หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (Historical Sources) หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทา การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยอู่ าศยั ของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าทีป่ รากฏอยภู่ ายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทศั น์ ความรู้สึก ประเพณีปฏบิ ตั ิของมนุษย์ ในอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจบุ นั สิ่งท่ีมนุษยจ์ บั ตอ้ งและทิ้งร่องรอยไว้ กล่าวไดว้ า่ อะไรก็ตามที่มาเกี่ยวพนั กบั มนุษย์ หรือมนุษยเ์ ขา้ ไปเกี่ยวพนั สามารถใชเ้ ป็ นหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไดท้ ้งั ส้ิน การแบ่งประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ๑) แบ่งตามยุคสมยั (๑) หลกั ฐานสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ คือ หลกั ฐานที่เกิดข้ึนในสมยั ที่ยงั ไม่มีการบนั ทึกเป็ นอกั ษร แต่ เป็ นพวกซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากสิ่งมีชีวติ ต่างๆ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ เคร่ืองประดบั ร่องรอยการต้งั ถิ่นฐาน ของชุมชน ตลอดจนความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของมนุษยก์ ่อนประวตั ิศาสตร์ ในลกั ษณะของการ บอกเล่าต่อๆกนั มา เป็นนิทานหรือตานานซ่ึงเราเรียกวา่ “มุขปาฐะ” (๒) หลกั ฐานสมยั ประวตั ิศาสตร์ คือ หลกั ฐานสมยั ที่มนุษยส์ ามารถประดิษฐ์ตวั อกั ษร และบนั ทึกใน วสั ดุตา่ งๆ มีร่องรอยที่แน่นอนเก่ียวกบั สงั คมเมือง มีการรู้จกั ใชเ้ หล็ก และโลหะอ่ืนๆ มาเป็ นเคร่ืองมือใชส้ อยที่ ปราณีต มีร่องรอยศาสนสถานและประติมากรรมรูปเคารพในศาสนาอยา่ งชดั เจน ๒) แบ่งตามลกั ษณะหรือวิธีการบันทกึ (๑) หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ จารึก ตานาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ บนั ทึกความทรงจา เอกสารทางวิชาการ ชีวประวตั ิ จดหมายส่วนตวั หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร กฎหมาย วรรณกรรม ตารา วิทยานิพนธ์ งานวิจยั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทย มีการเน้นการฝึ กฝนทกั ษะการใชห้ ลักฐาน ประเภทลายลักษณ์อักษร เป็ นส่วนใหญ่ จนอาจกล่าวได้ว่าหลักฐานประเภทน้ีเป็ นแก่นของงานทาง ประวตั ิศาสตร์ไทย (๒) หลกั ฐานไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ หลกั ฐานโบราณคดี เช่น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ เงนิ ตรา หลกั ฐานจากการบอกเล่า ท่ีเรียกวา่ “มุขปาฐะ” หลกั ฐานดา้ นภาษา เก่ียวกบั พฒั นาการของภาษาพดู หลกั ฐานทาง
ศลิ ปกรรม ไดแ้ ก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ หลกั ฐานประเภทโสตทศั น์ ไดแ้ ก่ ภาพถ่าย ภาพสไสด์ แผนที่ โปสเตอร์ แถบบนั ทึกเสียง แผน่ เสียง ภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณียากร ๓) แบ่งตามลาดบั ความสาคญั (๑) หลกั ฐานช้ันตน้ หรือหลกั ฐานปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง หลกั ฐานท่ีบนั ทึก สร้าง หรือ จดั ทาข้ึน โดยผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั เหตุการณ์น้ันโดยตรง หรือบง่ บอกให้รู้ถึงเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในสมยั น้ันจริงๆ ท้งั ที่ เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เช่น สนธิสัญญา บนั ทึกคาให้การ จดหมายเหตุ กฎหมาย ประกาศของทางราชการ ศิลา จารึก จดหมายโตต้ อบ และที่ไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เช่น ภาพเขยี นสีผนังถ้า เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดบั เจดีย์ (๒) หลกั ฐานช้ันรองหรือหลกั ฐานทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง หลักฐานที่เกิดจากการนา หลกั ฐานช้นั ตน้ มาวเิ คราะห์ ตีความเมื่อเวลาผา่ นพน้ ไปแลว้ ไดแ้ ก่ ตานาน พงศาวดาร นักประวตั ิศาสตร์บางท่านยงั ไดแ้ บ่งหลกั ฐานประวตั ิศาสตร์ออกไปอีกเป็ น หลกั ฐานช้นั ที่สามหรือตติยภูมิ (Tertiary sources) หมายถึง หลกั ฐานท่เี ขยี นหรือรวบรวมข้ึน จากหลกั ฐานปฐมภมู ิและทตุ ิยภมู ิ เพอื่ ประโยชนใ์ น การศึกษาอา้ งอิง เช่น สารานุกรม หนงั สือแบบเรียน และบทความทางประวตั ศิ าสตร์ตา่ งๆ ๔. วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ (Historical Method) วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ หมายถึง กระบวนการ (Process) ในการคน้ ควา้ หาขอ้ เท็จจริงทางประวตั ิศาสตร์ ประกอบดว้ ยข้นั ตอนสาคญั ดงั น้ี ๑. การกาหนดเป้าหมายในการศึกษา ผูศ้ กึ ษาตอ้ งมีความตอ้ งการท่ีชดั เจนวา่ จะศึกษาอะไร สมยั ใด และ เพราะเหตุใด ๒. การค้นหา รวบรวมและคดั เลือกหลักฐาน เป็ นข้นั ตอนที่ตอ้ งกระทาต้ังแต่แรกเร่ิม และตลอด ระยะเวลาทีค่ น้ ควา้ โดยจะตอ้ งรวบรวม คดั เลือก และติดตามหลกั ฐานท่ีอาจจะมีการคน้ พบใหม่หรือตีความใหม่ อยเู่ สมอ ๓. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลกั ฐาน เป็ นข้นั มุ่งวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐานว่า เป็ นของจริง หรือของปลอมซ่ึงเรียกว่า การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐานจากภายนอก และวิเคราะห์ว่ามีความ น่าเชื่อถือเพยี งใด ซ่ึงเรียกวา่ การวเิ คราะห์และประเมินคุณคา่ หลกั ฐานจากภายใน
๔. การตีความ (Interpretation) เป็ นข้นั การตคี วาม เพอื่ พยายามคน้ หาความหมาย และความสาคญั แทจ้ ริง ที่ปรากฏในหลกั ฐาน รวมท้งั ความสมั พนั ธ์ของขอ้ เท็จจริงเพอ่ื สามารถนาไปใชใ้ นการอธิบายพฤติกรรมของ มนุษย์ หรือสามารถใชอ้ ธิบายขอ้ สมมติฐานที่ต้งั ข้ึน ๕. การสงั เคราะห์หรือเรียบเรียงเรื่องราว (Synthesis) เป็ นข้นั ของการนาขอ้ มูลที่วเิ คราะห์ และตีความ แลว้ มาเรียบเรียงเขา้ ดว้ ยกนั ในลกั ษณะท่ีสมั พนั ธก์ นั อยา่ งมีกฎเกณฑ์ และเป็ นเหตุเป็นผลน่าเช่ือถือ
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: