติเหตุ ⚫ การใหบ้ รกิ ารพน้ื ท่จี ัดเก็บขอ้ มลู ของ Google 33 ⚫ ข้อกาหนดการใหบ้ รกิ ารบัญชีผใู้ ช้ Google 34 ⚫ ระเบยี บหอ้ งสมุด 35 ⚫ ระเบียบการใชส้ ระว่ายนา้ และศนู ยส์ ขุ ภาพ 36 ⚫ การจัดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ 37 ⚫ เพลงโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม 41 ⚫ แผนผังโรงเรยี นระยองวิทยาคม 43

สำรประธำนคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน โรงเรยี นระยองวทิ ยำคม ทา่ นผปู้ กครองและนักเรยี นทรี่ กั ผมขอต้อนรบั ท่านผู้ปกครองและนักเรยี นด้วยความ ยินดีที่ท่านได้เข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของโรงเรยี นเรา โรงเรยี นท่ี ดีท่ีสุดในจังหวัด โรงเรียนที่ดีท่ีสุดในเขตการศึกษาและ เปน็ โรงเรยี นทดี่ ีอันดับ 1-50 ของประเทศ “ขอให้นักเรยี นตั้งใจเรยี นจนจบการศกึ ษา ตามความฝัน” โรงเรียนเรามีวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ดีเยี่ยม แต่ระบบการศึกษาของเรา อยู่ระหว่างทดลอง แต่เดิมอานาจการจัดการศึกษาอยู่กับท่านผู้ว่าราชการจังหวัด ต่อมาปี พ.ศ. 2540 มีกฎหมายรฐั ธรรมนูญท่ีทันสมัยจึงมีการปฏิรูปการศึกษาให้มีการศึกษา 5 ส่วน ไม่ข้ึนแก่กัน ต่อมาคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคาสั่งที่ 10-11/2559 เปลี่ยนแปลงระบบ การศึกษาให้ผู้ว่าราชการจังหวัด และ กศจ. จัดการการศึกษา และแก้ไขคาส่ังหลายครงั้ จนปี พ.ศ. 2565 รฐั บาลเสนอกฎหมายปฏิรูปการศึกษาอีกครง้ั แต่ไม่ผ่านความเห็นชอบของรฐั สภา เพราะหมดอายุรฐั บาลเสยี ก่อน จึงหวังว่ารฐั บาลใหม่ รฐั มนตรคี นใหมท่ รี่ ูแ้ ละเขา้ ใจระบบการศกึ ษาทด่ี ีได้ผลักดันกฎหมาย ทเ่ี ป็นประโยชน์แก่ประเทศและระบอบการศกึ ษาต่อไป ทา่ นผู้ปกครองและนักเรยี นต้องใชเ้ ทคโนโลยีที่ทนั สมัย เขา้ กับส่ิงแวดล้อม เพ่ือความเจรญิ และมีความสุขตลอดไป นายสุพัฒน์ อินทรสายัณห์ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน โรงเรยี นระยองวิทยาคม 1

สำรผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี นระยองวทิ ยำคม ทา่ นผู้ปกครองและนักเรยี นทร่ี กั ขอแสดงความยินดีต่อนักเรยี นทกุ คน และขอต้อนรบั สูร่ วั้ น้าเงนิ -เหลือง โรงเรยี นระยองวทิ ยาคม เป็นสถาบันการศกึ ษาทมี่ ี ความพร้อม มีศักยภาพในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการ ดารงชวี ติ และการศกึ ษาในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ ค่มู อื เล่มนี้จัดทาขน้ึ เพ่อื เป็นสอ่ื กลางในการดาเนินงานของโรงเรยี น โดยมุ่งหวังให้นักเรยี น ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รบั ทราบและเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ี กฎเกณฑ์ ระเบียบ ตลอดจนแนวปฏิบตั ิต่าง ๆ เพอื่ ให้อยูร่ ว่ มกันอยา่ งมีความสุข สาหรบั ในปีการศึกษา 2566 น้ี โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรยี น ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านต่าง ๆ อย่างหลากหลายตรงตามความสนใจและความถนัด ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นได้ค้นพบศักยภาพด้านต่าง ๆ ของตนเอง เพ่ือให้ผู้เรยี นมีประสบการณ์ในการ เรยี นรู้ รูจ้ ักคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และมวี จิ ารณญาณ เป็นคนดี มีคณุ ธรรมนาความรู้ อยู่รว่ มกัน ในสังคมอย่างมีความสุข อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของการจัดการศึกษาและเป็นไปตามวิสัยทัศน์ ของโรงเรยี นระยองวิทยาคม ทม่ี งุ่ เน้นพฒั นานักเรยี นให้มีทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 สู่ความ ถนัดทางสาขาวชิ าชพี บนพนื้ ฐานความเป็นไทย ขอขอบคณุ คณะผบู้ รหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา ของโรงเรียน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจในการ ขบั เคลือ่ นการพฒั นางานของโรงเรยี นอย่างเขม้ แข็ง เพื่อให้โรงเรยี นของเรามีความเจรญิ ก้าวหน้า สืบต่อไป นายพรศกั ดิ์ ทิพยว์ งษ์ทอง ผอู้ านวยการโรงเรยี นระยองวิทยาคม 2

ข้อมูลทว่ั ไปของโรงเรยี นระยองวิทยำคม โรงเรียนระยองวิทยาคม เกิดจากการรวมโรงเรียนเก่า 2 โรงเรียนเข้าด้วยกัน คือ โรงเรยี นระยองมิตรอุปถัมภ์ (ก่อต้ังเม่ือ พ.ศ.2442) และโรงเรยี นสตรีระยอง “บุญศิริบาเพ็ญ” (ก่อต้ังเมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ.2463) ซ่ึงโรงเรยี นระยองวิทยาคมก่อต้ังเม่ือวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2514 เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้พิจารณาเห็นสมควรที่จะปรบั ปรุงการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาให้เหมาะสม สะดวกในการจัดสรรอัตราครูและงบประมาณเพ่ือการบรหิ ารงานของ โรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้ประกาศรวมโรงเรียนทั้งสองโรงเรียนดังกล่าว เข้าด้วยกัน บนเน้ือที่เดิมของโรงเรียนระยอง-มิตรอุปถัมภ์ โดยมี นายกนก จันทร์ขจร เป็น อาจารย์ใหญ่คนแรก ส่วนโรงเรยี นสตรรี ะยอง “บุญศริ บิ าเพ็ญ” นั้น ปัจจุบันเป็นทีต่ ้ังของโรงเรยี น อนุบาลระยองฝ่ายประถม โรงเรียนระยองวิทยาคมเป็นโรงเรียนแรกแบบสหศึกษา โดยจัดการเรียนการสอน ท้ัง 2 ระดับ คือ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เม่ือปีการศึกษา 2517 กรมสามัญศึกษาได้พิจารณาคัดเลือกให้โรงเรยี นระยองวิทยาคมเป็นโรงเรียนอยู่ในโครงการ ค.ม.ภ. (โครงการพัฒนาโรงเรยี นมัธยมศึกษาในส่วนภูมิภาค) รุน่ ที่ 1 และเรมิ่ ใช้หลักสูตร ค.ม.ส. ต้ังแต่ปีการศึกษา 2517 เป็นต้นมา จากการทโ่ี รงเรยี นระยองวิทยาคมเข้าอยู่ในโครงการดังกล่าว ทาให้โรงเรยี นได้รบั การสนับสนุนให้มีอาคารเรยี น โรงฝึกงาน ครุภัณฑ์อุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจน บุคลากรมากขนึ้ ทาให้โรงเรยี นระยองวิทยาคมเป็นโรงเรยี นมัธยมศึกษาขนาดใหญ่โรงเรยี นหน่ึง จากนั้นโรงเรยี นก็เจรญิ ก้าวหน้ามาตามลาดับ ได้รบั ความนิยมจากผู้ปกครองและประชาชนทวั่ ไป ส่งบุตรหลานเข้าศึกษาเล่าเรยี น ทั้งน้ี เพราะโรงเรยี นได้รบั การสนับสนุนเป็นอย่างดีจากสมาคม ศษิ ยเ์ ก่าระยองมติ รอุปถัมภ์ สมาคมผู้ปกครองและครูระยองวิทยาคม คณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ั พ้ืนฐานฯ ตลอดจนมลู นิธติ ่าง ๆ และจากขา้ ราชการ พ่อค้า ประชาชนชาวระยอง สถานท่ีต้ัง 179 ถนนตากสนิ มหาราช ตาบลทา่ ประดู่ อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 โทรศพั ท์ 038-614332 โทรสาร 038-614332 3 เว็บไซตห์ ลักโรงเรยี น http://www.rayongwit.ac.th

วิสัยทศั น์ ภายในปีการศกึ ษา 2569 นักเรยี นโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม มที กั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 สคู่ วามถนัดสาขาวิชาชพี บนพืน้ ฐานความเป็นไทย พันธกจิ 1. พฒั นาการบรหิ ารโรงเรยี นอย่างมีระบบโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลดว้ ยทกั ษะภาวะผู้นา ในศตวรรษท่ี 21 2. พัฒนาหลกั สูตรโรงเรยี นใหต้ อบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและมคี ณุ ภาพเทยี บเคียง มาตรฐานสากล 3. พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรบั การบรหิ ารโรงเรยี นและการจัดการเรยี นรู้ 4. พฒั นาสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ 5. พัฒนาครูให้มที กั ษะการจัดกระบวนการเรยี นรูส้ าหรบั ศตวรรษท่ี 21 6. พัฒนานักเรยี นใหม้ ีศกั ยภาพเปน็ พลโลกบนพน้ื ฐานของความเป็นไทย 7. พัฒนาการจัดการศกึ ษาโดยเปดิ โอกาสให้หน่วยงานภายนอก คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผูป้ กครอง ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม 8. พฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรูเ้ พ่อื สง่ เสรมิ การพฒั นาการศกึ ษาในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก คติพจน์ นตถฺ ิ ปญฺญา สมาอาภา แสงสว่างด้วยเสมอด้วยปัญญา…ไมม่ ี No light is brighter than wisdom. คาขวญั เรยี นเด่น กีฬาดี มวี นิ ัย ใฝ่คณุ ธรรม ก้าวล้าเทคโนโลยี เอกลักษณ์ของโรงเรยี น ความรูด้ ี ไอทลี ้า อัตลักษณ์ของโรงเรยี น เก่ง ดี มวี ินัย สีประจาโรงเรยี น นา้ เงนิ - เหลอื ง อักษรย่อช่อื โรงเรยี น ร.ย.ว. และ RYW ต้นไมป้ ระจาโรงเรยี น สน, กระถินณรงค์ พระพุทธรูปประจาโรงเรยี น พระพทุ ธมณีรตั นมงคลชยั 4

เป้ำประสงค์ 1. โรงเรยี นมรี ะบบในการบรหิ ารจัดการทม่ี ีคณุ ภาพ โดยใชข้ อ้ มลู สารสนเทศ ผลการประเมนิ และ ผลการวจิ ัยเป็นฐานความคดิ 2. โรงเรยี นมหี ลกั สตู รและแหลง่ เรยี นรูท้ ส่ี อดคล้องกับทอ้ งถ่ิน โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และเปา้ หมายของพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มหี ลกั สูตรพเิ ศษและรายวชิ า เพิม่ เติมอย่างหลากหลายให้กับนักเรยี น เพอื่ พฒั นาโรงเรยี นให้มคี ณุ ภาพเทยี บเคยี ง มาตรฐานสากล 3. โรงเรยี นมรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ที นั สมัยและพรอ้ มใชง้ าน 4. โรงเรยี นมีลกั ษณะภมู ิทศั น์ ด้านอาคาร สถานที่ รม่ รน่ื ม่ันคง ปลอดภัย มแี หลง่ เรยี นรูท้ พ่ี รอ้ ม ใชง้ านและสอดคลอ้ งกับเปา้ หมายของพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก สามารถใช้ ประโยชน์ในการจัดการเรยี นรูไ้ ด้อย่างยั่งยืน 5. ผูบ้ รหิ ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารจัดการและสรา้ งเครอื ขา่ ยทางการศกึ ษาทงั้ ใน ประเทศและต่างประเทศ เพือ่ พฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นใหม้ มี าตรฐาน 6. ครูและบุคลากร เป็นผู้มีความรูค้ วามสามารถในการนารูปแบบการจัดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษ ที่ 21 สะเต็มศกึ ษา และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ได้เป็นอยา่ งดี 7. ครูและบุคลากร เปน็ ผู้ทม่ี ีความรูค้ วามสามารถในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) และ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรูแ้ ละเผยแพรผ่ ลงาน 8. ครูมีการสรา้ งงานวิจัย และสอ่ื นวัตกรรมอย่างหลากหลาย เพอ่ื ใชพ้ ฒั นานักเรยี นอยา่ งต่อเนื่อง 9. ครูและบุคลากร เปน็ ผู้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีการพฒั นาตนเองตามหลกั จรรยาบรรณ วิชาชพี 10. นักเรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรูเ้ ป็นไปตามเป้าหมายของ โรงเรยี น 11. นักเรยี นมีความสามารถดา้ นการส่อื สารทงั้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เทยี บเคยี ง มาตรฐานสากล 12. นักเรยี นมีความสามารถดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) ในการส่ือสารและเปน็ แหล่งเรยี นรูส้ ู่การพัฒนาวชิ าชพี 13. นักเรยี นมีความสามารถดา้ นทกั ษะการคดิ ขนั้ สูง สามารถสรา้ งผลงานทมี่ คี ณุ ภาพด้านต่าง ๆ ไดด้ ้วยตนเอง 14. นักเรยี นมสี ุขภาวะทดี่ ดี า้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คมและจิตใจ 15. นักเรยี นมีจิตสาธารณะทด่ี ตี ่อโรงเรยี น สังคม และประเทศชาติ มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และคา่ นิยม 12 ประการ ตามหลักสูตร 16. นักเรยี นมีความเขา้ ใจเก่ียวกับวิถีชวี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณี และศลิ ปวฒั นธรรมของไทย และต่างประเทศ สามารถอยูร่ ว่ มกันได้อยา่ งสันติ 17. นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา มคี วามปลอดภัยจากโรคและภัยคกุ คามทกุ รูปแบบ 18. นักเรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเปน็ ไปตามเปา้ หมายของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 19. คณะกรรมการสถานศกึ ษา มีการติดตามดแู ลและขบั เคลื่อนการดาเนินงานของโรงเรยี นให้ บรรลเุ ป้าหมายอย่างต่อเน่ือง 20. ผู้ปกครองและชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาและพฒั นาโรงเรยี น 5

“ เรยี นเด่น กฬี ำดี มวี ินยั ใฝ่คณุ ธรรม ”กำ้ วล้ำเทคโนโลยี 6

เคร่ืองแบบนกั เรยี น ม.ต้นโรงเรยี นระยองวทิ ยำคม 7

เคร่อื งแบบนกั เรียน ม.ปลำยโรงเรยี นระยองวิทยำคม 8

เครอื่ งหมำย โรงเรยี นระยองวทิ ยำคม  ร.ย.ว.   ๙๐๙๙๙ ชื่อ - ช่ือสกลุ 9

ชดุ ฝึกพลศกึ ษำ โรงเรยี นระยองวิทยำคม ม.ต้น ม.ปลำย 10

ทรงผมนักเรียน โรงเรยี นระยองวทิ ยำคม ทรงผมนกั เรยี นชำย ทรงผมนกั เรยี นหญงิ 11

กำรแตง่ กำย ลกู เสอื -เนตรนำรีสำมัญรนุ่ ใหญ่ และยวุ กำชำด เครอ่ื งแบบลกู เสอื สำมญั รุ่นใหญ่ 1. หมวกทรงอ่อนสเี ลือดหมู มตี ราหน้าหมวกรูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติ ทาด้วยโลหะสที อง เวลาสวมหมวก ให้ตราหน้าหมวกอยู่เหนือคิ้วซา้ ย 2. เส้อื คอพับสีกากีแขนสน้ั เหนือข้อศอกผ่าอกตลอด อกเสอ้ื ทาเปน็ สาบกวา้ ง 3.5 ซม. มกี ระดุมเหนือเข็มขดั 4 เมด็ อกเส้ือมกี ระเป๋าปะขา้ งละ 1 กระเปา๋ มแี ถบตรงกึ่งกลางตามทางด่ิง ปกรูปมน ชายกลางแหลม เจาะรงั ดุมกึ่งกลางกระเป๋า 1 ดุม มอี ินทรธนูสีเดียวกับเส้ืออยูเ่ หนือบ่า ทั้ง 2 ขา้ ง ด้านไหล่กวา้ ง 3.5 ซม. เย็บติดกับตะเขบ็ ไหล่เส้อื ด้านคอกว้าง 2.5 ซม. ปลายมน มดี ุมทีป่ ลายอินทรธนูทางด้านคอ ด้านละ 1 ดุม ดุมลักษณะกลมแบนทาด้วยวัสดุสีนา้ ตาลแก่ ติดอินทรธนูสีเลือดหมู ปลายอินทรธนูมอี ักษร “ลญ.” สีเหลือง ให้สอดชายเสอื้ อยูภ่ ายในกางเกง 3. ผา้ ผกู คอรูปสามเหลี่ยมหน้าจ่ัว ด้านฐาน 100 ซม. ด้านตั้ง 75 ซม. สตี ามเขตการศึกษา ด้านหลังติดเครอ่ื งหมายจังหวัด และห่วงสวมผ้าผกู คอที่ไม่ใช่ห่วงกิลเวลล์ 4. กางเกงสีกากี (สเี ดียวกับเสือ้ ) ขาส้ันเหนือเขา่ ประมาณ 5 ซม. มีหูรอ้ ยเขม็ ขดั ยาวไม่เกิน 6 ซม. กว้าง 1 ซม. มกี ระเปา๋ ตามแนวตะเข็บขา้ งละ 1 กระเปา๋ 5. ปา้ ยชอื่ ผา้ สเี ลือดหมูปกั ตัวอักษรชอ่ื ด้วยสีเหลืองติดหน้าอกขวามือไม่มีคานาหน้าใดๆ 6. เข็มขัดหนังสนี ้าตาล กว้างไมเ่ กิน 3 ซม. หัวชนิดหัวขัดทาด้วยโลหะสที อง มีลายดุนรูปตรา คณะลูกเสือแห่งชาติภายในกรอบชอ่ ชยั พฤกษ์ ด้านล่างมคี ติพจน์ลูกเสอื “เสียชีพอยา่ เสียสตั ย์\" 7. ถุงเท้ายาวสีกากี พับขอบไว้ใต้เข่า ใต้พบั ขอบมรี อบรดั ถุง และมีพสู่ เี ลือดหมู ข้างละ 2 พู่ 8. รองเทา้ หนังหรอื ผา้ ใบสีนา้ ตาลแก่ไมม่ ีลวดลายหุ้มสน้ ชนิดผูก เครือ่ งแบบเนตรนำรสี ำมญั รนุ่ ใหญ่ 12 1. หมวกทรงอ่อนมีปีกสีเขยี วมะกอก เครอ่ื งหมายเนตรนารตี รงกลางพบั ด้านหลังขน้ึ 2. เสอ้ื คอพบั สีเขยี วมะกอกแขนสั้นผ่าอกตลอด อกเส้ือมสี าบมีกระเปา๋ ปะข้าง ขา้ งละ 1 กระเป๋า มีแถบตรงก่ึงกลางตามทางดิ่ง ปกกระเปา๋ รูปมนชายกลางแหลม ติดกระดุม 1 เม็ด อินทรธนูสเี ลือดหมู กระดุมสเี ขียว มีตราเครอ่ื งหมายเนตรนารี 3. ผ้าผกู คอรูปสามเหล่ียมหน้าจ่ัว ด้านฐาน 100 ซม. ด้านตั้ง 75 ซม. สตี ามเขตการศึกษา ด้านหลังติดเครอื่ งหมายจังหวดั และห่วงสวมผ้าผูกคอที่ไมใ่ ช่ห่วงกิลเวลล์ 4. กระโปรงสเี ขยี วมะกอกยาวปิดเข่า เป็นกระโปรง 4 จีบ (หน้า 2 จีบ หลัง 2 จีบ) จีบหันออกนอกตัว 5. ป้ายชื่อผ้าสีเลือดหมปู กั ตัวอักษรชือ่ ด้วยสเี หลืองติดหน้าอกขวามอื ไม่มีคานาหน้าใดๆ 6. ติดเขม็ เนตรนารสี ามัญรุน่ ใหญ่ ท่หี น้าอกด้านซา้ ยเหนือกระเป๋า 2 นิ้ว 7. เข็มขัดหนังสดี ากว้างไม่เกิน 3 เซนติเมตร หัวโลหะสที องมีลายนูนรูปเครอื่ งหมายเนตรนารี 8. ถุงเท้าสีขาวพบั ไวท้ บี่ รเิ วณข้อเท้า สงู จากตาต่มุ 2-3 น้ิว 9. รองเทา้ หนังหุ้มสน้ สีดาไม่มีลวดลาย เคร่ืองแบบยวุ กำชำด ระดับ 3 1. หมวกปกี สีกรมท่า ติดโล่ห์แสดงหน่วยงานยุกาชาด 2. เสอ้ื เชติ้ สฟี า้ มีบ่า กระเปา๋ มีฝาปดิ 2 ขา้ ง 3. แขนเส้ือขวา ติดปา้ ยกองยุวกาชาด \"ระยองวิทยาคม\" อักษรสีขาว พ้ืนหลังสีแดง ใต้อารม์ กองมเี ลขประจาหน่วย/หมู่ 4. แขนเส้ือซ้าย อารม์ วิชาพิเศษหน่วยยุวกาชาด 5. ผา้ ผูกคอ ผ้าทรงสามเหลี่ยมสีกรมทา่ ติดอารม์ ยุวกาชาดที่ยอดสามเหล่ียมด้านหลัง 6. บา่ ติดเลขระดับประจาการ \"๓\" เปน็ อักษรเลขไทย โลหะสที อง ติดท้ัง 2 ขา้ ง 7. หน้าอกขวา ปกั ชอ่ื อักษรสนี ้าเงิน พ้ืนหลังสขี าว เหนือชือ่ ประดับเข็มประจาการ 8. กระโปรงแบบมีจีบสฟี ้า ยาวคลมุ เข่า 9. เข็มขัดหนัง หัวเข็มขดั เปน็ โลหะสเี หล่ียมผนื ผา้ สีเงินติดโล่ห์หน่วยงานยุวกาชาด 10. ถุงเท้าสขี าวยาวพบั 2 ครง้ั 11. รองเท้าหนังสีดาขดั มัน

ระเบียบโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม ว่าดว้ ยแนวทางการปฏิบตั ิตนของนกั เรยี น พ.ศ.2566 โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขระเบียบโรงเรียนระยองวิทยาคมว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติตนของนักเรียน เพื่อกำหนดแนวทางการปฏิบัติตนของนักเรียนให้เป็นปัจจุบัน รวมทั้งควบคุมความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ใน ระเบยี บวินัยและมคี ณุ ธรรม จริยธรรมย่งิ ข้ึน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 64 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546, อำนาจตามความในข้อแห่งกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2548, อำนาจ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ.2551 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรียน พ.ศ.2563 บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบัญญัติแห่งกฎหมาย โรงเรียนระยองวิทยาคม จึงได้ยกเลิกระเบียบโรงเรียนระยองวิทยาคมว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติตนของนักเรียน พุทธศักราช 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2562 และให้ใช้ระเบียบฉบับนี้ เพื่อเป็นแนวทาง การปฏิบตั ติ ่อไป ดังน้ี หมวดที่ 1 ข้อความทวั่ ไป ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนระยองวิทยาคมว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติตนของนักเรียน พ.ศ.2566” ข้อ 2 ในระเบยี บนี้ “โรงเรยี น” หมายถึง โรงเรียนระยองวทิ ยาคม “ผอู้ ำนวยการ” หมายถึง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนระยองวิทยาคม “รองผ้อู ำนวยการ” หมายถึง รองผู้อำนวยการทไ่ี ดร้ บั แต่งตง้ั ใหป้ ฏิบตั หิ น้าท่ีดูแล กล่มุ งานกจิ การนกั เรียน “ครู” หมายถงึ ครทู ่ปี ฏบิ ตั หิ น้าท่ปี จั จบุ ันในโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม “หัวหนา้ กลุ่มงานกจิ การนักเรยี น” หมายถงึ ครูท่ไี ด้รบั การแตง่ ตั้งตามคำส่ังของโรงเรียนให้ปฏิบตั ิ หน้าทีห่ ัวหน้ากลมุ่ งานกิจการนกั เรยี น “ครูทปี่ รกึ ษา” หมายถงึ ครทู ี่ไดร้ บั การแต่งตงั้ ตามคำสั่งโรงเรียนให้ปฏิบัติหนา้ ที่ ครูทีป่ รกึ ษา “นักเรยี น” หมายถงึ นกั เรียนทีก่ ำลังศึกษาในปกี ารศึกษา 2566 ของโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม “ผปู้ กครอง” หมายถึง บดิ า มารดา หรือผทู้ ีไ่ ดล้ งช่ือเปน็ ผู้ปกครองนักเรียน ในเอกสารมอบตัวนักเรียนทีใ่ หไ้ วก้ ับโรงเรยี น

หมวด 2 เคร่อื งแบบนกั เรยี นและอุปกรณ์ประกอบเครื่องแบบนกั เรียน ข้อ 3 เคร่อื งแบบนักเรียนชาย เสื้อ (นกั เรยี นชายทกุ คน) เสอ้ื เช้ติ คอตงั้ ผ้าขาวเกลย้ี งไมบ่ างเกนิ ควร ผ่าอกตลอด แขนสั้นเหนือศอกเลก็ นอ้ ย แขนพบั เขา้ ด้านใน แขนไม่ผ่า มีสาบที่อกตลบออกด้านนอก กว้างไม่เกิน 5 ซม. กระดุมสีขาวกลมแบนเส้นผ่าศูนย์กลาง ไม่เกิน 1 ซม. แผน่ ปกไมต่ ดิ กระดุม ไม่มีจีบหลงั มีกระเป๋าทอ่ี กซา้ ย 1 กระเปา๋ ขนาดกวา้ ง 8-12 ซม. ลกึ 10-15 ซม. กางเกง แบบกางเกงชาย ชั้น ม.ต้น กางเกงสีกากี ม.ปลาย กางเกงสีดำ ไม่มีลายในเนื้อผ้าหรือลายลูกฟูก ห้ามใช้ผ้ายีนส์หรือผ้าเวสปอยส์ ขาสั้นเสมอเข่าหรือเหนือกลางสะบ้าหัวเข่าไม่เกิน 5 ซม. เมื่อยืนตรง มีจีบด้านหน้า เป็นจีบกลับ 2 จีบ มีหูขนาด 0.8 ซม. 7 หู ปลายขากางเกงกว้างเมื่อดึงวัดเหลือ 8-12 ซม. ปลายขาพับเข้าด้านใน ส่วนที่พับกว้าง 5 ซม. ไม่มีกระเป๋าหลัง กระเป๋าข้างตะเข็บ ข้างละ 1 กระเป๋า สวมทับชายเสือ้ ให้เรียบร้อย ไม่ดึงเส้อื ลงมาคลุมเข็มขัด เข็มขดั ชั้น ม.ต้น เป็นหนังสีน้ำตาล ชั้น ม.ปลาย เป็นหนังสีดำ กว้างประมาณ 3-4 ซม. หัวเข็มขัด ชั้น ม.ต้น ทำด้วยโลหะสีทอง ชั้น ม.ปลาย ทำดว้ ยโลหะเงนิ เป็นรปู สเี หลย่ี มผืนผ้ามมุ มนชนดิ หวั กลัด หมายเหตุ ปลายเขม็ ขดั ห้ามตัดตกแตง่ รองเทา้ ม.ต้น รองเทา้ ผา้ ใบสีน้ำตาลล้วน ขอบยางและตาไกส่ ีเดียวกับรองเทา้ ม.ปลาย รองเท้าผา้ ใบสีดำลว้ น ขอบยางและตาไก่สเี ดียวกบั รองเทา้ รองเท้าทีใ่ ชเ้ รียนพลศึกษา เปน็ ผ้าใบสขี าว ไม่มลี วดลาย ขอบยางสีเป็นสเี ดียวกนั กบั ผา้ ใบ รองเท้ามีรู รอ้ ยเชือกตาไก่ และเชอื กเปน็ สีเดียวกบั รองเท้า ไม่หมุ้ ขอ้ สน้ สูงไม่เกิน 3 ซม. ถุงเทา้ ม.ต้น สนี ้ำตาลลว้ น ไม่เป็นลกู ฟูก ไม่มลี วดลาย เมื่อสวมแล้วไม่พบั ปลายถงุ เทา้ ถุงเทา้ ยาวเลยตาตมุ่ ขึน้ มา ม.ปลาย สีขาวลว้ น ไม่เปน็ ลูกฟูก ไมม่ ีลวดลาย เมื่อสวมแล้วไม่พับปลายถุงเทา้ ถุงเท้ายาวเลยตาตุ่มขน้ึ มา ขอ้ 4 เครอ่ื งแบบนกั เรียนหญงิ เสื้อ นกั เรียนหญิง ม.ตน้ เสื้อทรงกะลาสี ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บาง มีปกขนาด 10 ซม. รอยต่อแขนพอดีไหล่ แขนยาว เหนือข้อศอกเล็กน้อย ปลายแขนมีจีบ 6 จีบ ขอบแขนประกอบด้วยผ้าสองชั้น กว้าง 3 ซม. ความยาวของตัวเสื้อ วัดจากข้อมือเมื่อยนื ตรงระยะ 10-15 ซม. ชายขอบเสื้อด้านล่างมรี อยพับไม่เกนิ 3 ซม. ขนาดตัวเสอ้ื กวา้ งพอเหมาะกับ ตัว ไม่เข้ารูป ริมขอบล่างด้านขวาติดกระเป๋าขนาดพอดีกับตัวเสื้อ 1 กระเป๋า ผูกคอด้วยผ้าสีกรมท่าชายสามเหลี่ยม ทรงกะลาสี ขนาดกว้าง 7-8 ซม. เง่อื นกะลาสชี นิดผกู สำเร็จไม่ยาวเกินไป เสอ้ื นักเรียนหญิง ม.ปลาย เสอ้ื ปกเชิต้ ผา้ ขาวเกล้ยี ง ไมบ่ าง ผา่ อกตลอด ทีอ่ กเส้อื ทำเป็นสาบตลบเขา้ ด้านใน มกี ระดุม กลมแบน สีขาวไมน่ อ้ ยกว่า 3 เม็ด แขนเสื้อยาวเหนือศอกเลก็ น้อย สอดชายเสือ้ เอาไวใ้ นกระโปรง ไมด่ งึ เสื้อมาคลมุ เขม็ ขัด หมายเหตุ นักเรยี นหญงิ ทุกคนต้องสวมเสอื้ บงั ทรงสขี าวไม่มีลวดลาย กระโปรง (นักเรยี นหญิงทกุ คน) ผ้าสีกรมท่าเนื้อเกลี้ยง ไม่มัน ไม่มีลวดลายในตัว ขอบเอวกระโปรงไม่มีหู ด้านหน้าและด้านหลัง พับเป็นจีบข้างละ 3 จีบ หันจีบออกด้านนอก เย็บทับจีบขอบข้างลงมา 6-10 ซม. จีบลึก 2.5 ซม. ถึงชายกระโปรง และต้องเป็นลกั ษณะทรงกระโปรงบาน กระโปรงยาวจากกลางสะบ้าหัวเขา่ ลงไปประมาณ 10 ซม.

เขม็ ขดั (เฉพาะนักเรยี นหญงิ ม.ปลาย) เปน็ เขม็ ขดั หนังสดี ำ กวา้ งประมาณ 3 ซม. มีที่สอดปลายเปน็ หนังสดี ำ หวั เข็มขดั เป็นรปู ส่เี หล่ยี มผืนผา้ มีหนังสีดำหุ้มตลอด ชนิดหัวกลัด คาดทับกระโปรงพอตึงมองเห็นเข็มขัดได้รอบเอว (ห้ามใช้ตัวหนีบหรือของตกแต่ง ปลายเข็มขัด) รองเทา้ (นักเรียนหญงิ ทุกคน) ม.ตน้ และ ม.ปลาย รองเท้าหนงั สีดำ ชนิดหมุ้ สน้ หวั มน สน้ สูงไมเ่ กิน 3 ซม. รองเท้าที่ใช้เรียนพลศึกษา เป็นผ้าใบสีขาว ไม่มีลวดลาย ขอบยางสีเป็นสีเดียวกันกับผ้าใบรองเท้า มรี ูร้อยเชือกตาไก่ และเชอื กเป็นสีเดยี วกบั รองเท้า ไม่หมุ้ ข้อ สน้ สงู ไมเ่ กนิ 3 ซม. ถงุ เท้า (นักเรียนหญงิ ทกุ คน) ม.ต้น และ ม.ปลาย สีขาวล้วน ไม่เป็นลูกฟูก ไม่มีลวดลาย เมื่อสวมแล้วพับปลายถุงเท้า ถุงเท้ายาว เลยตาตมุ่ ข้นึ ไป ข้อ 5 ชุดฝึกพลศึกษา นักเรียนทกุ คน จะตอ้ งมชี ุดฝึกพลศึกษาและแตง่ ในวันทีม่ ีการเรียนพลศกึ ษาเทา่ น้นั ช้นั ม.ตน้ เสื้อโปโลสเี หลือง ปกั ชอื่ เหนอื กระเปา๋ ด้วยด้ายหรือไหมสนี ำ้ เงิน ปกั ดาวตามสีของระดับช้ัน ท่โี รงเรยี นกำหนดทปี่ กเสือ้ ดา้ นขวา และสวมกางเกงวอรม์ ตามแบบของโรงเรยี นท่ีกำหนดเทา่ นัน้ ชั้น ม.ปลาย เสื้อโปโลสีน้ำเงิน ปักชื่อเหนือกระเป๋าด้วยด้ายหรือไหมสีเหลือง ปักดาวตามสีของ ระดับช้นั ท่ีโรงเรยี นกำหนดทปี่ กเสื้อด้านขวา และสวมกางเกงวอร์มตามแบบของโรงเรียนที่กำหนดเทา่ นน้ั หมายเหตุ หา้ มดัดแปลงทรงเสอื้ – กางเกงชุดพลศึกษา ข้อ 6 เครื่องแบบลกู เสือเนตรนารี และยวุ กาชาด แต่งกายใหถ้ กู ตอ้ งตามข้อบังคับว่าด้วยเครอ่ื งแบบลูกเสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด ขอ้ 7 เคร่อื งแบบนักศกึ ษาวชิ าทหาร นักเรียนที่สมัครเข้าเรียนวิชาทหาร ให้มีเครื่องแบบนักศึกษาวิชาทหาร แต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิชาทหารและแตง่ ตามวันทีเ่ รียนวิชาทหาร ข้อ 8 บัตรประจำตัวนักเรียน นักเรียนทกุ คนต้องมบี ัตรประจำตัวนักเรยี นที่โรงเรียนออกให้นอกเหนือไปจากบัตรประชาชน เพื่อใช้ ในการตรวจเช็คเวลาเข้า-ออกโรงเรยี นและอ่ืน ๆ นกั เรียนจะขอมบี ตั รใหม่ในกรณีต่อไปนี้ ◼ นกั เรยี นเขา้ ใหม่ ทุกระดบั ชนั้ ◼ เปลีย่ นชือ่ ตัว หรอื ชือ่ สกุล ◼ หายหรอื ชำรุด ข้อ 9 กระเป๋าใสห่ นงั สอื มาโรงเรียน ใช้กระเป๋านกั เรียนธรรมดาหรือเป้ตามแบบที่โรงเรียนกำหนดเท่านั้น สำหรับกระเป๋าเสริมอนุญาตให้ ใช้เฉพาะของโรงเรียนเท่านน้ั หรอื กระเปา๋ ทม่ี สี ญั ลักษณข์ องโรงเรยี น ข้อ 10 เครื่องหมายโรงเรยี น ช่ือ-ชื่อสกลุ เสน้ บอกชั้นเรยี น ให้มีเครื่องหมายอักษรย่อของโรงเรียน “ร.ย.ว.” ปักด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงิน ปักที่อกเส้ือเบ้ืองขวา เหนือราวนมติดเนื้อผ้า ใต้ “ร.ย.ว.” มีเส้นบอกชั้นและเลขที่ประจำตัว เส้นบอกชั้นปักทึบเป็นเส้นยาวเท่ากับ ความกว้างของ ร.ย.ว. มเี ลขประจำตัวตามแบบของโรงเรียนปกั ทบึ ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงนิ เส้นบอกชน้ั ปกี ารศึกษา 2566 ปักทึบด้วยดา้ ยหรือไหม ดงั นี้ ร.ย.ว.◼ ช้นั ม.2 , 5 สแี ดง ◼ ช้ัน ม.3 , 6 สีเขยี ว ◼ ชนั้ ม.1 , 4 สนี ้ำเงนิ ๙๐๙๙๙ .ให้ปักชือ่ -ชือ่ สกลุ นกั เรยี นด้วยดา้ ยหรอื ไหมสนี ้ำเงนิ ตัวอกั ษรสงู 1 ซม. ที่อกเส้อื เบื้องซ้าย เหนอื กระเปา๋ เสือ้ อยแู่ นวเดียวกัน

หมวดท่ี 3 ทรงผมนกั เรียน ข้อ 11 นักเรยี นตอ้ งปฏิบตั ิตนเก่ยี วกับการไว้ทรงผม ดังนี้ นักเรียนชาย นักเรียนชายสามารถไว้ผมสั้นทรงนักเรียน ทรงรองหวี รองทรงสูง หรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาว ด้านข้างและด้านหลังต้องยาวไม่เลยตีนผม ด้านหน้ายาวไม่เกินคิ้วบน กลางศีรษะมีความยาวไม่เกิน 7 ซม. และมีความหนาเหมาะสมกบั สภาพนักเรยี น นกั เรียนหญงิ นกั เรียนหญงิ จะไว้ผมสนั้ หรือผมยาวก็ได้ กรณีผมส้นั (1) ผมต้องมีความยาวเท่ากันทั้งหมด โดยระดับความยาวไม่เกินขอบบนของปกเสื้อ หรือด้านข้าง ดา้ นหลังยาวเท่ากนั (2) ผมดา้ นหน้าสามารถตดั ส้นั ทรงหน้าม้าตรง โดยไม่ซอยหรอื สไลด์ และความยาวของหน้ามา้ ไม่เกินคว้ิ ลา่ ง กรณีผมยาว (1) มัดรวบตงึ ใหเ้ รยี บร้อย ผมยาวไดไ้ ม่เกนิ กลางหลังภายหลงั มัดรวบตงึ อยา่ งเรียบรอ้ ย (2) ถักเปยี ใหเ้ รยี บร้อย ซึ่งสามารถถักได้ 2 ลักษณะ ดงั น้ี (2.1) เปียเดี่ยว คือ ถักตั้งแต่กลางศีรษะยาวไปจนถึงปลายผมไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่งของ ศีรษะ ผูกรบิ บน้ิ ที่ปลายผมให้เรียบรอ้ ย โดยริบบิน้ มคี วามกว้าง ขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ซม. (2.2) เปียคู่กา้ งปลา คือ ถกั ตงั้ แตศ่ รี ษะดา้ นหนา้ ท้ังซา้ ยและขวาของศีรษะไล่ลงมาจนถึงปลายผม ทงั้ สองข้าง ผูกริบบ้ินท่ปี ลายผมท้ังสองขา้ งให้เรียบร้อยโดยรบิ บิ้นมคี วามกว้างขนาดไม่เกนิ 2.5 ซม. หมายเหตุ ริบบ้นิ ใชส้ ีกรมทา่ เทา่ นนั้ (3) สามารถไวห้ นา้ มา้ ได้โดยตัดตรง ไม่ซอยหรอื สไลด์ และความยาวของหนา้ มา้ ไมเ่ กินค้วิ ลา่ ง ข้อ 12 นักเรียนตอ้ งหา้ มปฏิบัติตน ดงั นี้ (1) ห้ามดัดผม ห้ามกัดสีผมหรือย้อมสีผมให้ผิดไปจากธรรมชาติ ยกเว้นกรณีที่นักเรียนมีสีผม ธรรมชาติเปน็ สขี าว สามารถยอ้ มเป็นสีดำได้ (2) หา้ มไวห้ นวด เครา และจอนผม (3) ห้ามตดั แต่งทรงผมหรอื แตง่ ลวดลายทรงผม (4) ห้ามใช้สเปรย์หรือเจลแตง่ ผม (5) หา้ มซอยผมหรือสไลดผ์ ม (6) ห้ามไว้ปอยผม (7) ห้ามใชโ้ บสำเร็จรูป (8) หา้ มถักเปยี หรอื มัดผมในกรณีทไี่ วผ้ มสัน้ แต่สามารถติดกิ๊บได้ หมวดท่ี 4 เครือ่ งประดับ การเจาะหู การไวเ้ ล็บ การสกั การแตง่ หน้า ขอ้ 13 ห้ามนักเรียนใส่เครื่องประดับทกุ ชนิดมาโรงเรียน เช่น สายรัดข้อมือ ฯลฯ หากต้องคล้องพระให้ใช้ สรอ้ ยเงนิ หรอื สแตนเลส ขนาดเล็กลายสุภาพ เมอ่ื สวมใส่ต้องมคี วามยาวสร้อยที่คอเส้ือนักเรยี นปิดไวอ้ ยา่ งมิดชิด ขอ้ 14 การเจาะหู การไว้เลบ็ การสกั การแตง่ หน้า (1) ห้ามนักเรียนหญงิ เจาะหเู กินขา้ งละ 1 รู ถา้ ใสต่ ่างหใู หเ้ ป็นต่างหูห่วงเล็ก หา้ มใสต่ า่ งหูแฟชนั่ (2) นกั เรยี นชายหา้ มเจาะหูอยา่ งเดด็ ขาด (3) หา้ มไวเ้ ลบ็ ทาเล็บ (4) ห้ามสกั ห้ามเพ้นท์ หรือเจาะอวยั วะอ่ืน ๆ (5) หา้ มแต่งหน้า

หมวดที่ 5 การมาโรงเรยี น การประกอบพิธีหน้าเสาธง และการกลับบ้านของนกั เรียน ขอ้ 15 นักเรียนต้องมาโรงเรียนและลงเวลาการมาโรงเรียนตามเวลาและสถานที่ที่โรงเรียนกำหนด ในกรณที ี่นักเรยี นมาสายหรือขาดเรยี น โรงเรียนให้ผู้ปกครองตดิ ตามสอบถามจากครทู ่ีปรึกษา ขอ้ 16 นักเรียนท่ีมาโรงเรียนสาย หลงั เวลา 07.50 - 08.20 น. ลงชอื่ มาสายทีจ่ ุดเวรประตูโรงเรียนหลังจาก เวลา 08.20 น. นักเรียนต้องขอบตั รเข้าชน้ั เรียนทีห่ ้องกจิ การนักเรียน เพ่ือแสดงต่อครูประจำวชิ าโดยมีผู้ปกครองมาสง่ และลงลายมอื ชือ่ ขออนญุ าตเขา้ ห้องเรียนที่หอ้ งกิจการนกั เรียน ข้อ 17 นักเรียนทุกคนต้องเดินเข้า-ออกประตูโรงเรียนอยา่ งเป็นระเบียบ เมื่อถึงประตูให้ทำความเคารพครู ท่ที ำหนา้ ทีเ่ วรประตู ขอ้ 18 ใหน้ ักเรยี นเดินบนทางเทา้ ในขณะเปล่ยี นคาบเรยี น ข้อ 19 นักเรียนทุกคนต้องร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง มิฉะนั้นจะถือว่าขาดการร่วมกิจกรรมและได้รับ การลงโทษตามมาตรการของโรงเรียน ยกเว้นหากมีกิจกรรมที่ต้องเข้าร่วมและไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรม หน้าเสาธงได้ ให้ครูผู้รับผิดชอบทำบันทึกขออนุญาต โดยจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้อำนวยการหรือรองผู้อำนวยการ ทผี่ อู้ ำนวยการมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร หมวดที่ 6 การขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรียนและการลาโรงเรียน ข้อ 20 ในกรณีที่นักเรียนจะออกนอกบริเวณโรงเรียนก่อนถงึ เวลาท่ีโรงเรียนกำหนด ต้องมีบิดา มารดาหรือ ผูป้ กครองมารบั เทา่ นน้ั โดยการขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น ให้ปฏบิ ัตดิ งั น้ี (1) ขออนญุ าตครูผู้สอน (2) กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มตามที่โรงเรียนกำหนดทีห่ ้องกลุ่มงานกิจการนักเรียน ที่มีผู้ปกครองมา รับเทา่ น้นั ในกรณีที่หัวหนา้ ระดับชั้นไม่อยู่ ให้ขออนุญาตครกู ลมุ่ งานกจิ การนกั เรียนของโรงเรยี น โดยผู้ที่มารับนกั เรยี น ให้แสดงบตั รประจำตัวประชาชน สำเนาบตั รประจำตัวประชาชน หรอื บตั รที่สามารถแสดงตัวตน (3) นำใบอนุญาตไปแสดงและลงชื่อในสมุดออกนอกบริเวณโรงเรียนต่อเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยหนา้ ประตู ข้อ 21 การไม่มาโรงเรียน นักเรียนที่ไม่สามารถมาโรงเรียนได้ไม่วา่ จะป่วยหรือมกี ิจธุระใด ให้นักเรียนเขยี น ใบลา โดยมีผู้ปกครองลงชื่อรับรองและนำส่งแก่ครูที่ปรึกษา หรือในกรณีด่วนขอให้โทรศัพท์หรือโดยช่องทางอื่น ๆ แจ้งครูท่ปี รกึ ษาทราบ หมวดที่ 7 การปฏบิ ัติตนในหอ้ งเรียน และนอกห้องเรยี น ข้อ 22 ต้องตั้งใจเรยี น รักษากิริยา วาจา มารยาทใหเ้ รียบร้อย ข้อ 23 รักษาความสะอาดของห้องเรียนและอาคารเรยี น ไมข่ ีดเขียนบนโต๊ะเรยี นและผนงั ห้องเรยี น ข้อ 24 รักษาทรัพย์สิน อุปกรณ์การเรียนต่าง ๆ หากทำเสียหายโดยจงใจ หรือด้วยความเลินเล่อ ต้องแจ้ง ครผู ้สู อนหรือครหู ัวหน้าตกึ ทราบทนั ที ขอ้ 25 ไมน่ ำอาหาร เครอื่ งด่ืมขึ้นมารบั ประทานบนอาคารเรยี น

หมวดท่ี 8 การรับประทานอาหาร ข้อ 26 นกั เรียนทุกคนต้องรบั ประทานอาหารเช้าและกลางวนั ที่โรงอาหารเทา่ นน้ั ห้ามนำอาหารหรือภาชนะ ใส่อาหารออกนอกบริเวณโรงอาหาร ข้อ 27 เมื่อรับประทานอาหารเรียบรอ้ ยแล้ว ให้นำภาชนะเก็บไวใ้ นทีโ่ รงเรียนกำหนด และนำวสั ดุภาชนะที่ หอ่ หรือใส่อาหาร เชน่ ใบตอง กระดาษ ถุงพลาสตกิ ไปทงิ้ ในถงั ขยะ ไม่ปลอ่ ยให้สกปรก รกรงุ รงั ขอ้ 28 การซื้ออาหารและการรับประทานอาหาร ต้องปฏิบัติตามวัฒนธรรมอันดีงาม เข้าคิว ไม่ยื้อแย่ง ทำหก เลอะเทอะ มูมมาม ส่งเสยี งดงั และไมเ่ ดนิ รบั ประทานอาหาร ข้อ 29 ไมอ่ นุญาตให้นักเรียนสั่งอาหารมาจากภายนอกโรงเรียน หมวดที่ 9 การใช้ยานพาหนะ ขอ้ 30 โรงเรียนไมอ่ นุญาตให้นกั เรียนนำรถยนต์, รถจักรยานยนต์, รถจกั รยานมาขับขภ่ี ายในโรงเรียน ข้อ 31 โรงเรียนไม่อนุญาตให้ผู้ปกครองนำยานพาหนะเข้ามารับ-ส่งนักเรียนภายในโรงเรียนในช่วงเวลา 07.00 - 17.00 น ให้รองผู้อำนวยการที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลกลุ่มงานกิจการนักเรียนรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มี อำนาจตีความและวนิ ิจฉยั ปัญหาเก่ียวกับการปฏบิ ัติตามระเบียบน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 มีนาคม พ.ศ. 2566 (นายพรศกั ด์ิ ทิพยว์ งษท์ อง) ผู้อำนวยการโรงเรยี นระยองวิทยาคม

ระเบียบโรงเรียนระยองวิทยาคม ว่าดว้ ยการตดั คะแนนความประพฤตินกั เรยี น พ.ศ.2566 เพื่อให้การควบคุมความประพฤติของนักเรียนอยู่ในระเบียบวินัย และมีคุณธรรมในทางที่ดี โดยกำหนด แนวทางการปฏิบัติตนของนักเรียนให้เป็นปัจจุบันรวมทั้งควบคุมความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบวินัย และมีคุณธรรม จริยธรรมดีย่งิ ขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 64 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 อำนาจตามความในข้อแห่งกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2548 และ กฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 บัญญัติให้กระทำได้ โดยอาศยั อำนาจตามบญั ญัติแห่งกฎหมายโรงเรียนระยองวิทยาคม เพือ่ เปน็ แนวทางการปฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ 1 ระเบยี บน้ีเรียกว่า ระเบยี บโรงเรียนระยองวทิ ยาคมวา่ ดว้ ยการตัดคะแนนความประพฤตินกั เรยี น พ.ศ. 2566” ขอ้ 2 ระเบียบน้ีให้ใชบ้ งั คบั ต้งั แต่ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 เปน็ ตน้ ไป ข้อ 3 ในระเบยี บนี้ “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรยี นระยองวทิ ยาคม “ผอู้ ำนวยการ” หมายถงึ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนระยองวิทยาคม “รองผอู้ ำนวยการ” หมายถึง รองผู้อำนวยการท่ไี ดร้ ับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหนา้ ท่ีดแู ล กล่มุ งานกจิ การนกั เรยี น “หัวหนา้ กลุ่มงานกิจการนกั เรยี น” หมายถึง ครทู ี่ไดร้ บั การแต่งตัง้ ตามคำสง่ั ของโรงเรยี นใหป้ ฏิบตั ิ หน้าท่ีหัวหน้ากลุ่มงานกจิ การนักเรียน “หวั หนา้ ระดับชนั้ ” หมายถงึ ครทู ี่ไดร้ บั มอบหมายใหท้ ำหนา้ ทห่ี วั หน้าระดบั ชั้น “ครูที่ปรึกษา” หมายถงึ ครูทไ่ี ด้รบั การแตง่ ตั้งตามคำส่ังโรงเรยี นให้ปฏิบตั หิ น้าที่ ครทู ป่ี รกึ ษา “ครู” หมายถงึ ครูท่ีปฏิบัติหนา้ ท่ปี ัจจุบันในโรงเรียนระยองวทิ ยาคม “นกั เรียน” หมายถงึ นกั เรยี นทก่ี ำลงั ศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2566 ของโรงเรยี นระยองวทิ ยาคม “ผูป้ กครอง” หมายถึง บิดา มารดา หรอื ผู้ท่ไี ดล้ งชอ่ื เปน็ ผปู้ กครองนักเรยี น ในเอกสารมอบตวั นักเรียนทีใ่ หไ้ ว้กับโรงเรยี น “คณะกรรมการกลุม่ งานกจิ การนกั เรียน” หมายถงึ คณะกรรมการทีม่ หี นา้ ที่พจิ ารณาลงความเหน็ การกระทำผิด ประกอบดว้ ย หวั หนา้ กลุ่มงาน กจิ การนักเรยี น หวั หน้าระดบั ช้ัน ครทู ่ปี รกึ ษา และรองผูอ้ ำนวยการกล่มุ บริหารท่ัวไป “การกระทำผดิ ” หมายถึง การทีน่ ักเรียนประพฤตฝิ ่าฝืนระเบยี บของโรงเรยี นหรือ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ หรอื กฎกระทรวงว่าด้วย ความประพฤตขิ องนกั เรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายถงึ การลงโทษนกั เรียนท่ีกระทำผิด โดยมีความมุ่งหมาย เพอ่ื การอบรมส่งั สอน

“การทำกิจกรรม” หมายถึง การให้นักเรยี นท่ีกระทำผิด ทำกิจกรรม หรอื บำเพญ็ ตน ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเอง สถานศึกษา หรือสังคม ในลักษณะของงานทเ่ี ปน็ สาธารณะประโยชน์ กิจกรรม พฒั นาผเู้ รยี น หรอื งานทสี่ ่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ข้อ 4 อำนาจสงั่ ตดั คะแนนความประพฤตนิ กั เรยี น (1) ครูที่ปรึกษาในสถานศึกษามีอำนาจสั่งตัดคะแนนความประพฤติของนักเรียนแต่ละคนตามที่ กระทำความผิดในรายการตัดคะแนนตามระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนนของโรงเรียนระยองวิทยาคม ในกรณีที่พบ ความผิดเกิน 20 คะแนน ครทู ่ีปรกึ ษาแจ้งหวั หนา้ ระดบั ชนั้ และทำบันทกึ รายงานผู้ปกครอง เพอื่ ดำเนนิ การต่อไป (2) ครูที่ทำหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่เวรต่าง ๆ ในสถานศึกษา มีอำนาจสั่งตัดคะแนนพฤติกรรมนักเรียน ที่กระทำความผิดในรายการตัดคะแนนไม่เกิน 10 คะแนน และแจ้งให้ครูที่ปรึกษา หัวหน้าระดับชั้นทราบ เพื่อดำเนินการตอ่ ไป (3) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป หัวหน้ากลุ่มงานกิจการนักเรียน หัวหน้าระดับชั้น และ ครูผู้สอน มีอำนาจตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนตามมาตรการการลงโทษ โดยครูที่ปรึกษา รายงานให้ผู้ปกครอง รบั ทราบเพ่ือดำเนนิ การต่อไป ขอ้ 5 การลงโทษตัดคะแนนความประพฤตินักเรยี น โดยกำหนดการลงโทษนักเรียนไว้ 4 ระดบั ดังนี้ (1) ว่ากล่าวตักเตือน (2) ทำทัณฑ์บน (3) ตัดคะแนนพฤติกรรม (4) ทำกิจกรรมเพ่อื ใหป้ รบั เปล่ียนพฤติกรรม กำหนดไว้ตามตารางทแ่ี นบ ข้อ 6 ลักษณะความผดิ ที่ต้องตัดคะแนนความประพฤติ กำหนดไวต้ ามตารางที่แนบ ข้อ 7 ลกั ษณะความผดิ ที่ระบใุ นระเบยี บนี้ รวมถงึ ความผดิ อนื่ ที่ไม่ได้ระบุในระเบยี บนี้ การตดั คะแนนขึ้นอยู่ กับดุลยพินิจของคณะกรรมการกลุ่มงานกิจการนักเรียน ในการพิจารณาการตัดคะแนนความประพฤติ ตามความ รนุ แรงของลกั ษณะความผดิ ข้อ 8 ใหร้ องผูอ้ ำนวยการปฏิบัตหิ นา้ ที่ดแู ลกลุ่มงานกิจการนักเรยี นให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอำนาจ ตคี วามและวินิจฉยั ปญั หาเกย่ี วกับการปฏิบัติตามระเบยี บนี้ ประกาศ ณ วันท่ี 22 มนี าคม พ.ศ. 2566 (นายพรศักดิ์ ทพิ ยว์ งษท์ อง) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นระยองวิทยาคม

มาตรการลงโทษและตดั คะแนนความประพฤตขิ องนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2566 ลำดบั รายการตดั คะแนน บทลงโทษ จำนวน ที่ คะแนน - วา่ กล่าวตักเตอื น 5 คะแนน 1 1.1 ไม่ตรงต่อเวลา เชน่ มาโรงเรยี นสาย - ตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน - ทำกจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปลยี่ น เขา้ เรียนสายโดยไมม่ ีผปู้ กครองมาสง่ พฤติกรรม 30 คะแนน 5 คะแนน เข้าประชุมสายหรืออื่น ๆ 5 คะแนน 1.2 หนีเรียนหรือออกนอกสถานศกึ ษา - วา่ กล่าวตกั เตือน 5 คะแนน โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตในชว่ งเวลาเรียน - ตัดคะแนนความประพฤติ คาบละ 5 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน - ทำกจิ กรรมเพื่อให้ปรับเปลย่ี น พฤติกรรม 1.3 ทุจริตในการสอบทุกกรณ/ี นำข้อสอบ - ตดั คะแนนความประพฤติ ออกไปเผยแพร่ - ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลย่ี น พฤตกิ รรม 2 ประพฤตติ นไม่อยใู่ นระเบียบวนิ ัยของโรงเรยี น - วา่ กลา่ วตักเตอื น 2.1 แตง่ กายผดิ ระเบยี บ แตง่ กายไมส่ ภุ าพเรียบร้อย - ตดั คะแนนความประพฤติ (กระโปรงสนั้ /กระโปรงแคบ/กางเกงสนั้ /รองเทา้ / - ทำกจิ กรรมเพื่อใหป้ รับเปล่ยี น ถุงเท้า/ใส่เครื่องประดบั /ดงึ เสอ้ื ออกนอกกางเกง พฤติกรรม และกระโปรง/นกั เรียนหญงิ ไมใ่ ส่เสื้อบงั ทรงสพี ้นื ) 2.2 ทรงผมผิดระเบยี บ (ดัดผม ย้อมสผี ม - ว่ากลา่ วตักเตอื น ทำสีผม ซอยผม ตัดแตง่ ทรงผมทำรูปทรง - ตัดคะแนนความประพฤติ สัญลกั ษณเ์ ปน็ ลวดลาย ไว้หนวด ไวเ้ ครา) กรณี - ทำกิจกรรมเพื่อใหป้ รบั เปลย่ี น นักเรียนหญงิ พฤตกิ รรม ไวผ้ มยาว ความยาวไม่เกินกลางหลัง รวบผม และผูกรบิ บนิ้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย กรณีตัดหน้าม้า ให้ ยาวเสมอควิ้ ทรงผมชายไม่สามารถมดั รวบยาว ได้ 2.3 แต่งหน้า กนั ค้ิว ตกแตง่ คิว้ ทาลปิ สติก เล็บ - วา่ กล่าวตกั เตือน ยาว ทาเลบ็ - ตดั คะแนนความประพฤติ - ทำกิจกรรมเพือ่ ให้ปรับเปลย่ี น พฤติกรรม 2.4 กระเปา๋ ผิดระเบียบ - ว่ากล่าวตักเตือน - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกจิ กรรมเพื่อให้ปรับเปลย่ี น พฤตกิ รรม 3 3.1 แสดงกิริยา วาจาทไ่ี ม่สภุ าพ กา้ วร้าว - ว่ากลา่ วตักเตอื น (ทำลายขา้ วของ ทำร้ายร่างกายผอู้ ื่น - ตดั คะแนนความประพฤติ แสดงพฤตกิ รรมส่ือถงึ ความรุนแรง) - ทำกจิ กรรมเพื่อใหป้ รับเปลี่ยน ท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา พฤติกรรม

ลำดบั รายการตัดคะแนน บทลงโทษ จำนวน ที่ คะแนน - วา่ กลา่ วตกั เตือน 20 คะแนน 3.2 แสดงขอ้ ความ โพสต์ส่อื โซเชียลหรอื ให้ - ทำทัณฑบ์ น - ตัดคะแนนความประพฤติ 20 คะแนน ขอ้ มูลอนั เป็นเท็จ - ทำกจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปล่ียน 20 คะแนน พฤตกิ รรม 20 คะแนน ด้วยวิธีการใด ๆ ทก่ี ่อเกิดความเสยี หาย 20 คะแนน แกบ่ คุ คลอื่นและโรงเรียน ทัง้ ภายในและ 20 คะแนน ภายนอกสถานศึกษา 30 คะแนน 3.3 มีเจตนานำบคุ คลอนื่ ทไ่ี ม่ใชผ่ ูป้ กครอง - ตดั คะแนนความประพฤติ 30 คะแนน มาลงนามขออนุญาตเขา้ -ออกนอกโรงเรียน - ทำกจิ กรรมเพ่อื ให้ปรับเปล่ยี น พฤตกิ รรม 30 คะแนน 50 คะแนน 3.4 ปลอมลายมือชือ่ ผ้ปู กครอง ครู หรือบคุ คลผอู้ ่นื - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลย่ี น พฤติกรรม 3.5 เจตนานำบคุ คลอนื่ เข้ามาในโรงเรียนโดย - ตัดคะแนนความประพฤติ ไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต - ทำกิจกรรมเพื่อใหป้ รับเปล่ยี น พฤติกรรม 3.6 เทย่ี วเตรน่ อกสถานที่พัก รวมกลมุ่ หรอื - ว่ากล่าวตกั เตือน มว่ั สุม มีพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ อนั เป็นการ - ทำทัณฑบ์ น สรา้ งความเดือดร้อนให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น - ตดั คะแนนความประพฤติ - ทำกจิ กรรมเพ่ือให้ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3.7 แสดงพฤติกรรมในเชงิ ชู้สาวและลามก - ทำทณั ฑบ์ น อนาจาร ทั้งในและนอกโรงเรียน มสี อื่ ลามก - ตัดคะแนนความประพฤติ อนาจารในครอบครอง - ทำกิจกรรมเพอ่ื ใหป้ รบั เปลี่ยน พฤติกรรม 3.8 เลน่ การพนนั หรือมีสว่ นรูเ้ หน็ ในการเล่น - ทำทณั ฑบ์ น การพนันทุกชนิด - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปลย่ี น พฤตกิ รรม 3.9 ดม่ื สุรา เครอ่ื งดม่ื แฮลกอฮอล์ หรอื - ทำทณั ฑ์บน มสี ุราเครื่องด่มื แฮลกอฮอล์ไว้ในครอบครอง - ตดั คะแนนความประพฤติ - ทำกจิ กรรมเพ่ือให้ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3.10 ลักทรพั ย์ กรรโชกทรพั ย์ ข่มขู่ - ทำทัณฑบ์ น หรอื บงั คบั ขนื ใจเพอ่ื เอาทรพั ย์บุคคลอ่นื - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกิจกรรมเพ่อื ให้ปรบั เปลีย่ น พฤติกรรม 3.11 บหุ รี/่ บุหรไี่ ฟฟ้า และเสพยาเสพติดอนั ตราย - ทำทัณฑ์บน ทุกชนิด - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกจิ กรรมเพื่อใหป้ รบั เปลย่ี น พฤตกิ รรม

ลำดับ รายการตัดคะแนน บทลงโทษ จำนวน ที่ คะแนน - ทำทณั ฑบ์ น 100 คะแนน 3.12 ซอ้ื จำหนา่ ย แลกเปลยี่ นครอบครองสงิ่ เสพ - ตัดคะแนนความประพฤติ 100 คะแนน - ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยน 5 คะแนน ตดิ อันตรายทกุ ชนิดของผดิ กฎหมาย พฤติกรรม - ทำทัณฑ์บน 30 คะแนน ทนี่ อกเหนอื จากข้อ 3.11 - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกจิ กรรมเพอ่ื ให้ปรับเปลย่ี น 5 คะแนน 3.13 ล่วงละเมิดทางเพศ พฤติกรรม - วา่ กล่าวตกั เตือน 4 4.1 กระทำสิง่ ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดความสกปรก - ลงบนั ทึก ในโรงเรยี น เชน่ ทงิ้ เศษอาหาร เศษกระดาษ - ตดั คะแนนความประพฤติ ถุงพลาสติกหรือไมเ่ ก็บภาชนะ ทำให้อาคาร/ - ทำกจิ กรรมเพื่อให้ปรบั เปลี่ยน โตะ๊ เรยี น สกปรกหรือนำอาหารเคร่ืองดืม่ พฤตกิ รรม ที่ใช้แกว้ หรอื กระดาษออกนอกโรงอาหาร หรอื บริเวณท่ีกำหนด - ตดั คะแนนความประพฤติ และกรณี 4.2 เจตนาทำลายทรพั ยส์ นิ หรือทำใหเ้ สื่อมเสยี ทรพั ย์ของบุคคลใดหรือของโรงเรยี น สภาพของผู้อื่นหรอื โรงเรยี น เกดิ ความเสยี หายตอ้ งชดใช้ - ทำกิจกรรมเพ่อื ใหป้ รบั เปลย่ี น 5 5.1 รับ ซ้ือ และขาย สิง่ ของทไี่ มไ่ ดร้ บั อนญุ าตและ พฤติกรรม ผดิ ระเบยี บในบรเิ วณโรงเรยี น ซอ้ื อาหารจาก - ตดั คะแนนความประพฤติ ภายนอกโรงเรยี น - ทำกจิ กรรมเพื่อใหป้ รบั เปลีย่ น พฤตกิ รรม 5.2 เจตนาไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมของโรงเรียน - ตดั คะแนนความประพฤติ 10 คะแนน (กจิ กรรมหน้าเสาธง กจิ กรรมกีฬาสี กจิ กรรม - ทำกิจกรรมเพื่อใหป้ รบั เปลี่ยน 10 คะแนน วันวชิ าการ/ตลาดนัดชุมนุม หรอื ตามทีโ่ รงเรียน พฤตกิ รรม 100 คะแนน กำหนด) 5.3 นำเครอ่ื งมือหรอื อปุ กรณ์ส่ือสาร - วา่ กลา่ วตกั เตือน หูฟังทกุ ชนดิ ข้ึนมาใช้ โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต - ตดั คะแนนความประพฤติ จากครู ยกเว้นสถานทท่ี ี่ไดร้ บั อนญุ าต - ทำกจิ กรรมเพื่อใหป้ รบั เปลี่ยน พฤติกรรม 5.4 พกอาวุธหรือวัตถอุ ันตรายใด ๆ - ทำทณั ฑบ์ น - ตัดคะแนนความประพฤติ - ทำกิจกรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปลี่ยน พฤติกรรม หมายเหตุ โรงเรียนไดก้ ำหนดการลงโทษนกั เรยี นไว้ 4 ระดบั ดว้ ยกนั คอื (1) วา่ กล่าวตกั เตือน (2) ทำทัณฑ์บน (3) ตัดคะแนนพฤตกิ รรม (4) ทำกิจกรรมเพ่อื ใหป้ รับเปลยี่ นพฤติกรรม

24

งำนทะเบยี น และวดั ผล กำรบรกิ ำรของงำนทะเบยี นวดั ผล 1. ใบรบั รองการเป็นนักเรยี น (ปพ.7) 5. เปล่ียนชอ่ื - นามสกลุ และเอกสารอ่ืน ๆ 2. ใบแสดงผลการเรยี น ปพ.1:บ สาหรบั ม.ต้น 6. ลงทะเบียนแก้ไขผลการเรยี นและลงทะเบยี นเรยี นซ้า 3. ใบแสดงผลการเรยี น ปพ.1:พ สาหรบั ม.ปลาย 7. ใบประกาศนียบตั ร ม.ต้น - ม.ปลาย 4. ใบ transcript (ระยะเวลาในการดาเนินการ 7 วนั ) หมายเหตุ การขอเอกสารทกุ อย่างต้องดาเนินการล่วงหน้า 3 วัน (นับวนั ทาการ) สามารถขอเอกสารดังกล่าว และติดต่อทหี่ ้องงานทะเบียนและวดั ผล หรอื โทรสอบถามขอ้ มลู ได้ที่ 038-618-833 กำรตดิ ตอ่ ฝำ่ ยทะเบยี นวดั ผล 2. การออกใบรบั รอง ใบระเบียนแสดงผลการเรยี น และใบประกาศนียบัตร 1. การเปล่ียนแปลงหลักฐานขอได้ใน 2 กรณี 1.1 การขอแก้ วนั เดือน ปีเกิด 2.1 ใบรบั รองผลการเรยี น ในกรณีท่ีวัน เดือน ปี เกิด ของนักเรียนมีความ ทางโรงเรยี นจะออกให้แก่นักเรยี นที่กาลังเรยี นอยู่ ในโรงเรียน ซ่ึงประสงค์ขอใบรับรองผลการเรยี นจาก ผิดพลาด ไม่ตรงกับความจริง ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม ทาง โร งเรีย น ใบ รับ รอ งป ระ เภ ทน้ี ใช้ได้ 1 20 วัน นั ก เร ีย น จ ะ ต้ อ ง ติ ด ต่ อ กั บ ท า ง โร ง เร ีย น พ ร ้อ ม กั บ น า นับตั้งแต่วนั ท่อี อกให้ สาเนาทะเบยี นบ้านปจั จบุ นั ท่ถี ูกต้องมาดว้ ย 2.2 ใบระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1), ปพ.1:บ (สาหรับนักเรียนมัธยมศึ กษาตอนต้น ), ปพ.1:พ 1.2 การขอเปลี่ยนชอื่ หรอื ช่ือสกุล (สาหรบั นักเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย) เมื่อผู้ปกครองนักเรยี น หรือนักเรยี นขอเปล่ียนชื่อ ใน ก าร อ อก เอก ส าร ใบรับ รอ ง แล ะ ใบ ร ะเบี ยน หรอื นามสกุล และได้รบั อนุญาตจากทางราชการแล้ว แสดงผลการเรียน (Transcript) นักเรียนที่เป็นผู้ขอ จะต้องติดต่อโรงเรยี น เพ่ือขอเปลี่ยนช่ือหรอื นามสกุล จ ะ ต้ อ ง แจ้ ง ค ว า ม จ า น ง แ ล ะ ก ร อ ก ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ในทะเบียนของโรงเรยี น ขอ้ มูลทงี่ านทะเบยี นวดั ผล ตามจานวนเอกสารที่ขอ 2.3 ใบประกาศนียบัตร (ปพ.2) หลักฐานท่ีใชม้ ดี ังน้ี จะออกให้แก่นักเรยี นที่จบหลักสูตรการศึกษาภาค ⚫ ใบคารอ้ งจากงานทะเบียนวดั ผล บังคับ สาหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น และจบ ⚫ หนังสอื สาคัญการเปลี่ยนชอ่ื หรอื นามสกุล หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย พรอ้ มกับ ปพ.1:บ และ ปพ.1:พ ตัวจรงิ และสาเนา 1 ชุด ***พรอ้ มท้ังส่งรูปถ่ายนักเรยี น ขนาด 1.5 น้ิว กรณี ⚫ สาเนาทะเบยี นบ้าน 1 ชุด ที่กาลังศึกษาอยู่ และรูปถ่ายใส่เสื้อเช้ิตสีขาว ไม่สวม ในกรณีที่ บิดา มารดาของนักเรยี นรบั ราชการทหาร แวน่ ตาดา ขนาด 1.5 น้ิว กรณีจบการศึกษาแล้ว หรอื ตารวจ เม่ือได้รับพระราชทานเล่ือนยศ จะต้อง แจ้ งโร งเรีย น ทร าบ เพื่ อท่ี จ ะเปล่ี ย นแปล ง แก้ ไข ในทะเบยี นของโรงเรยี นให้ถูกต้อง แนวปฏบิ ตั กิ ำรรบั เอกสำรและหลกั ฐำนทงี่ ำนทะเบยี นวดั ผล 1. นักเรยี นปจั จบุ นั แต่งเครอื่ งแบบนักเรยี นใหถ้ ูกต้องเรยี บรอ้ ย ศษิ ยเ์ ก่าแต่งกายสุภาพเรยี บรอ้ ย 2. ถ้ามารบั หลักฐานด้วยตนเองไม่ได้ ควรให้บิดา มารดา หรอื ผปู้ กครองมารบั แทน 3. ถ้าเอกสาร รบ.1 , ปพ.1 ฉบับจรงิ หาย ต้องไปแจ้งความเอกสารหายที่สถานีตารวจ นาใบแจ้งความและรูปถ่ายปัจจบุ นั ขนาด 1.5 นิ้ว มาเพ่อื ขอทาเอกสารใหม่ 4. นักเรยี นปจั จบุ ันแต่งกายเครอ่ื งแบบนักเรยี นและแสดงบตั รประจาตัวนักเรยี นทุกครงั้ ที่มาติดต่อทางโรงเรยี น 5. เอกสารทไี่ ดร้ บั เป็นฉบับจรงิ ควรนาไปถ่ายเอกสารหลาย ๆ ชดุ เพื่อใชใ้ นคราวจาเปน็ 25 และเก็บฉบบั จรงิ ไวอ้ ยา่ ใหห้ าย

กำรลำออก กำรจำหนำ่ ยนกั เรยี น 1. ผู้ยน่ื คารอ้ งต้องเปน็ บดิ า มารดา เทา่ น้ัน 1. เม่ือนักเรยี นไม่มาโรงเรยี นติดต่อกันเกิน 7 วนั 2. ในกรณีจาเปน็ อนุญาตใหผ้ ปู้ กครองท่ีมามอบตัว โดยโรงเรยี นไดต้ ิดต่อไปยงั ผปู้ กครองแล้ว แต่ไม่ไดร้ บั คาตอบจากผู้ปกครอง นักเรยี นทาแทนได้ 3. กรอกใบคารอ้ งจากงานทะเบยี นวดั ผล 2. เม่อื นักเรยี นประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ ของนักเรยี น หรอื ฝ่าฝนื ระเบยี บอยา่ งรา้ ยแรง แจ้งเหตผุ ลที่นักเรยี นต้องลาออกใหช้ ดั เจน 4. นักเรยี นที่กาลังเรยี นอยใู่ นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา 3. กระทาผดิ เง่อื นไขทผ่ี ู้ปกครองไดท้ าไวก้ ับโรงเรยี น ตอนต้นต้องรบั ใบยนื ยนั การรบั นักเรยี นของ โรงเรยี นท่จี ะยา้ ยไป เพ่อื ใหโ้ รงเรยี นนั้นยนื ยนั วา่ ยนิ ดรี บั นักเรยี นเข้าเรยี น เกณฑก์ ำรจบกำรศกึ ษำ... โรงเรยี นระยองวิทยาคม ได้กาหนดเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 โดยแบ่งตามระดบั การศกึ ษาต่อไปน้ี เกณฑก์ ำรจบระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ 1. ผเู้ รยี นเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานและเพ่ิมเติม โดยเปน็ รายวชิ าพน้ื ฐาน 66 หน่วยกิตและรายวชิ าเพม่ิ เติม ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด 2. ผูเ้ รยี นต้องมผี ลการเรยี นผา่ นตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกวา่ 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพนื้ ฐาน 66 หน่วยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เติมตามทโี่ รงเรยี นกาหนด 3. ผูเ้ รยี นต้องมีผลการประเมินความสามารถการการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด 4. ผ้เู รยี นต้องมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด 5. ผเู้ รยี นต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามที่สถานศกึ ษากาหนด เกณฑก์ ำรจบระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 1. ผเู้ รยี นเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานและเพ่มิ เติม โดยเปน็ รายวชิ าพ้นื ฐาน 41 หน่วยกิตและรายวชิ าเพิ่มเติม ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด 2. ผู้เรยี นต้องมผี ลการเรยี นผา่ นตลอดหลักสตู รไม่น้อยกวา่ 77 หน่วยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน 41 หน่วยกิตและ รายวชิ าเพม่ิ เติมตามทโี่ รงเรยี นกาหนด 3. ผ้เู รยี นต้องมผี ลการประเมินความสามารถการการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดับผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ตามที่สถานศกึ ษากาหนด 4. ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ในระดับผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด 5. ผู้เรยี นต้องเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด คาอธบิ ายระดับผลการเรยี นรายวิชา ระดับผลการประเมินการอ่าน และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น คิดวิเคราะห์ และเขยี น, คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 4 = ดีเยีย่ ม 3.5 = ดีมาก 3 = ดีเยีย่ ม 3 = ดี 2 = ดี 2.5 = ค่อนขา้ งดี 1 = ผ่านเกณฑ์ 2 = ปานกลาง 1.5 = พอใช้ 1 = ผ่านเกณฑ์ข้ันต่า 0 = ไม่ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ตา่ ผ = ผา่ น 26

กิจกรรมเพอ่ื สังคม และสำธำรณประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนา ตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสาคัญทั้งความรู้ และคุณธรรมจรยิ ธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ ผู้เรยี นคิดสรา้ งสรรค์ออกแบบกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์อย่างหลากหลายรูปแบบ เพ่ือแสดงถึง ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในลักษณะจิตอาสา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังและสรา้ งจิตสานึกให้แก่ผู้เรยี นในการบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ 2. เพื่อให้ผเู้ รยี นมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรคใ์ นการจัดกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ตามความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร 3. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตามคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4. เพ่ือให้ผู้เรยี นมีจิตสาธารณะและใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ แนวกำรจดั กจิ กรรม การจัดกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ผ้เู รยี นสามารถเขา้ รว่ มกิจกรรมได้ ดังนี้ 1. กิจกรรมภายในโรงเรยี น (กิจกรรมในวิถีชีวิตโรงเรยี นเพ่ือปลกู ฝังจิตอาสา) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรยี นและครูที่ปรกึ ษากิจกรรมรว่ มกันวางแผนปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสาในวิถี ชีวิตของช้ันเรยี นและโรงเรยี นจนเกิดเป็นนิสัยในการสมัครใจทางานต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของ สว่ นรวม ซึง่ งานเหลา่ นี้จะขยายขอบเขตจากใกล้ตัวไปสู่สังคมทอ่ี ยู่ภายนอกได้ 2. กิจกรรมภายนอกโรงเรยี น (กิจกรรมอาสาสมคั รเพ่อื สงั คม) เป็นกิจกรรมทผ่ี ู้เรยี นไดร้ บั การสนับสนุนตามแผนการจัดกิจกรรม โดยให้ทากิจกรรมดว้ ยความ 27 สมัครใจทเ่ี ป็นประโยชน์แก่ชมุ ชน และสังคมโดยรวม

กำรประเมนิ ผลกจิ กรรม การประเมินผลกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ผู้เรยี นต้องเข้ารว่ มกิจกรรมให้ ครบตามกรอบเวลาในโครงสรา้ งของหลักสูตรสถานศกึ ษา ดงั นี้ ม.ตน้ ม.ปลำย รวม 3 ปี จานวน 45 ชวั่ โมง รวม 3 ปี จานวน 60 ชวั่ โมง โดยโรงเรยี นได้กาหนดเวลาในการปฏิบัติ โดยโรงเรียนได้กาหนดเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรยี นละ 7.5 ช่วั โมง ภาคเรยี นละ 10 ชวั่ โมง (ปีการศึกษาละ 15 ช่วั โมง) (ปกี ารศกึ ษาละ 20 ช่วั โมง) การประเมินในแต่ละกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ มีผลการประเมินเปน็ “ผ่าน” และ “ไม่ผา่ น” ผ่าน หมายถึง ผู้เรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมครบตามเวลา ปฏิบัติกิจกรรมและมผี ลงาน/ชนิ้ งาน /คณุ ลกั ษณะ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากาหนด ไมผ่ า่ น หมายถึง ผู้เรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมไม่ครบตามเวลา ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ ชนิ้ งาน/คณุ ลกั ษณะ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากาหนด ในกรณีทีผ่ ู้เรยี นไมผ่ ่าน ครูทป่ี รกึ ษาต้องให้ผู้เรยี นซ่อมเสรมิ การทากิจกรรมใหค้ รบตาม เกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากาหนด 28

งำนแนะแนว งานแนะแนว คือ การช่วยเหลือให้นักเรยี นรูจ้ ักตนเองตามสภาพความเป็นจรงิ รกั และเห็น คุณค่าของตนเองและผู้อื่น รู้จักโลกแวดล้อม สามารถตัดสินใจ แก้ปัญหา รูจ้ ักเลือกและ วางแผนชีวติ การเรยี นและอาชีพ สามารถปรบั ตนได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาตนเองได้เต็ม ตามศกั ยภาพ อันจะนาไปสู่การมีชีวิตทมี่ ีความสุข ความสาเรจ็ และเปน็ ประโยชน์ ขอบขำ่ ยของงำนแนะแนวในโรงเรยี น 1. จัดกิจกรรมแนะแนวในคาบเรยี นทุกระดับช้ัน จานวน 1 คาบ/สปั ดาห์ โดยมีเนื้อหาครบทง้ั 3 ประเภท คือ แนะแนวดา้ นการศกึ ษา แนะแนวดา้ นอาชพี แนะแนวด้านชวี ิตและสังคม 2. จัดบรกิ ารตามหลักการแนะแนว 5 บรกิ าร ดงั นี้ ⚫ บรกิ ารสารวจขอ้ มลู เชน่ ทดสอบความสามารถ ความถนัด ความสนใจ บุคลกิ ภาพ ฯลฯ เพ่ือใหค้ รูรูจ้ ักนักเรยี นและเพือ่ ให้นักเรยี นรูจ้ ักตนเองในทกุ ด้าน ⚫ บรกิ ารสนเทศ โดยใหข้ อ้ มลู ขา่ วสาร และความรูท้ จ่ี าเปน็ ท้งั ด้านการศกึ ษา อาชีพ สภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม ผ่านวิธีการต่างๆ เช่น ป้ายนิเทศ เอกสาร/หนังสือ สื่อวีดีทศั น์ อินเตอรเ์ น็ต และ ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของโรงเรยี น เป็นต้น เพื่อให้นักเรยี นสามารถปรบั ตนให้เหมาะสมต่อ สถานการณ์และความเปลีย่ นแปลง ⚫ บรกิ ารให้คาปรกึ ษา ด้านการเรยี น ด้านอาชีพ ด้านชีวิตและสังคม เพื่อช่วยให้นักเรยี น สามารถคดิ ตัดสินใจ และแก้ปญั หาดว้ ยตนเองได้อยา่ งรอบคอบและเหมาะสม ⚫ บรกิ ารจัดวางตัวบุคคล เช่น การจัดสรรทุนการศึกษา การจัดสรรโควตาเข้าศึกษาต่อ การคัดเลือกนักเรยี นในการเข้ารว่ มกิจกรรมหรอื โครงการต่างๆ เป็นต้น เพื่อช่วยให้นักเรยี นได้รบั บรกิ ารและประสบการณ์ อันจะเป็นการแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองตามความต้องการและความ เหมาะสม ⚫ บรกิ ารติดตามและประเมนิ ผล สรุปและรายงานขอ้ มูลการศกึ ษาต่อ ของนักเรยี นทสี่ าเรจ็ การศกึ ษาระดับชน้ั ม.3 และ ม.6 ในแต่ละปีการศกึ ษา เพอื่ เป็น แนวทางแก่นักเรยี นรุน่ ต่อไป และเพือ่ เป็นขอ้ มลู ในการปรบั ปรุงและ/หรอื พัฒนา การดาเนินงานของงานแนะแนวให้มคี ณุ ภาพย่ิงขน้ึ ข้อคิดจำกงำนแนะแนว บุคคลทล่ี ้มเหลวในชวี ิต ส่วนหน่ึงมาจาก การไม่รูจ้ ักตนเอง เชน่ การวางแผนการศกึ ษา และอาชพี ทผี่ ดิ พลาด สาเหตุเพราะถกู บังคับ หรอื เลือกตามเพอ่ื น หรอื เลือกตามค่านิยม สานักงานแนะแนว : หอ้ ง 216 อาคาร 2 เวลาเปิดบรกิ าร : วนั จันทร์ - วันศุกร์ เวลา 07.30-17.00 น. 29

ทุนกำรศกึ ษำ งานแนะแนวกาหนดแนวทางในการจดั สรรเงินทนุ แก่นักเรยี น เป็น 4 ประเภท ดงั นี้ 1. ทนุ การศึกษาประจาปี สาหรบั นักเรยี นท่มี คี วามประพฤติดแี ต่ขาดแคลนทุนทรพั ย์ เป็นทุนการศกึ ษาท่ีผู้มี อุปการะคุณมอบให้โรงเรยี นอย่างต่อเน่ืองเป็นประจาทุกปี โดยงานแนะแนวรว่ มกับครูที่ปรกึ ษา และงานกิจการ นักเรยี นดาเนินการคดั เลือกนักเรยี น และจดั พิธมี อบทุนการศกึ ษาในเดือนสิงหาคมของทุกปี 2. ทุนอาหารกลางวัน สาหรับนักเรียนท่ีมีฐานะยากจน โดยครูแนะแนวจะมอบเงินทุนอาหารกลางวัน แก่นักเรยี นสัปดาหล์ ะ 250 บาท 3. ทนุ การศึกษาระหว่างปี เปน็ ทุนการศกึ ษาทห่ี น่วยงานภายนอกไดม้ อบใหแ้ ก่โรงเรยี นในโอกาสต่าง ๆ โดย กาหนดเกณฑห์ รอื คณุ สมบตั ิเฉพาะแตกต่างกันไป 4. ทุนฉุกเฉิน เป็นทุนที่มอบให้แก่นักเรยี นท่ีประสบปัญหาขาดแคลนทุนทรพั ย์กะทันหัน เช่น สูญเสียบิดา- มารดา หรอื ผูอ้ ุปการะ หรอื ประสบภัยธรรมชาติ หรอื ด้วยเหตอุ ื่นใดอนั สมควรได้รบั การชว่ ยเหลือเปน็ รายกรณี กองทุนเงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอื่ กำรศกึ ษำ (กยศ.) โรงเรยี นระยองวทิ ยำคม คุณสมบตั ิผ้มู ีสิทธก์ิ ้ยู ืมเงิน 1. มสี ัญชาติไทย 2. เปน็ นักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-5-6) โรงเรยี นระยองวทิ ยาคม 3. รายไดข้ องบิดาและหรอื มารดา รวมกันไม่เกิน 360,000 บาทต่อปี (รายได้ก่อนหักค่าใชจ้ ่าย) 4. มีผปู้ กครอง หรอื ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม เนื่องดว้ ยนักเรยี นยงั ไมบ่ รรลุนิติภาวะ 5. มคี วามประพฤติดี ต้ังใจศกึ ษาเล่าเรยี น ขยนั หมน่ั เพียร 6. มผี ลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ี (ไม่ต่ากวา่ 2.00) 7. ต้องทากิจกรรมจิตอาสา หรอื กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ อยา่ งน้อย 18 ชวั่ โมงต่อภาคเรยี น หมายเหตุ : การพิจารณาคุณสมบัติของผูข้ อกู้ ขึ้นอยู่กับกองทุนฯเป็นผูพ้ จิ ารณา กู้เงินอะไรบ้าง รายการกู้ จานวนเงนิ / เดือน จานวนเงิน / ปี 1. เงินคา่ เล่าเรยี น 0 0 (ม.ปลาย มีโครงการเรยี นฟรี 15 ป)ี กยศ.จึงไมใ่ ห้ก้เู งนิ คา่ เล่าเรยี น 2. เงินค่าครองชพี (ค่าใชจ้ า่ ยรายเดอื น) เงนิ จะเขา้ บญั ชขี องนักเรยี น 1,800 21,600 รวมวงเงนิ กู้ 21,600 การผ่อนชาระหน้ี 1. เร่ิมผ่อนชาระหนี้เม่ือผู้กู้ไม่ได้เรียนต่อแล้ว หรือสาเร็จการศึกษาระดับสูงสุด (ปริญญาตรี) ครบ 2 ปี หลังสาเรจ็ การศึกษาสูงสุดของนักเรยี น ให้ว่างเว้นการชาระหนี้ 2 ปี เมื่อข้ึนปีท่ี 3 ให้เรม่ิ ชาระหนี้ ธนาคารจะมี หนังสอื แจ้งถึงผกู้ ้ยู มื หมายเหตุ : เมื่อครบกาหนดชาระหน้ีแล้ว แต่ผผู้กู้ยังไม่มีรายได้ หรือมีรายได้น้อย ให้ผู้กู้ติดต่อ บมจ . ธนาคารกรุงไทยได้ทุกสาขา เพื่อทาเรอ่ื งขอผ่อนผันได้คราวละ 6 เดือน แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 2 ปี (ขอผ่อนผัน ได้ 4 ครง้ั ) 2. ดอกเบ้ียรอ้ ยละ 1 บาท/ปี เรมิ่ คดิ ดอกเบย้ี ในปีท่เี รมิ่ ผ่อนชาระ ชว่ งก้ยู มื เรยี นไม่คดิ ดอกเบ้ีย 3. ต้องผ่อนชาระหนี้ให้เสรจ็ ส้นิ ภายใน 15 ปี นับจากปีท่ีเรม่ิ ผ่อนชาระ โดยผอ่ นชาระกับธนาคารกรุงไทยไดท้ ุกสาขา สนใจรายละเอียดติดต่อสอบถามท่ี 30 1. 02-6104888 http://www.studentloan.or.th หรอื http://www.studentloan.ktb.co.th 2. ครูเอกวิทย์ รตั นบุตานนท์ โทร 094-091-8663 3. LINE Official กองทุนเงินให้กู้ยืมเพอื่ การศึกษา

ระเบยี บกำรใชห้ อ้ งพยำบำล กรณีเจ็บปว่ ยขอยำ/ปฐมพยำบำลเบอื้ งตน้ 1. ถ้านักเรยี นมีอาการเจ็บป่วยในคาบเรยี น ให้ขออนุญาตครูผ้สู อน/ ครูประจาวชิ าทกุ ครงั้ (หากจาเปน็ ต้องขอนอนพัก ให้ชวนเพอ่ื นมาดว้ ย 1 คน) 2. แจ้งอาการเจ็บป่วยให้เจ้าหน้าที่พยาบาลทราบ และลงบันทึกข้อมูลส่วนตัวในแบบบันทึก การใชห้ ้องพยาบาลให้ครบถ้วน 3. นักเรยี นทเ่ี จ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ เชน่ ไขห้ วัดสายพันธุท์ ่แี พรร่ ะบาด, อีสุกอีใส, ตาแดง หรอื โรคระบาดอื่น ๆ เจ้าหน้าทจี่ ะออกใบอนุญาตให้ และแจ้งผู้ปกครองมารบั กลบั ไปรกั ษาตัวทบี่ ้านทนั ที 4. ห้ามหยิบยารบั ประทานเอง/ปฐมพยาบาลเองโดยเด็ดขาด 5. กรณีทาแผลท้ังแผลสดและแผลเก่า หากเกิดแผลท่ีบรเิ วณขา/เท้า ให้นักเรยี นถอดถุงเท้า ทง้ั สองขา้ งก่อนเขา้ ห้องพยาบาล กรณเี จ็บปว่ ยขอนอนพกั หอ้ งพยำบำล 1. ครูประจาหอ้ ง/เจ้าหน้าทห่ี อ้ งพยาบาลสอบถามอาการและเปน็ ผู้อนุญาตใหน้ อนพกั 2. นักเรียนที่เจ็บป่วยรับใบอนุญาตนอนพักจากครูประจาห้อง/เจ้าหน้าที่ และนาไปให้ ครูประจาวิชา ใบอนุญาต 1 ใบ / 1 คาบ และนากลับมาสง่ คนื หอ้ งพยาบาลทา้ ยคาบทกุ ครงั้ 3. กรุณาถอดรองเทา้ และถงุ เทา้ ไว้ดา้ นนอกก่อนเขา้ นอนพักห้องพยาบาลทกุ ครงั้ กำรรบั บรกิ ำรโครงกำรสวสั ดิกำรนกั เรยี น ด้ำนประกนั อบุ ตั เิ หตุ 1. นักเรยี นผู้ทาประกันเสยี ค่าเบี้ยประกันคนละ 300 บาท/ปี 2. คุ้มครองต้ังแต่ 16 พ.ค.66 ถึง 16 พ.ค.67 เวลา 12.00 น. หรอื เมื่อพ้นสภาพจากการเป็น นักเรยี นของโรงเรยี น แลว้ แต่กรณีใดจะถึงก่อน ความค้มุ ครอง ทนุ ประกัน หมายเหตุ 1. สูญเสียชวี ติ หรอื ทพุ พลภาพ*โดยส้นิ เชงิ ถาวรจากอุบัติเหตทุ ั่วไป 100,000 เพิ่ม 20,000 2. สูญเสยี อวยั วะ มือ เท้า สายตา 2 ส่วน (อบ.1) 100,000 (มอื ,เท้า ต้ังแต่ขอ้ มือขอ้ เทา้ ขึน้ ไป/ตาบอดสนิท) 60,000 3. สญู เสียอวยั วะ มอื เท้า สายตา 1 สว่ น (อบ.1) (มอื ,เทา้ ต้ังแต่ขอ้ มือข้อเท้าข้ึนไป/ตาบอดสนิท) 4. เสียชวี ติ จากอุบัติเหตขุ ณะขบั ขห่ี รอื โดยสารจักรยานยนต์ (อบ.1) 100,000 5. ฆาตกรรม หรอื ถกู ลอบทารา้ ยรา่ งกาย 100,000 ถือผลคดีถึงทีส่ ดุ 6. ค่ารกั ษาพยาบาลต่ออุบัติเหตุ 10,000 *การทุพพลภาพทีเ่ กิดขึ้นจะต้องมีเอกสารทางการแพทยร์ ะบุอย่างชดั เจนวา่ ทพุ พลภาพถาวรส้ินเชิง 31

รายละเอียดการรบั สิทธด์ิ ้านประกันอุบัติเหตุสาหรบั นักเรยี น 1. ให้ความคุ้มครองด้านอุบัติเหตุตลอด 24 ชวั่ โมง ทเ่ี กิดขึ้นท้ังในและนอกโรงเรยี นท่ัวโลก 2. ในกรณีดังต่อไปนี้ - อบุ ัติเหตุบนท้องถนน ในแม่น้า บนเครอื่ งบิน - การประกอบกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรยี น เชน่ เรยี นพลศกึ ษา ปฏิบตั ิงานต่าง ๆ ในโรงเรยี น การทดลองทาง วิทยาศาสตร์ ทากิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด การเดินทางทัศนศึกษา แมลงมีพิษต่อย สุนัข /แมว/ สตั วก์ ัด 3. กรณีเข้ารบั การรกั ษาโดยไม่มีใบสง่ ตัว จะต้องสารองจ่ายก่อน และนาใบเสรจ็ ตัวจรงิ ใบรบั รองแพทย์ และ สาเนาเอกสารผู้ปกครองมาทาเรอื่ งเบิกค่ารกั ษาพยาบาลที่โรงเรยี น/สานักงานตัวแทนนายอานนท์ พนัสอนุสรณ์ ในจงั หวดระยอง 3.1 เลขท่ี 4/30 ถ.บากจาก ต.เชงิ เนิน อ.เมอื ง จ.ระยอง (ตรงข้าม สนง.สพป.จ.ระยอง เขต1) โทร.038-617722, 084-3627670 3.2 เลขท่ี 26/3-5 ถ.สุขมุ วทิ ต.เนินพระ จ.ระยอง (ตรงขา้ มศาลเยาวชน จ.ระยอง) โทร.038-623345-7 4. โรงเรยี นสามารถสง่ ตัวนักเรยี นเข้ารกั ษาท่ีโรงพยาบาลโดยต้องแสดงบัตรประชาชนหรอื บัตรนักเรยี น และ ไม่ต้องสารองจา่ ยเงินคา่ รกั ษาท่โี รงพยาบาลดังต่อไปน้ี - รพ. ระยอง (ตรวจสอบสทิ ธก์ิ ารรกั ษา ชน้ั 1, 2) - รพ. จฬุ ารตั น์ระยอง - รพ. ศรรี ะยอง - รพ. บ้านคา่ ย (ตรวจสอบสทิ ธก์ิ ารรกั ษา) - รพ. แกลง (ตรวจสอบสิทธกิ์ ารรกั ษา) - รพ. ปลวกแดง (ตรวจสอบสิทธก์ิ ารรกั ษา) - รพ. นิคมพัฒนา (ตรวจสอบสิทธก์ิ ารรกั ษา) - รพ. บา้ นฉาง (ตรวจสอบสิทธก์ิ ารรกั ษา) - รพ. เขาชะเมา (ตรวจสอบสทิ ธก์ิ ารรกั ษา) - รพ. วงั จันทร(์ ตรวจสอบสิทธก์ิ ารรกั ษา) - รพ. เฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระเทพฯ (มาบตาพุด) (ตรวจสอบสทิ ธกิ์ ารรกั ษา) - รพ. สริ เิ วช จันทบุรี - คลินิกอบอนุ่ - คลินิกหมอเอกฤทธ์ิ (บา้ นแลง) - คลินิกแพทยอ์ รรถพล (มาบตาพุด) - คลินิกเพอ่ื นดาดฟา้ (ท่าเรอื แกลง) - คลินิกรวมแพทยน์ ิคม - คลินิกไมตรเี วชกรรม (ตลาดสตาร,์ สะพานส,ี่ มาบยางพร) - คลินิกแพทยส์ มเดช (ตลาดสามยา่ น อ.แกลง) วธิ กี ารเบิกเงินสวสั ดิการด้านประกันอุบัติเหตเุ มื่อได้รบั บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ต้องมเี อกสาร ดังน้ี กรณีบาดเจ็บ กรณีเสยี ชีวิต 1. ใบเสรจ็ รบั เงินฉบับจรงิ เทา่ นั้น 1. ใบมรณะบตั ร 2. ใบรบั รองแพทยฉ์ บับจรงิ เท่าน้ัน 2. หนังสือรบั รองการตาย โดยแพทยต์ ้องมีใบประกอบโรคศลิ ป์ 3. ใบรายงานชนั สตู รศพของสถาบันนิติเวช ต้องระบุ สาเหตุ ตาแหน่ง อาการที่ 4. รายงานบันทึกประจาวนั ของเจ้าหน้าท่ีตารวจ ข้อการเกิดเหตุ ได้รบั บาดเจบ็ จากอบุ ตั ิเหตุใหช้ ดั เจน ละเอยี ดสมบูรณ์ และขอ้ เสียชวี ติ กรณีถกู ทารา้ ยรา่ งกายต้องมีรายงาน 5. บัตรประจาตัวผู้เสียชวี ติ บัตรประชาชน(ผเู้ สียชวี ติ อายุ 7 ป)ี 6. ทะเบียนบา้ นผูเ้ สียชวี ติ ประทบั วา่ “ตาย” บตั รประชาชนและ บั น ทึ ก ป ร ะ จ า วั น ตั้ ง แ ต่ เกิ ด เห ตุ จ น ถึ ง ผลสรุปคดีจากเจ้าหน้าที่ตารวจ และ สาเนาทะเบียนบา้ นของผรู้ บั ผลประโยชน์(บดิ า-มารดา) เบอร์โทรศัพท์ท่ีติดต่ อกับผู้บาดเจ็บ ต้องมที งั้ คู่ โ ด ย ต ร ง แ ล ะ เ บ อ ร์ โ ท ร ศั พ ท์ ข อ ง 7. ทะเบยี นสมรส(ถ้ามี)การลงชอ่ื ของผใู้ ดผหู้ นึ่งต้องเป็นผลู้ งเทา่ น้ัน 8. เบอรโ์ ทรศพั ท์ญาติผเู้ สยี ชวี ติ และเจา้ หน้าท่ตี ารวจ เจ้าหน้าที่ตารวจ 9. กรณีถกู ยงิ /ทารา้ ยรา่ งกายต้องมผี ลสรุปคดีจากเจ้าหน้าทต่ี ารวจ ข้อยกเว้นประกันไม่จ่ายค่าสินไหมทดแทนโดยสังเขป ไม่คุ้มครองการเจ็บป่วยธรรมดา การติดเช้ือท่ีมิได้เกิดจากอุบัติเหตุ การฆ่าตัวตาย การทารา้ ยตัวเอง การ กระท าอา ชญาก รรม ภั ยก่ อกา รร้าย ภั ย ส งคร าม การ แท้งลู ก ก ารปว ดหลั ง กา รจล าจล นั ดหยุ ดงา น การทะเลาะวิวาท การกระทาขณะอยู่ภายใต้ฤทธ์ิสุรา สารเสพติด หรอื ยาเสพติด การรกั ษาทางเวชกรรมหรอื ศัลยกรรม การเล่นหรอื แข่งขันกีฬาอันตรายหรอื กีฬาที่จะต้องได้รับบาดเจ็บอยู่ในตัวกีฬาน้ันอยู่แล้ว การได้รบั บาดเจ็บจากการเล่นกีฬาที่มิได้เกิดจากอุบัติเหตุ อุบัติเหตุเกี่ยวกับฟัน การรักษาฟัน , รากฟัน, ครอบฟัน การเปลี่ยนหรอื ใส่ฟันปลอม การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นตามปกติในการใช้ชวี ติ ประจาวันที่มิใช่อุบัติเหตุ ค่าบรกิ ารอ่ืน ๆ อปุ กรณ์ภายนอกรา่ งกาย เวชภัณฑ์ 2 ค่าบรกิ ารหรอื อานวยความสะดวกของสถานพยาบาลทเี่ ข้าทาการรกั ษา 32

กำรใหบ้ ริกำรพนื้ ทจี่ ัดเกบ็ ขอ้ มูล ทางบริษัท Google ได้ปรับเปล่ียนนโยบายการให้บริการพื้นที่จัดเก็บข้อมูลบน Google Workspace for Education ดังนั้น โรงเรียนระยองวิทยาคม จึงมีการปรบั เปลี่ยนนโยบายในการ ใหบ้ รกิ ารเพือ่ ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งตามความเหมาะสม ดังนี้ เดิม ใหม่ ผู้ใช้งา น แ ต่ ล ะค น จ ะ พ้ืนทีเ่ ก็บขอ้ มูลจะเป็นแบบ Pool Storage โรงเรยี นจึงได้กาหนดให้ ได้พื้นที่เก็บข้อมูลแบบ ผ้ใู ชง้ านแต่ละคน มขี นาดพื้นทเี่ ก็บขอ้ มูล ดงั น้ี ไมจ่ ากัด (Unlimited) นักเรยี น ครู กลุ่มสาระฯ/กลุ่มงาน/งาน 15 GB 100 GB 200 GB ดังนั้น จึงขอความร่วมมือผู้ใช้งานทุกท่าน ทยอยย้าย ขอ้ มลู ทจ่ี ัดเก็บไว้บน Google Drive และบนบรกิ ารอ่ืน ๆ ของ Google ไปเก็บยัง Local Storage ของตนเอง เพ่ือให้คงเหลือข้อมูลบนบริการของ Google ไม่เกิน ตามทโ่ี รงเรยี นกาหนดโดยเครง่ ครดั ก่อนวันท่ี 1 พฤษภาคม 2567 33

ข้อกำหนดกำรใหบ้ รกิ ำร บัญชีผูใ้ ช้ 1 2 นักเรียน ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ทจี่ บระดบั ชนั้ ม.3, ม.6 ท่ีเกษยี ณอำยรุ ำชกำร ภายหลังจากจบการศกึ ษา ภายหลังเกษียณอายุราชการ สามารถใชง้ านอีเมลต่อได้ สามารถใชง้ านอีเมลต่อได้ เปน็ ระยะเวลา 1 ปี เปน็ ระยะเวลา 1 ปี จากน้ัน จะยุติการใชง้ าน จากนั้น จะยุติการใชง้ าน 3 4 ครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ทีเ่ สียชวี ติ ทย่ี ้ำยหรอื ลำออก ภายหลงั จากเสยี ชวี ติ ไปแล้ว 1 ปี ภายหลงั จากย้ายหรอื ลาออก จะยุติการใชง้ านอีเมล จะนาอีเมลออกจากอีเมลกลุ่มก่อน และให้สามารถใชง้ านอีเมลต่อได้ เป็นระยะเวลา 1 ปี จากนั้น จะยุติการใชง้ าน WARNING ! 34 โ ด ย ต้ อ ง ท า ก า ร ส า ร อ ง ข้ อ มู ล ข อ ง ต น เ อ ง ภ า ย ใน เว ล า ที่ ก า ห น ด หลังจากน้ัน จะดาเนินการลบบญั ชผี ้ใู ชง้ านและขอ้ มูลที่จัดเก็บไวบ้ น Google Drive และบนบรกิ ารอ่ืน ๆ ของ Google ทง้ั หมด

ระเบยี บหอ้ งสมดุ ⚫ กาหนดเวลาใชห้ อ้ งสมดุ วันและเวลาราชการ ⚫ ผมู้ สี ิทธยิ มื หนังสอื ต้ังแต่เวลา 07.30 น. - 16.30 น. นักเรยี น ครู และบุคลากรในโรงเรยี น ⚫การหมดสิทธยิ มื หนังสือ เมอ่ื ลาออกจากโรงเรยี นระยองวิทยาคม หรอื ประพฤติผดิ ระเบียบของห้องสมดุ และได้ตักเตือนแลว้ เกินกว่า 2 ครงั้ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นกำรเขำ้ ใช้ และยมื -คืนหนงั สอื 1. ห้องสมดุ เปิดบรกิ ารต้ังแต่เวลา 07.30 น. - 16.30 น. ในวันและเวลาราชการ 2. เมอ่ื เขา้ มาในหอ้ งสมุด ใหน้ ักเรยี นสแกนเครอื่ งนับจานวนการเขา้ ใชห้ ้องสมุดทกุ ครง้ั 3. หนังสอื ทว่ั ไป หมวด 000-900 และหนังสือทมี่ ีอักษรต่อไปนี้ ย น รส ภ ช อซ ยืมได้ครงั้ ละ 2 เล่ม/7 วนั ถ้าเกินกาหนด ปรบั วนั ละ 1 บาท/เลม่ 4. หนังสอื คมู่ ือเตรยี มสอบ (บ) ยมื ไดค้ รงั้ ละ 2 เล่ม/7 วัน ถ้าเกินกาหนดปรบั วนั ละ 1 บาท/เล่ม 5. เลอื กหนังสอื ไดต้ ามความสนใจ ยกเว้นหนังสืออ้างอิงทสี่ ามารถอ่านได้ในห้องสมุดเทา่ นั้น ไม่อนุญาตยืมออกนอกหอ้ งสมดุ 6. นาหนังสอื ทจ่ี ะยืมไปยืน่ ทเี่ คาน์เตอรย์ ืม-คนื พรอ้ มบอกเลขประจาตัวนักเรยี น เจ้าหน้าทจี่ ะ บันทกึ การยืมลงโปรแกรมและประทบั วนั กาหนดส่งด้านหลงั ของหนังสอื 7. เม่อื จะคนื หนังสือให้นาหนังสือมาทเี่ คาน์เตอร์ เจ้าหน้าทจ่ี ะทาการคนื ในโปรแกรมให้ 8. ถ้าทาหนังสือหาย จะต้องซ้ือหนังสอื เรอ่ื งเดิมมาสง่ คืนหรอื ชดใชเ้ ป็นเงนิ เทา่ กับราคาหนังสอื นั้น หมายเหตุ ผ้ทู ี่มีสทิ ธย์ิ มื หนังสอื ทกุ คน จะมีหนังสอื ในครอบครองได้ไมเ่ กิน 2 เล่มเท่าน้ัน มำรยำทในกำรใชห้ อ้ งสมดุ 1. ไม่นาหนังสอื หรอื สมบัติส่วนตัวเขา้ ห้องสมุดและไม่นาหนังสือของห้องสมดุ ออกไปโดยมไิ ดย้ ืม ตามระเบียบ 2. รกั ษาความสงบ ไม่สง่ เสียงดัง และไม่นาอาหาร เครอ่ื งดืม่ มารบั ประทานในห้องสมดุ 3. ถนอมหนังสือ และสมบตั ิทกุ ชนิ้ ในหอ้ งสมดุ เสมอื นเปน็ สมบตั ิของทา่ น 4. เมอ่ื ลุกจากเก้าอี้ เล่อื นเก้าอี้เก็บให้เรยี บรอ้ ยและปิดไฟ ปดิ พดั ลม 5. ขอความรว่ มมอื ปฏิบตั ิตามระเบยี บของห้องสมดุ อยา่ งเครง่ ครดั 35

ระเบียบกำรใชส้ ระวำ่ ยน้ำ และศนู ยส์ ุขภำพ ระเบยี บกำรใช้ศนู ยส์ ขุ ภำพ (Fitness Center) ใช้บรกิ ารฟรี 1. แต่งกายใหส้ ภุ าพเหมาะสม (ชดุ กีฬา รองเทา้ ผ้าใบ) สาหรบั นักเรยี นและ 2. หากมีขอ้ สงสยั เกี่ยวกับอุปกรณ์การออกกาลงั กาย บุคลากรของโรงเรยี น เปิดบรกิ ารวนั จันทร์ - ศุกร์ ให้ติดต่อเจ้าหน้าทเี่ พอื่ ขอรบั คาแนะนาทถ่ี กู ต้องและปลอดภัย เวลา 16.30 น. - 18.30 น. 3. ห้ามนาอาหารและเครอื่ งดม่ื เขา้ มาในศนู ย์สุขภาพ 4. ห้ามนาสตั ว์เล้ยี งเขา้ มาในหอ้ งออกกาลังกาย 5. ถ้ามอี ุปกรณ์ขดั ขอ้ งต้องแจ้งเจ้าหน้าทใี่ หท้ ราบทนั ที ระเบยี บกำรใช้สระวำ่ ยนำ้ 1. แสดงบัตรสมาชกิ ทกุ ครง้ั ก่อนใชบ้ รกิ ารสระวา่ ยนา้ 2. ถอดรองเทา้ ก่อนเขา้ บรเิ วณสระทกุ ครงั้ 3. อาบนา้ ชาระรา่ งกายและสระผมใหส้ ะอาดก่อนลงใชส้ ระ 4. ต้องใสช่ ดุ ว่ายน้าทสี่ ะอาดและสภุ าพ 5. หา้ มสวมเครอื่ งประดบั ทกุ ชนิดลงสระว่ายน้า ถ้าผมยาวต้องสวมหมวกให้เรยี บรอ้ ย 6. ห้ามบว้ นน้าลายหรอื ปัสสาวะลงในบรเิ วณสระ 7. ก่อนกระโดดน้าทกุ ครง้ั ต้องแน่ใจว่าไมม่ ีคนอยู่ใต้นา้ 8. หา้ มลงสระว่ายนา้ เม่อื เกิดบาดแผล หนอง หรอื โรคผวิ หนัง 9. ผู้ใชส้ ระว่ายน้าต้องเชอ่ื ฟงั คาเตือนของเจ้าหน้าท่ี 10. ผใู้ ชส้ ระวา่ ยนา้ ต้องรบั ผิดชอบตนเอง เดก็ อายุต่ากว่า 8 ปี ต้องมีผปู้ กครองมาด้วย 11. หา้ มนาอาหารเขา้ มารบั ประทานในบรเิ วณสระวา่ ยน้า 12. ผหู้ ญงิ มรี อบเดอื นห้ามลงสระว่ายนา้ ขนาดสระยาว 25 เมตร กวา้ ง 12 เมตร ลึก 2 เมตร 8 ช่องว่าย ห้องน้า 4 หอ้ ง ชาย 2 หอ้ ง หญิง 2 ห้อง หอ้ งอาบน้า 4 หอ้ ง ชาย 2 ห้อง หญงิ 2 หอ้ ง 36

กำรจดั กำรศึกษำ ฐำนสมรรถนะ จากปัญหาความด้อยคุณภาพของผู้เรยี นที่ไม่สามารถ นาความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และคุณลักษณะ ต่าง ๆ ที่ตนเรยี นรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในการทางานและการดารงชีวิตประจาวันได้ ส่งผลให้การศึกษาจาเป็นจะต้อง ปรับเปลี่ยนจุดเน้นจากฐานเนื้อหา (content-based) ไปเป็นฐานสมรรถนะ (competency-based) ดังน้ัน จึงจาเป็นทีผ่ เู้ ก่ียวข้องและผสู้ นใจทั้งหลายจะต้องเข้าใจวา่ “สมรรถนะ” คืออะไร ในชีวิตประจาวันท่ัว ๆ ไป เราคงได้เคยพบเหน็ เหตกุ ารณ์ทานองน้ีเกิดขนึ้ ตัวอยำ่ งสมรรถนะตำ่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั ตัวอยา่ งสมรรถนะการใช้ภาษาไทยเพ่อื การส่อื สาร เดก็ หญงิ คนหนึ่งวิง่ เข้ามากอดคุณยายซง่ึ กาลังจะออกไปซ้อื ของ เธอทักทายถามไถ่คุณยาย ด้วยถ้อยคาท่ีไพเราะ น่ารกั และออดอ้อนให้คุณยาย ซ้ือของเล่นมาฝาก เธอไม่รูว้ า่ ของเล่นท่ีเธอเห็น เพื่อนเล่นและอยากได้นั้น เรยี กว่าอะไร แต่เธอก็พยายามอธิบายให้คุณยายเข้าใจด้วยภาษาของเธอ เอง จนคณุ ยายเขา้ ใจวา่ หลานสาวต้องการอะไร เด็กหญงิ คนนี้ถือวา่ มสี มรรถนะการใชภ้ าษาไทยเพ่ือการส่อื สาร ตัวอย่างสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร กระเป๋ารถสองแถวเห็นคนต่างชาติยืนงงอยู่ จึงถามเป็นภาษาอังกฤษแบบชาวบ้านวา่ จะไปไหน Where you go? ชาวต่างชาติเข้าใจ ตอบกลับ กระเป๋ารถก็เชญิ ข้นึ รถ บอกวา่ คนั น้ีไปยงั ท่ีเขาต้องการ กระเป๋ารถคนน้ีถือว่ามีสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ในระดับพ้ืนฐานใช้งาน ได้ในชวี ิตประจาวัน ตัวอย่างสมรรถนะด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ และความเป็นผู้มีจิตวทิ ยาศาสตร์ ชายหนุ่มคนหน่ึงเป็นนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เขาเป็นคนมีความสนใจใฝ่รู้ เมื่อสนใจหรอื สงสัยในเร่ืองใด เขาจะพยายามหาคาตอบให้แก่ตนเอง โดยการค้นคว้าหาข้อมูลความรูจากแหล่งต่าง ๆ ท่นี ่าเชอ่ื ถือ แล้ววเิ คราะห์ และนาเสนอผลท่ีไดผ้ ่านส่อื ออนไลน์ เพ่ือรบั ฟงั ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ นักศึกษาคนน้ีมีสมรรถนะด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ และเป็นผู้มีจิตวิทยาศาสตร์ สามารถระบุส่ิงที่สงสัย ต้ังคาถาม วิเคราะห์ข้อมูล สืบสอบความรู้ได้ด้วยตนเอง รวมท้ังเป็นผู้มี 37 จิตวทิ ยาศาสตร์ มคี วามใฝร่ ู้ และมงุ่ ม่นั หาคาตอบใหแ้ ก่ตนเอง

ตัวอย่างสมรรถนะคณิตศาสตรใ์ นชวี ิตประจาวนั เมอื่ โรงเรยี นต้องจดั งานทีต่ ้องเชญิ แขกมาทั้งส้ิน 200 คน คุณครูใหน้ ักเรยี น ชั้นประถมศกึ ษา ปีท่ี 6 ชว่ ยวางแผนในการจัดโต๊ะวา่ ควรจัดจานวนเท่าไร นักเรยี นได้อภิปรายรว่ มกัน มีฝ่ายหนึ่งเสนอ ให้จดั น้อยกวา่ 200 โต๊ะ เพราะโดยสว่ นใหญแ่ ขกที่มางานยอ่ มน้อยกว่าจานวนท่ีเชิญเสมอ และอาจมี แขกบางคนซึ่งติดธุระ มาในวันงานไม่ได้ อีกฝ่ายก็ค้านว่าควรจัดโต๊ะให้ครบตามจานวนที่เชิญ เหลือดีกว่าขาด อีกฝ่ายค้านวา่ การเหลือท่ีน่ังเอาไว้ เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ ทั้งปรมิ าณอาหาร ปริมาณโต๊ะและเก้าอี้ น้องแจนเสนอให้ใช้ฟังก์ชันของไมโครซอฟท์เอกซ์เซลท่ีได้เรียนมา คือ NORMDIST ในการคานวณหาจานวนท่ีนั่งท่ีเหมาะสม มีความเส่ียงน้อยท่ีสุด ทุกคนเห็นด้วย เพราะเปน็ วธิ ที ี่มีเหตุผลรองรบั ไม่ไดใ้ ชเ้ พยี งความรูส้ ึกในการแก้ปัญหา น้องแจนมีสมรรถนะคณิตศาสตร์ ้ในชีวิตประจาวัน เพราะแก้ปัญหาของโรงเรียนโดยใช้ ความรูท้ างคณิตศาสตรท์ ี่เรยี น เชื่อมโยงกับปัญหาท่ีตนเองพบในชีวติ จรงิ ได้อย่างมีเหตุผลตามวัย ตัวอยา่ งสมรรถนะทักษะชีวิต สาวทางานออฟฟิศ 2 คน ทางานท่ีเดียวกัน เงินเดือนเท่ากัน แต่คนหน่ึงรู้จักวางแผน เก็บออม อกี คนใชจ้ ่ายโดยไม่มแี ผน สาวคนแรกน่าจะมอี นาคตทม่ี ่ันคงกวา่ สาวคนท่ี 2 เพราะเธอเปน็ ผู้มีสมรรถนะทกั ษะชีวิต รูจ้ ัก การบรหิ ารจัดการการเงิน และ ใช้ชวี ิตอยา่ งพอเพยี ง ตัวอย่างสมรรถนะการคิด ขา้ ราชการ 2 คน คนหนึ่งทางานตามท่ีได้รบั มอบหมาย อีกคนหน่ึงทาเช่นเดียวกัน แต่มักทา ได้ดกี วา่ และมากกวา่ ทีส่ ่ัง รวมทงั้ มีความคดิ ดี ๆ เสนอมาด้วย ขา้ ราชการคนท่ี 2 เป็นผู้ที่ทางานโดยใช้สมรรถนะการคิด รูจ้ ักแสวงหาความรู้ และใช้ความรู้ ในการทางาน มีความรบั ผิดชอบ และความต้ังใจในการทางานสูง ทาให้ได้ผลงานท่ีดี ข้าราชการผู้นี้ น่าจะมอี นาคตท่ีสดใส เจรญิ รุง่ เรอื งในหน้าท่กี ารงาน ตัวอยา่ งสมรรถนะด้านทักษะอาชพี และการเป็นผ้ปู ระกอบการ แจ่มใสมีฝีมือในการทาอาหารโดยเฉพาะสนใจเรอื่ งการทาน้าพรกิ เป็นพิเศษ หมู่บ้านของ แจ่มใสมีการเลี้ยงปลาสลิด และมีสินค้าล้นตลาด แจ่มใสจึงคิดสูตรน้าพรกิ ปลาสลิดหลากหลายสูตร และมีการจดั จาหน่ายในหลายชอ่ งทางท้ังศนู ยผ์ ลิตภัณฑข์ องหมู่บา้ น และขายแบบออนไลน์ แจ่มใสมสี มรรถนะด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ เพราะสามารถคิด สรา้ งงาน สรา้ งนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อตน ครอบครวั หรอื สงั คม ตัวอยา่ งสมรรถนะการรูเ้ ทา่ ทนั สื่อและสารสนเทศ กลุ่มแม่บ้าน 4-5 คน ไปเดินห้างสรรพสินค้าเพ่ือซื้อของ พบว่ามีร้านข้ึนป้าย “ลดสูงสุด 70%” จึงชวนกันเข้าไปเลือกซื้อ แม่บ้านท่านหน่ึงเตือนสติเพ่ือนว่า ความหมายของป้ายอาจมีสินค้า เพียงไม่ก่ีช้ินที่ลดราคา 70% การใช้ป้ายตัวโตสีแดง เป็นการจูงใจให้คนเข้าไปเลือกซ้ือ เม่ือมีลูกค้า จานวนมาก อาจทาใหเ้ ราลืมตรวจสอบราคาลดของสินค้าแต่ละชน้ิ แม่บ้านท่านน้ีมีสมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และช่วยให้เพื่อนที่ไปด้วยกัน มีหลักในการเลือกซือ้ สินค้า 38

ตัวอย่างสมรรถนะการทางานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นา ในช่วงเวลาท่ีเกิดพายุปาบึก ป้าสายได้รวบรวมแม่บ้านในหมู่บ้าน 10 คน ช่วยเจ้าหน้าที่ ในการดูแลเด็ก ๆ และคนแก่ ในศูนย์อพยพ ป้าสายแบ่งหน้าที่ให้ทาตามถนัด ท้ังการจัดหาอาหาร การจัดยาดูแลผู้เจ็บป่วย และให้กาลังใจแก่ผู้ท่ีเป็นห่วงกังวลเก่ียวกับทรพั ย์สินท่ีเสียหาย โดยมี ปา้ สายเป็นผูป้ ระสานงาน ซงึ่ ทาให้ทุกคนมสี ุขภาพกายใจทดี่ ี พรอ้ มรบั มือกับปัญหาที่เกิดขึ้นต่อไป ป้าสาย และกลุ่มแม่บ้านมีสมรรถนะการทางานแบบรวมพลังเป็นทีม เพราะมีทักษะในการ ทางานรว่ มกันและปฏิบตั ิตามบทบาทเพอ่ื การทางานให้บรรลุเปา้ หมาย ในส่วนป้าสายน้ันมีสมรรถนะ การเป็นผู้นาและใช้ภาวะผู้นาอย่างเหมาะสม สามารถประสานและนากลุ่มแม่บ้านให้ปฏิบัติงานได้ โดยนาความสามารถของสมาชกิ แต่ละคนมาใชเ้ พื่อการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเรจ็ ตัวอย่างสมรรถนะในการเป็นพลเมืองต่ืนรู้ นักเรียนพบว่า แหล่งน้าของหมู่บ้านเริม่ ส่งกลิ่นเหม็น เพราะมีคนนาส่ิงปฏิกูลไปทิ้ง เมื่อ ศึกษาระเบียบของหมู่บ้านพบว่า มีข้อห้ามอยู่แต่ไม่ได้บังคับใช้จรงิ จัง จึงรวมตัวกันกับเพื่อน ๆ ไป ปรกึ ษาผู้ใหญ่บ้านเพ่ือหาวิธีการแก้ปัญหา สรุปได้ว่า ควรมีการแจ้งข้อมูลผ่านเสียงตามสายของ หมู่บา้ นและติดป้ายประกาศเตือนพรอ้ มแจ้งบทลงโทษผ้ฝู ่าฝนื ปัญหาสาธารณะไม่ใช่เรอื่ งของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นเรอ่ื งของทุกคนท่ีต้องมีคนกล้าคิด และรวมตัวกันเพ่อื พจิ ารณาหาผูม้ อี านาจหน้าที่ในการดาเนินการแก้ไขปัญหาตามระบบ นักเรยี นกลุ่ม น้ีจัดว่าเป็นผูม้ สี มรรถนะการเป็นพลเมืองตื่นรู้ คณุ สมบตั หิ รอื ลกั ษณะสำคญั ของสมรรถนะ จากตัวอย่างท่ียกมาดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงลักษณะของผู้มีสมรรถนะ 10 ด้าน ซ่ึงคงไม่มีใครปฏิเสธว่าเป็น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และหากวิเคราะห์เจาะลึกลงไปอีกจะเห็นได้ว่า ผู้ที่มีสมรรถนะต่าง ๆ ดังกล่าวนั้น มีคุณสมบัติรว่ ม ท่ีเหมือนกันคือ สามารถทา (งาน/กิจกรรม) ได้สาเรจ็ การที่บุคคลจะสามารถทางานใด ๆ ไดส้ าเรจ็ น้ันต้องอาศยั ปจั จัยสาคัญหลายประการ ได้แก่ 1. มีความรูแ้ ละนาความรูม้ าใช้ในสถานการณ์ได้ เชน่ เด็กหญงิ ไม่รูว้ า่ ของเล่นมีชอื่ เรยี กวา่ อะไร แต่เธอก็ใชค้ วามรูจ้ ากคาทเ่ี ธอรู้ พยายามชแ้ี จงจนคุณยายเข้าใจ 2. มีทกั ษะ เดก็ หญงิ มที ักษะการใชภ้ าษาสอ่ื สารเป็นทนุ เดิมและพยายามใชท้ ักษะการพดู ของเธอชแี้ จงจนคณุ ยายเข้าใจ 3. มีเจตคติ แรงจูงใจ และคณุ ลักษณะท่ีสง่ เสรมิ พฤติกรรม การกระทาให้บรรลผุ ล เชน่ ความอยากไดข้ องเล่นเปน็ แรงจงู ใจที่ทาใหเ้ ด็กหญงิ พยายามอธบิ ายจนคุณยายเข้าใจ ควำมหมำยของสมรรถนะ สมรรถนะ จึงเปน็ ความสามารถของบุคคลในระดับท่สี ามารถปฏิบัติงานใดงานหนึ่งไดส้ าเรจ็ โดยใชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ/คณุ ลักษณะ ทตี่ นมีอยู่ สมรรถนะ เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถของบุคคลในการนาความรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะเฉพาะ ของตนมาประยกุ ต์ใชใ้ นงาน หรอื ในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดจ้ นประสบความสาเรจ็ สมรรถนะจึงเป็นผลรวมของความรู้ ทกั ษะ เจตคติ หรอื คุณลักษณะ ที่ทาใหบ้ ุคคลประสบความสาเรจ็ ในการ ทางาน การแก้ปญั หา และการดารงชีวติ สรุปว่า คนที่มีสมรรถนะ คือ คนทที่ างานได้สาเรจ็ โดยใชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ/คณุ ลักษณะ ต่าง ๆ ทตี่ นมีอยู่ 39

อะไรไมใ่ ชส่ มรรถนะ - คนมีความรู้ แต่ไม่ใช้ความรู้หรือไม่สามารถใช้ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ยังไม่ถือว่ามีสมรรถนะ (เช่น ผู้มีความรู้ภาษาอังกฤษ แต่ไม่สามารถพูดคุยกับชาวต่างชาติหรือใช้ความรู้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานได้ ) - คนมีทักษะ แต่ไม่สามารถนาทักษะนั้นมาใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ก็ยังไม่ถือวา่ มีสมรรถนะ (เช่น มีทักษะการ อ่าน เขยี น ฟงั พดู ภาษาอังกฤษ สอบผา่ นการทดสอบ แต่ไมก่ ล้าหรอื ไมส่ ามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้) - คนมีเจตคติท่ีดี แต่ไม่นามาใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ก็ถือว่ายังไม่มีสมรรถนะ (เช่น ชอบภาษาอังกฤษ มีเจตคติ ท่ีดตี ่อภาษาองั กฤษ แต่อาย หรอื ไมก่ ล้าพดู สือ่ สารกับชาวต่างชาติ) สมรรถนะเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยำ่ งไร สมรรถนะเกิดขึน้ ได้เมอ่ื บุคคลมีโอกาสได้ฝึกใชค้ วามรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีตนมีในการทางาน การแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่าง ๆ จนเกิดความชานาญ และความมัน่ ใจ ทาให้สามารถทางานต่าง ๆ ได้สาเรจ็ ดงั ตัวอยา่ ง พ่อแม่ในชนบทมักใช้ให้ลูก ๆ ช่วยทางานต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั ต้ังแต่เล็ก โดยการส่ัง/สอน ให้ทาบ้าง ทาให้ดู หรอื ให้เห็นเป็นตัวอยา่ งบ้าง เด็กต้องทาตาม เม่ือทาบ่อย ๆ ก็จะทาได้เอง และเรยี นรูก้ ารใชท้ ักษะที่เกิดข้ึนในสถานการณ์ ต่าง ๆ จนเกิดความชานาญ เชน่ นี้ กล่าวได้วา่ เด็กมีสมรรถนะในการทางานน้ัน ในกรณีขา้ งต้น เดก็ มสี มรรถนะในการทางานน้ัน เพราะเด็กใชค้ วามรูจ้ ากท่พี อ่ แมบ่ อกหรอื ทาให้ดู แล้วลองทาตาม ข้นั แรกอาจทาผิด ๆ ถกู ๆ พ่อแม่ให้ทาใหม่ก็เรยี นรูเ้ พม่ิ ขึน้ ต่อ ๆ มาก็เรมิ่ คดิ แก้ปัญหาเอง และทาได้ดขี นึ้ จนคล่องแคล่วชานาญ องค์ประกอบสำคญั ของสมรรถนะมี 7 ประการ คอื 1) ความรู้ (Knowledge) 2) ทักษะ (Skill) 3) คุณลักษณะ/เจตคติ (Attribute/Attitude) 4) การประยุกต์ใช้ (Application) 5) การกระทา/การปฏิบตั ิ (Performance) 6) งานและสถานการณ์ต่าง ๆ (Tasks/Jobs/Situations) 7) ผลสาเรจ็ (Success) ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด (Performance Criteria) วธิ ีกำรพฒั นำสมรรถนะใหเ้ กดิ ขน้ึ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ใหญ่รอบข้างเด็กสามารถช่วยพัฒนาเด็กให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็นเพื่อการดารงชีวิต อย่างมีคณุ ภาพในระดับทต่ี ้องการได้ไม่ยากนัก โดยการส่งเสรมิ ให้เด็กนาความรูแ้ ละทักษะต่าง ๆ ที่ได้เรยี นรูม้ าแล้ว ไปใช้ในการทางาน การแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่าง ๆ และช่วยให้กาลังใจในการทางาน ให้คาแนะนา ส่งเสริม คณุ ลักษณะทจ่ี าเปน็ และเพมิ่ ความรูแ้ ละทกั ษะใหเ้ ด็กทางานได้ดีข้นึ ตามลาดับ เด็กก็จะเกิดสมรรถนะทส่ี ูงขึน้ เรอ่ื ย ๆ 40

รวมใจ ร.ย.ว. เพลงโรงเรียน มำร์ช น้ำเงนิ – เหลอื ง เชดิ ชสู ถำบัน ลำกอ่ น...ระยองวิทยำคม อำลยั ร.ย.ว. 100 ปี บุญศริ ิ ระยองมติ ร ระยองวทิ ยำคม 41

เพลงโรงเรยี น วนั ดี ดว้ ยรกั และสำมัคคี อำลำ – อำลัย มำรช์ ระยองวิทยำคม ระยองวิทยท์ ี่รัก ถน่ิ งำม... นำ้ เงนิ – เหลอื ง ฝำกใจไวก้ บั ร.ย.ว. แม่ผู้ปอ้ นนม 42

43 แผนผงั โรงเรยี นระยองวิทยำคม

https://rayongwit.ac.th/