บรรยายสรุป จังหวัดพษิ ณโุ ลก สานกั งานจงั หวดั พิษณโุ ลก กลมุ่ งานยทุ ธศาสตร์และข้อมลู เพื่อการพฒั นาจงั หวดั โทร/โทรสาร ๐๕๕-๒๔๖๔๔๑ สป.มท. ๒๐๔๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๙
สารบัญ หน้า บทนา ๑ ความเป็ นมา ๒ สภาพทว่ั ไป ๓ ลกั ษณะภมู ิประเทศ – ลกั ษณะภมู ิอากาศ ๔ การปกครอง / ประชากร ๕ สภาพสงั คม ๘ สภาพทางเศรษฐกิจ ๑๐ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ๑๒ การเมือง / การเลือกตงั้ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร / สมาชิกวฒุ ิสภา ๑๓ ประเพณี วฒั นธรรม ๑๔ การคมนาคม / การขนสง่ ๑๗ การทอ่ งเท่ียว ๒๐ สนิ ค้าพืน้ เมืองและของฝากเมืองพิษณโุ ลก ๒๒ วิสยั ทศั น์ / ยทุ ธศาสตร์จงั หวดั พิษณโุ ลก
คาขวญั จงั หวดั พษิ ณโุ ลก พระพุทธชนิ ราชงามเลศิ ถ่ินกาเนิดพระนเรศวร สองฝงั่ นา่ นล้วนเรอื นแพ หวานฉ่าแทก้ ลว้ ยตาก ถา้ และน้าตกหลากตระการตา
ตัง้ แตข่ ้าพเจ้าไดเ้ หน็ พระพุทธรูปมานกั แลว้ ไมไ่ ดเ้ คยรสู้ ึกวา่ ดูปลื้มใจจาเริญตาเท่าพระ พุทธชินราชเลย วิหารก็พอเหมาะกับพระ มีท่ีดูได้ถนัด องค์พระก็ตั้งต่าพอดูได้ตลอดองค์ ไม่ ต้องเข้าไปดูจนจ่อเกินไป และไม่ต้องแหงนคอต้ังแลดูพระนาสิกพระ ย่ิงพิศไปยิ่งรู้สึกยินดี ว่าไม่เชิญลงมาเสยี จากท่ีน่นั ถา้ พระพทุ ธชนิ ราชยังคงอยู่ท่พี ิษณโุ ลกตราบใด เมอื งพิษณุโลกก็จะเปน็ เมอื ง ที่ควรไปเท่ียวอยู่ตราบน้ัน ถึงในเมืองพิษณุโลกจะไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย ขอให้มีแต่พระพุทธ ชนิ ราชเหลือยังคงจะอวดได้อยู่เสมอว่า มีของควรดูชมอย่างยิ่งอย่างหน่ึงในเมืองเหนือ หรือ ว่าในเมอื งไทยทง้ั หมดเลยกไ็ ด้ พระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั
ถ่ินกาเนดิ กษัตริยน์ ักรบ “ดว้ ยพระเจ้าหงสาวดี มิไดอ้ ย่ใู นครองสจุ รติ มิตรภาพ ขัตติยราชประเพณี เสียสามัคครี สธรรม ประพฤตพิ าลทุจริต คิดจะ ทาอันตรายแกเ่ รา ตงั้ แต่นไี้ ป กรงุ ศรอี ยธุ ยาขาดไมตรีกบั กรุงหงสาว ดีมไิ ดเ้ ปน็ มิตรร่วมสุวรรณปฐพเี ดยี วกันดจุ ดังแตก่ ่อนสืบไป”
ตราประจาจังหวัดพษิ ณุโลก รูปพระพทุ ธชนิ ราช หมายถงึ ในราวปี พทุ ธชินราช ๑๙๐๕ สมยั พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไท) ได้ก่อสร้างพระพทุ ธชนิ ราชรูปปางมารวิชยั มีพทุ ธลกั ษณะงดงามมาก และถือวา่ เป็ นพระพทุ ธรูป คบู่ ้านคเู่ มืองของจงั หวดั พิษณโุ ลกและสวยงามท่ีสดุ ในประเทศไทย ธงประจาจังหวัด เป็นผ้าพืน้ สีมว่ งเข้ม มีดวงตราสญั ลกั ษณ์ของจงั หวดั อยตู่ รงกลาง ต้นไม้ประจาจังหวัด ดอกไม้ประจาจังหวัด ต้นปี บ ดอกนนทรี ชื่ออื่น : กาซะลอง ชื่ออ่ืน: กระถินป่ า กระถินแดง
ความเป็ นมา ๑ _____________________________________________________ พิษณุโลกเป็ นจังหวัดหนึ่งท่ีมีความสาคญั ทางประวัติศาสตร์ สร้ างเม่ือประมาณพุทธศตวรรษ ที่ ๑๕ สมยั ขอมมีอานาจปกครองแถบนี ้ โดยมีปรากฏตามหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ศิลาจารึกสโุ ขทยั ซึ่งเดิมที คนไทยสมัยก่อนแบ่งออกเป็ น ไทยเหนือและไทยใต้ ซ่ึงกลุ่มชนท่ีตงั้ อยู่ทางตอนเหนือลุ่มนา้ เ จ้ า พ ร ะ ย า ตั้ง แ ต่ จั ง ห วั ด นครสวรรค์ขนึ ้ ไป เรียกว่า “ชาว เหนือ” หรือ “คนเหนือ” และ เรี ยกกลุ่มชนท่ีอยู่ทางกรุงศรี อยธุ ยา ลงมา เรียกวา่ “ เมืองใต้ ” พิษณุโลกแตเ่ ดิมมีชื่อเรียกว่า เมืองสองแคว เน่ืองจากเมืองท่ี ตัง้ อยู่ระหว่างแม่นา้ น่านและ แม่นา้ แควน้ อย ( ที่ตัง้ ของวัด จฬุ ามณีในปัจจบุ นั ) ในสมยั สโุ ขทยั ครัง้ สมเด็จพระธรรมราชาลิไท ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายเมืองสองแคว มาตงั้ อยู่ ณ ท่ีปัจจบุ นั เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๑๙๐๐ และยงั เรียกว่า เมืองสองแควเรื่อยมา ตอ่ มาเปล่ียน ช่ือเป็ นพิษณุโลก ในสมัยกรุงศรีอยุธยา รัชกาลของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เม่ือครัง้ ท่ีเสด็จมา ปกครองเมืองสองแควตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๐๐๖ จนสิน้ รัชกาลในปี พ.ศ. ๒๐๓๑ เมืองพิษณุโลกมีฐานะเป็ น ราชธานีแทนกรุงศรีอยุธยานานถึง ๒๕ ปี ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และเป็ นเมือง ลกู หลวง ซงึ่ กษตั ริย์แหง่ กรุงศรีอยธุ ยาสง่ มหาอปุ ราช หรือพระราชโอรสมาครองเมือง สมเด็จพระนเรศวร มหาราช กษัตริย์ผ้ยู งิ่ ใหญ่ของไทย ก็ทรงมีพระราชสมภพ ณ เมืองนี ้ และเม่ือทรงดารงตาแหน่งมหาอปุ ราช พระองค์ครองเมืองพิษณโุ ลกเชน่ กนั ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ พษิ ณโุ ลกยงั คงเป็นเมืองเอกขนึ ้ ตรงตอ่ กรุงเทพฯ เร่ือยมา ครัน้ ถึงปี พ.ศ. ๒๔๓๗ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั โปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะเมืองพิษณโุ ลกขนึ ้ เป็ นมณฑล เรียกวา่ มณฑลพิษณโุ ลก ตอ่ มาเมื่อยกเลิกการปกครองแบบมณฑลแล้ว พษิ ณโุ ลกจงึ มีฐานะเป็นจงั หวดั เรื่อยมาจนปัจจบุ นั เมืองพิษณโุ ลกจงึ เป็นเมืองหลกั ที่สาคญั ของภาคเหนือตอนลา่ ง เป็ นที่ตงั้ ของหนว่ ย ราชการหลกั ท่ีสาคญั ทงั้ ทางด้านทหาร ตารวจ และทางด้านตลุ าการ ในลกั ษณะของการเป็ นเมืองหลกั ของการปกครอง
สภาพท่วั ไป ๒ _________________________________________________________ จงั หวดั พิษณุโลกอยู่ในเขตพืน้ ท่ีภาคเหนือตอนล่าง มีพืน้ ที่ประมาณ ๑๐,๘๑๕.๘๕๔ ตาราง กิโลเมตร หรือ ๖, ๗๘๙,๙๓๗.๕๐ ไร่ คดิ เป็ นร้อยละ ๖.๓๗ ของพืน้ ท่ีภาคเหนือ และคิดเป็ นร้อยละ ๒.๑ ของพืน้ ท่ีทัง้ ประเทศ ห่างจากกรุงเทพ ฯ โดยทางรถยนต์ประมาณ ๓๗๗ กิโลเมตร และโดยทางรถไฟ ประมาณ ๓๘๙ กิโลเมตร แผนท่จี ังหวัดพษิ ณุโลก มีอาณาเขตติดตอ่ กบั จงั หวดั ใกล้เคยี ง ดงั นี ้ ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กบั อาเภอนา้ ปาด อาเภอพิชยั และอาเภอทองแสนขนั จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั อาเภอเมืองพิจิตร อาเภอสามงา่ ม อาเภอวชริ บารมี และอาเภอสากเหลก็ จงั หวดั พิจติ ร ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอหลม่ สกั อาเภอเขาค้อ อาเภอวงั โป่ ง จงั หวดั เพชรบรู ณ์ และอาเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอศรีสาโรง อาเภอกงไกรลาศ และ อาเภอคีรีมาศ จงั หวดั สโุ ขทยั ทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั เลย และสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
ลักษณะภมู ิประเทศ – ลักษณะภูมอิ ากาศ ๓ _______________________________ จังหวัดพิษณุโลก ตงั้ อยู่ในภาคเหนือตอนล่าง มี ยุทธศาสตร์ทางภูมิศาสตร์ในด้านท่ีตัง้ ซึ่งมีลักษณะเด่น เฉพาะตัว เนื่องจากมีส่วนที่เช่ือมต่อกับภาคกลางกับ ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศ เป็ น จงั หวดั ที่มีลกั ษณะเช่ือมต่อไปยงั ประเทศต่างๆ ในภูมิภาค อินโดจีน โดยมีภูมิประเทศติดต่อกับเทือกเขาท่ีพาดจาก ภาคเหนือ เป็นที่กนั้ แบง่ เขตกบั แขวงไชยบรุ ี ของสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของจงั หวดั พิษณโุ ลก ตวั เมืองพิษณุโลกตงั้ อย่บู นสองฝ่ัง แม่นา้ น่าน ทางตอนเหนือและตอนกลางเป็ นเขตที่ราบสูงและมีขอบเขตภูเขาสูง ด้านตะวันออกและ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ซงึ่ อยใู่ นท้องที่อาเภอวงั ทอง อาเภอวดั โบสถ์ อาเภอชาตติ ระการ และอาเภอ เนนิ มะปราง ทงั้ นีเ้ขตท่ีราบหบุ เขานครไทย และ ท่ีราบหบุ เขาชาตติ ระการด้วย โดยที่หบุ เขานครไทยเป็ น ที่ราบดนิ ตะกอนที่อดุ มสมบรู ณ์ที่มีลกั ษณะเป็นแบบค้งุ กระทะ สว่ นท่ีราบหบุ เขาชาติตระการ มีรูปร่างคล้าย พระจนั ทร์เสีย้ ว เป็ นท่ีราบดินตะกอนท่ีอดุ มสมบรู ณ์เชน่ เดียวกัน พืน้ ท่ีตอนกลางทางใต้เป็ นท่ีราบ และ ตอนใต้เป็ นท่ีราบล่มุ โดยเฉพาะบริเวณลมุ่ แมน่ า้ น่านและแม่นา้ ยม เป็ นยา่ นการเกษตรที่สาคญั ที่สุดของ จงั หวดั ซงึ่ อยใู่ นท้องท่ีอาเภอบางระกา อาเภอเมืองพิษณโุ ลก อาเภอพรหมพริ าม และบางสว่ นของ อาเภอวงั ทอง และอาเภอเนนิ มะปราง ภเู ขาสงู ในเขตจงั หวดั พษิ ณโุ ลก สว่ นใหญ่อยทู่ างตอนกลางของจงั หวดั ได้แก่ เขาชอ่ งลม เขาอโุ มงค์ เขาคนั โซ้ง เขาสมอแครง และเขาฟ้ า ด้านตะวนั ออกเป็ นเทือกเขาตอ่ เนื่องจากตอนใต้ของ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ต่อเนื่องมาทางใต้ติดกบั จงั หวัดเพชรบูรณ์ ในพืน้ ท่ีตงั้ แตอ่ าเภอชาติตระการ และอาเภอ นครไทย อาเภอวงั ทอง และอาเภอเนินมะปราง ลกั ษณะแบง่ แนวเขตจงั หวดั พิษณุโลกกบั จงั หวดั เลยและ เพชรบรู ณ์
๔ ลกั ษณะภูมิอากาศบริเวณจังหวดั พิษณุโลก มีบริเวณความ กดอากาศสงู หรือมวลอากาศเย็นกาลงั ค่อนข้างแรง จากประเทศจีน แผป่ กคลมุ ประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ทาให้บริเวณเทือกเขา และยอดดอย อากาศหนาว ทศั นวิสยั ๘-๑๐ กิโลเมตร ตอนเช้าลดลง เป็ น ๕-๗ กิโลเมตร ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว ๑๐-๒๐ กิโลเมตร/ชว่ั โมง การปกครอง / ประชากร _________________________________________________ จงั หวัดพิษณุโลกมีเขตการปกครอง และจานวนประชากร และการบริหารราชการ ข้อมูลล่าสุด เม่ือธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ดงั นี ้ จานวน / คน ชาย / คน หญิง / คน ความหนาแนน่ คน / ตาราง กม. ๘๖๓,๔๐๔ ๔๒๓,๐๘๙ ๔๔๐,๓๑๕ ๗๙.๘๒ แยกเป็นเขตพืน้ ท่ีการปกครอง อาเภอ ประชากร ท้องถิ่น อบต. ตาบล หมบู่ ้าน (คน) เทศบาลนคร/ เทศบาล ๑๙ ๑๗๓ เทศบาลเมือง ตาบล ๑๑ ๑๔๕ ๗ ๗๗ เมือง ๒๘๖,๖๓๑ ๑/๑ ๕ ๑๔ ๙ ๘๗ ๖ ๗๒ นครไทย ๘๗,๓๕๒ ๐ ๒ ๙ ๑๒ ๑๒๓ ๑๑ ๑๖๘ เนินมะปราง ๕๘,๓๖๔ ๐ ๓ ๕ ๖ ๖๑ ๑๑ ๑๔๒ บางกระทมุ่ ๔๘,๐๒๕ ๐ ๔ ๕ ๙๒ ๑,๐๔๘ ชาตติ ระการ ๔๑,๑๐๒ ๐ ๑ ๖ พรหมพริ าม ๘๗,๗๒๘ ๐ ๒ ๑๒ วงั ทอง ๑๒๑,๒๕๔ ๐ ๑ ๑๑ วดั โบสถ์ ๓๗,๘๐๒ ๐ ๑ ๖ บางระกา ๙๕,๑๔๖ ๐ ๕ ๘ รวม ๘๖๓,๔๐๔ ๒ ๒๔ ๗๖ ประชากรเฉพาะเขตเทศบาลนครพิษณโุ ลก จานวน ๖๙,๙๐๖ คน ท่ีมา . ทีท่ าการปกครองจงั หวดั พิษณโุ ลก ธ.ค. ๒๕๕๘
๕ การบริหารราชการ ๑.การบริหารสว่ นภมู ิภาค สว่ นราชการสงั กดั สว่ นภมู ิภาค ๓๔ แหง่ ๒. การบริหารราชการสว่ นกลาง สว่ นราชการสงั กดั สว่ นกลาง ๘๐ แหง่ ๓. การบริหารสว่ นท้องถ่ิน มีสว่ นราชการสว่ นท้องถิ่น - องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ๑ แหง่ - เทศบาลนคร ๑ แหง่ - เทศบาลเมือง ๑ แหง่ - เทศบาลตาบล ๒๔ แหง่ - องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ๗๖ แหง่ หนว่ ยราชการหลกั อ่ืน เชน่ กองทพั ภาคที่ ๓ สานกั งานอธิบดีอยั การเขต ๖ กองบญั ชาการ ตารวจภธู รภาค ๖ ศาลปกครองพิษณุโลก สานกั งาน ป.ป.ช. สานกั ตรวจสอบพเิ ศษ ภาค ๑๐ สภาพสังคม ___________________________________________________ การศกึ ษา จงั หวดั พิษณโุ ลก มีจานวนโรงเรียน ๕๐๗ แหง่ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พืน้ ฐาน ๔๗๕ แหง่ สานกั บริหารงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ๑๙ แห่ง กรมส่งเสริมการ ปกครองสว่ นท้องถ่ิน ๗ แหง่ อื่นๆ ๖ แหง่ มีจานวนครู ๗,๒๔๗ คน จานวนนกั เรียน ๑๑๙,๗๓๑ คน จานวนสถานศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา จานวน ๑๔ แห่ง จาแนกเป็ น อาชีวศกึ ษา ๘ แหง่ อดุ มศกึ ษา ๖ แหง่ ตาราง จานวนครแู ละนักเรยี น จาแนกตามสงั กัด เปน็ รายอาเภอ สังกดั อำเภอ รวม สนง.คณะกรรมการ สานกั บริหารงาน กรมส่งเสริมการ อน่ื ๆ ส่งเสริมการศึกษา คณะกรรมการ ปกครองทอ้ งถิ่น เมืองพษิ ณุโลก ครู นกั เรียน ส่งเสริมการศึกษา ครู นกั เรียน นครไทย ๒,๙๖๑ ๕๐,๑๒๒ ข้นั พ้ืนฐาน ครู นกั เรียน ๒๒๙ ๒,๔๓๐ ชาติตระการ ๖๕๙ ๑๑,๒๔๒ เอกชน ๑๙๖ ๓,๖๙๓ บางระกา ๒๘๕ ๗,๔๗๑ ครู นกั เรียน ครู นกั เรียน -- -- บางกระทุ่ม ๗๐๑ ๑๐,๘๔๗ ๑,๖๙๑ ๒๘,๓๒๒ ๘๔๕ ๑๕,๖๗๗ -- -- พรหมพิราม ๓๒๔ ๔,๓๙๐ ๖๑๕ ๑๐,๓๓๖ ๔๔ ๙๐๖ -- -- วดั โบสถ์ ๖๑๑ ๘,๖๐๑ ๒๘๕ ๗,๔๗๑ -- -- -- วงั ทอง ๓๖๑ ๕,๒๐๔ ๗๐๑ ๑๐,๘๔๗ -- -- -- เนินมะปราง ๙๔๗ ๑๔,๑๐๘ ๓๒๔ ๔,๓๙๑ -- -- -- ๓๙๘ ๗,๗๔๕ ๖๐๒ ๗,๖๙๕ ๙ ๙๐๖ -- -- ๓๓๘ ๓,๐๗๒ ๒๓ ๒,๑๓๒ -- -- ๙๓๘ ๑๓,๘๖๐ ๙ ๒๔๘ ๓๘๑ ๗,๓๓๖ ๑๗ ๔๐๙ รวม ๗,๒๔๗ ๑๑๙,๗๓๑ ๕,๘๗๕ ๙๓,๓๓๐ ๙๔๗ ๒๐,๒๗๘ ๑๙๖ ๓,๖๙๓ ๒๒๙ ๒,๔๓๐
๖ ตาราง จานวนครูและนักเรียน จาแนกตามระดับการศึกษาที่ทาการสอน เปน็ รายอาเภอ ระดบั การศึกษาท่ีทาการสอน อำเภอ รวม ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา ครู นกั เรียน ครู นกั เรียน ครู นกั เรียน ครู นกั เรียน ๑,๓๘๘ ๒๑,๘๙๑ ๒๙๐ ๔,๐๕๑ เมืองพษิ ณุโลก ๒,๙๖๑ ๖๑,๘๕๒ ๔๖๗ ๗,๔๖๙ ๑,๑๐๖ ๒๐,๗๖๒ ๑๐๐ ๒,๗๐๕ ๒๔๘ ๓,๔๕๗ นครไทย ๖๕๙ ๑๓,๓๓๕ ๓๙ ๑,๙๑๓ ๓๓๐ ๕,๒๗๘ ๘๑ ๑,๒๘๓ ๑๘๒ ๓,๐๔๑ ชาติตระการ ๒๘๕ ๘,๘๗๑ ๒๒ ๑,๒๖๔ ๑๖๓ ๓,๕๐๒ ๑๒๐ ๑,๗๑๕ ๓๑๙ ๔,๕๕๑ บางระกา ๗๐๑ ๑๒,๖๑๘ ๑๓๘ ๑,๘๐๙ ๓๑๕ ๕,๕๘๑ ๑๒๑ ๒,๙๓๕ ๒,๘๔๙ ๔๕,๖๒๙ บางกระทมุ่ ๓๒๔ ๕,๐๒๑ ๖๗ ๖๙๕ ๑๗๖ ๒,๔๑๓ พรหมพิราม ๖๑๑ ๑๐,๐๙๖ ๔๔ ๑,๖๒๓ ๓๘๕ ๓,๙๓๗ วดั โบสถ์ ๓๖๑ ๖,๐๔๕ ๑๗ ๙๔๕ ๒๒๔ ๒,๕๔๔ วงั ทอง ๙๔๗ ๑๖,๔๙๔ ๑๔๘ ๒,๓๒๐ ๔๘๐ ๗,๒๓๗ เนินมะปราง ๓๙๘ ๙,๒๖๕ ๗๑ ๑,๑๕๗ ๒๐๖ ๓,๖๕๓ รวม ๗,๒๔๗ ๑๔๓,๕๙๗ ๑,๐๑๓ ๑๙,๑๙๕ ๓,๓๘๕ ๕๔,๙๐๗ การสาธารณสุข จงั หวดั พิษณโุ ลกมีสถานพยาบาล ซงึ่ ประกอบด้วย โรงพยาบาลรัฐบาล ๑๒ แหง่ โรงพยาบาลเอกชน ๖ แหง่ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล ๑๔๕ แหง่ คลนิ ิก ๓๒๘ แหง่ จานวนเตียงสาหรับผ้ปู ่ วย ๒,๒๘๒ เตียง บคุ ลากรทางการแพทย์ มีจานวน - แพทย์ ๒๑๐ คน - พยาบาลวิชาชีพ ๑,๐๗๐ คน - ทนั ตแพทย์ ๖๒ คน - เภสชั กร ๑๐๑ คน
๗ สาธารณูปโภค - ไฟฟ้ า จงั หวดั พิษณุโลกมีจานวนผ้ใู ช้ไฟฟ้ า จานวน ๓๖๕,๖๐๙ ราย จาหนา่ ยกระแสไฟฟ้ า ใช้ทงั้ สิน้ ๑,๗๖๕,๗๔๕,๐๐๐ ล้านกิโลวตั ต์ / ชวั่ โมง จาแนกเป็ น ที่อยู่อาศัย ๓๙๗,๘๒๗,๐๐๐ ล้าน กิโลวตั ต์ / ชวั่ โมง สถานธุรกิจและอุตสาหกรรม ๖๓๖,๙๘๔,๐๐๐ ล้านกิโลวตั ต์ / ชว่ั โมง สถานที่ราชการ และสาธารณะ ๑๖๔,๗๕๐,๐๐๐ ล้านกิโลวตั ต์ / ชวั่ โมง อ่ืนๆ ๑๔,๗๓๗,๘๗๐ ล้านกิโลวตั ต์ / ชวั่ โมง - ประปา จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมีอตั รากาลงั การผลิต ๔๐,๙๕๓,๖๐๐ ลกู บาศก์เมตร/ปี ปริมาณนา้ ที่ ผลิต ได้ ๓๑,๑๖๒,๘๑๒ ลูกบาศก์เมตร/ปี ปริมาณนา้ ที่จาหน่ายแก่ผู้ใช้ ๑๘,๕๔๕,๕๓๒ ลูกบาศก์เมตร/ปี - รถไฟ มีขบวนรถโดยสารผา่ น ขนึ ้ - ลอ่ ง จากกรุงเทพฯ – เชียงใหม่ เชียงใหม่ – กรุงเทพ - ทางรถยนต์ มีทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงจังหวดั และถนนสายตา่ งๆ ช่วยให้ประชาชน สามารถเดนิ ทางภายในอาเภอ และระหวา่ งจงั หวดั ได้สะดวก - ทางอากาศ มีทา่ อากาศยานพาณิชย์ ๑ แหง่ มีเท่ียวบนิ ดอนเมือง–พษิ ณโุ ลก, พษิ ณโุ ลก - ดอนเมือง , พิษณโุ ลก - เชียงใหม่ , เชียงใหม่ - พิษณโุ ลก - ทางนา้ มี ๓ สาย คอื แมน่ า้ นา่ น , แมน่ า้ ยม และแม่นา้ แควน้อย สามารถใช้ได้เฉพาะในชว่ ง ฤดนู า้ หลากเทา่ นนั้ - ทางด้านการไปรษณีย์ จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมีที่ทาการไปรษณีย์กระจายอยทู่ กุ อาเภอรวม ๑๕ แห่ง และมีเคาน์เตอร์ไปรษณีย์ ๓ แห่ง คือ เคาน์เตอร์บริการไปรษณีย์ มหาวิทยาลยั นเรศวร เคาน์เตอร์บริการไปรษณีย์บรมไตรโลกนาถ และ เคาน์เตอร์บริการไปรษณีย์สี่แยกอินโดจีน และไปรษณีย์ เคล่ือนท่ี ๑ แหง่ - ทางด้านโทรศัพท์ จงั หวดั พิษณโุ ลกมีชมุ สายโทรศพั ท์ ๑๒๕ แหง่ จานวนเลขหมายโทรศพั ท์ ท่ีมีทงั้ สนิ ้ ๗๙,๕๙๔ เลขหมาย เลขหมายโทรศพั ท์ท่ีมีผ้เู ชา่ ๓๙,๙๔๗ เลขหมาย - ศาสนา จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมีประชากรที่นบั ถือศาสนาตา่ ง ๆ โดยมีประชากรที่นบั ถือ ศาสนาพทุ ธ ร้อยละ ๙๘.๙๓ ศาสนาคริสต์ ร้อยละ ๐.๘๓ ศาสนาอสิ ลาม ร้อยละ ๐.๑๗ และศาสนาอื่นๆ ร้อยละ ๐.๐๗ จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมีศาสนสถาน จานวน ๘๖๓ แหง่ จาแนกเป็น - วดั จานวน ๕๘๕ วดั - สานกั สงฆ์ จานวน ๒๔๖ แหง่ - มสั ยิด จานวน ๑ แหง่ - โบสถ์คริสต์ จานวน ๓๑ แหง่
สภาพทางเศรษฐกจิ ๘ _______________________________________________ จงั หวดั พิษณุโลกมีศกั ยภาพเป็ นศนู ย์กลางการพฒั นาการค้าของกล่มุ จงั หวดั ภาคเหนือตอนล่าง ทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การบริการ ทงั้ นี ้ จากข้อมูลรายงานของสานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี ๒๕๕๗ จังหวัดพิษณุโลก มีรายได้เฉลี่ยต่อหวั (Per Capita GPP) ๑๐๒,๐๖๐ บาท จดั อยใู่ นลาดบั ที่ ๗ ของภาค และลาดบั ที่ ๓๗ ของประเทศ ตารางผลติ ภัณฑ์จังหวัดตามราคาประจาปี จาแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ สาขาการผลติ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ Economic activities ภาคเกษตร ๑๗,๕๑๔ ๑๙,๒๒๓ ๓๑,๖๑๓ ๓๖,๕๓๔ Agriculture เกษตรกรรม การลา่ สตั วแ์ ละการปา่ ไม้ ๑๗,๓๐๑ ๑๘,๙๙๕ ๓๑,๓๘๓ ๓๖,๒๖๕ Agriculture, hunting and forestry การประมง Fishing ๒๑๓ ๒๒๘ ๒๓๐ ๒๖๙ ภาคนอกเกษตร ๔๔,๓๙๒ ๔๖,๔๐๒ ๕๔,๑๘๒ ๕๕,๘๘๙ Non- Agriculture การทาเหมืองแรแ่ ละเหมอื งหนิ ๖๘ ๗๘ ๙๙ ๑๒๖ Mining and quarrying การผลิตอุตสาหกรรม Manufacturing การไฟฟ้า ก๊าซและการประปา ๕,๕๔๑ ๖,๕๘๖ ๖,๗๔๑ ๕,๘๒๕ Electricity gas and water supply การกอ่ สร้าง ๑,๐๖๕ ๑,๐๗๕ ๑,๒๕๘ ๑,๓๕๔ Construction การขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซม ๓,๙๖๐ ๓,๕๖๘ ๔,๔๗๔ ๓,๙๘๒ Wholesale and retail trade, repair ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใชส้ ว่ น ๗,๘๙๑ ๗,๖๘๐ ๑๐,๔๗๔ ๑๑,๒๘๗ of motorcycles and personal บคุ คลและของใชใ้ นครวั เรือน and household goods ๕๑๔ ๕๘๑ ๗๓๒ ๘๑๓ โรงแรมและภัตตาคาร ๑,๖๒๙ ๑,๗๑๗ ๑,๗๘๒ ๑,๖๘๔ Hotels and restaurants การขนส่ง สถานที่เกบ็ สินคา้ และการ Transport, storage and คมนาคม ๓,๗๘๓ ๔,๐๒๒ ๔,๗๕๘ ๕,๘๖๒ communication ตัวกลางทางการเงนิ ๓,๑๐๔ ๒,๙๗๐ ๓,๘๑๑ ๔,๓๓๔ Financial intermediation บริหารดา้ นอสังหารมิ ทรัพย์ การให้ Real estate, renting and business เช่าและบรกิ ารทางธุรกิจ ๗,๖๓๔ ๘,๐๖๕ ๘,๕๐๕ ๘,๖๓๔ activities การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ และการ Public administration and ปอ้ งกนั ประเทศ รวมทั้งการประกัน ๖,๒๒๕ ๖,๘๓๓ ๘,๐๒๗ ๘,๑๗๐ defence; compulsory social สังคมภาคบงั คบั ๒,๓๕๐ ๒,๔๘๐ ๒,๖๖๓ ๒,๗๖๐ security การศึกษา Education การบริการดา้ นสุขภาพ และงานสังคม ๕๘๐ ๖๕๘ ๖๙๙ Health and social work สงเคราะห์ การบรกิ ารชุมชน สงั คม และการ ๘๘ ๘๙ ๑๕๙ ๗๖๗ Other community, social and Personal service activities บรกิ าร สว่ นบคุ คลอ่ืนๆ ๒๙๑ Private households with ลกู จา้ งในครวั เรอื นสว่ นบุคคล Employed persons ผลติ ภณั ฑจ์ งั หวดั ๖๑,๙๐๖ ๖๕,๖๒๕ ๘๕,๗๙๕ ๙๒,๔๒๓ Gross provincial product (GPP) มูลคา่ ผลติ ภณั ฑ์เฉลยี่ ต่อคน (บาท) ๖๗,๘๕๘ ๗๒,๐๘๖ ๙๔,๔๗๙ ๑๐๒,๐๖๐ GPP Per capita (Bath) ประชากร (๑,๐๐๐ คน) ๙๑๒ ๙๑๐ ๙๐๘ ๙๐๖ Population (๑,๐๐๐ persons) ทม่ี า: สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
๙ ด้านการเกษตร จงั หวดั พิษณุโลกมีลกั ษณะทางกายภาพที่เหมาะสมสาหรับการทาการเกษตร โดยเฉพาะพืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด มนั สาปะหลงั และถ่วั เหลือง สว่ นการทานา มีทงั้ นาปี และนาปรัง โดยจะทาในลกั ษณะ นาดา นาหวา่ น นาหวา่ นตม ข้าวไร่ ด้านพชื พืชเศรษฐกิจท่ีสาคญั ได้แก่ ข้าว มนั สาปะหลงั ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ มะมว่ ง ยางพารา มีเนือ้ ที่ปลกู ข้าวเจ้า ๒,๕๑๓,๗๒๓ ไร่ มีพืน้ ท่ีสาหรับเก็บเก่ียว ๒,๔๘๐,๙๗๔ ไร่ ผลผลิตท่ีได้จากการเก็บ เกี่ยว ๑,๖๐๘,๕๙๑.๙๐ ตนั ผลผลติ เฉล่ีย ๑,๘๕๗.๘๑ กิโลกรัมตอ่ ไร่ - พืชไร่ท่ีนยิ มปลกู กนั มาก เชน่ ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ มนั สาปะหลงั อ้อยโรงงาน ถั่วเหลือง ถว่ั เขียว ผิวมนั ถั่วลิสง ฯลฯ ส่วนไม้ผลและไม้ยืนต้นท่ีนิยมปลกู เชน่ มะม่วง ลาไย มะขามหวาน กล้วยนา้ ว้า สบั ปะรด ฯลฯ สาหรับพืชผกั ที่นิยมปลกู กนั มาก ได้แก่ ถว่ั ฝักยาว คะน้า ผกั บ้งุ จีน กวางต้งุ ข้าวโพดหวาน เป็ นต้น ด้านปศุสัตว์ การทาปศุสัตว์ ได้แก่การเลีย้ งโคเนือ้ กระบือ สุกร และสัตว์ปี ก ปี ๒๕๕๘ มี ผลผลิตโคเนือ้ มีมูลค่า ๑,๐๑๖ ล้านบาท ไข่มีมูลค่า ๘๗ ล้านบาท จานวนสัตว์เศรษฐกิจที่เลีย้ ง ๒,๐๕๑,๐๗๔ ตวั และมลู คา่ สตั ว์เศรษฐกิจ ๒,๖๗๔,๒๕๒.๘๖ ล้านบาท ด้านประมง การทาประมงในจงั หวดั พิษณโุ ลก มี ๒ ลกั ษณะ คือ การจบั สตั ว์นา้ ตามธรรมชาติ ซง่ึ จงั หวดั พิษณุโลก เป็ นท่ีลมุ่ แหล่งเก็บนา้ และการเพาะเลีย้ งสตั ว์นา้ โดยปี ๒๕๕๘ มีมลู คา่ สตั ว์นา้ ทาง ธรรมชาติ ๑๑,๒๔๕ ตนั มูลค่า ๒๙๗ ล้านบาท การเพาะเลีย้ งสัตว์นา้ บนเนือ้ ท่ี ๑๒,๓๕๕.๗๑ ไร่ ปริมาณการจบั สตั ว์นา้ จืด ๔,,๕๘๕,๒๐๓.๖๘ กิโลกรัม มลู คา่ ๒๒๐,๙๘๒๕๗๗.๔๐ บาท
๑๐ ด้านอุตสาหกรรม จงั หวดั พิษณโุ ลก มีโรงงานอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเลก็ และมีโรงสีข้าว มีจานวนมากท่ีสดุ สถานประกอบการอตุ สาหกรรมในปี ๒๕๕๗ มีจานวนทงั้ สิน้ ๗๒๑ สถานประกอบการ มีจานวนเงินทนุ ทงั้ หมด ๒๓,๐๒๒,๐๓๐,๙๓๙ บาท โดยสถานประกอบการอตุ สาหกรรมในอาเภอเมืองมี จานวน ๓๙๒ สถานประกอบการ จานวนเงินทุน ๘,๘๖๓,๒๘๖,๒๖๘ บาท สถานประกอบการ อตุ สาหกรรมในอาเภอพรหมพิราม มีจานวน ๗๔ แหง่ จานวนเงินทนุ ๒,๐๗๖,๑๓๑,๕๖๖ บาท และสถาน ประกอบการอตุ สาหกรรมในอาเภอวงั ทอง มีจานวน ๗๑ แหง่ จานวนเงินทนุ ๔,๓๙๔,๖๐๗,๔๐๕ บาท ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม __________________________ ท่ดี นิ จงั หวดั พิษณุโลก มีพืน้ ที่ ๖,๗๕๙,๙๐๙ ไร่ โดยแบง่ พืน้ ที่ถือครองท่ีดิน และป่ าไม้ โดยมีการใช้ ประโยชน์ เป็นที่อยอู่ าศยั ๑๑๔,๐๕๙ ไร่ ท่ีนา ๑,๗๗๘,๐๕๖ ไร่ พืชไร่ ๗๒๗,๒๓๘ ไร่ ไม้ผลไม้ยืนต้น ๓๔๕,๕๑๙ ไร่ สวนผกั และไม้ดอก ๑๔,๘๕๕ ไร่ ทงุ่ หญ้าเลีย้ งสตั ว์ ๓,๕๘๘ ไร่ ท่ีอ่ืนๆ ๑๙๑,๙๗๖ ไร่ ที่รกร้างวา่ งเปลา่ ๑๔,๕๗๒ ไร่ ที่นอกการเกษตร ๑,๒๑๗,๖๑๔ ไร่ ป่ าไม้ ๒,๔๑๐,๖๖๓ ไร่ ทรัพยากรป่ าไม้ จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมีพืน้ ที่ป่ าสมบรู ณ์ ๒,๔๘๔,๕๖๘.๗๕ ไร่ คดิ เป็น ๓๖.๗๖ % ลกั ษณะสว่ นใหญ่เป็น ป่ าเบญจพรรณ ผสมป่ าดบิ แล้ง ไม้ที่สาคญั ได้แก่ ไม้สกั ไม้ประดู่ ไม้แดง ไม้เตง็ ไม้รัง ฯลฯ ป่ าสงวนแหง่ ชาตทิ งั้ หมด จานวน ๑๓ ป่ า ป่ าเตรียมการสงวน อีก ๒ แหง่ มีอทุ ยานแหง่ ชาติและวนอทุ ยาน จานวน ๖ แหง่ คือ อทุ ยานแหง่ ชาติทงุ่ แสลงหลวง ภหู ินร่องกล้า นา้ ตกชาติ ตระการ ภสู อยดาว แกง่ เจ็ดแคว และวนอทุ ยานเขาพนมทอง มีเขตรักษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่ า ๒ แหง่ คอื เขตรักษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่ า ภู เมี่ยง–ภทู อง และ ภขู ดั และเขตห้ามลา่ สตั ว์ป่ า ๓ แหง่ คือ ถา้ ผาทา่ พล เขาน้อย – เขาประดู่ และ หนองนา้ ขาว อ.บางระกา สภาพป่ าในปัจจุบนั มีการปลกู ไม้สกั –ประดู่ ยาง ยางพารา ไผ่ ยูคาลิปตสั ในที่ดินของเอกชน เป็ นจานวนมาก มีการตดั ไปใช้สอย และจาหน่ายเป็ นจานวนมาก แต่ก็ได้มีการส่งเสริมให้มีการปลูก แจกจา่ ยกล้าไม้จากภาครัฐ สภาพป่ าไม้ในท้องที่ จงึ คอ่ นข้างจะสมบรู ณ์
๑๑ ทรัพยากรนา้ จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมีแหลง่ นา้ ผวิ ดนิ ประกอบด้วยลมุ่ นา้ ๒ ลมุ่ นา้ คือ ลมุ่ นา้ ยม และลมุ่ นา้ น่าน โดย มีแมน่ า้ และลมุ่ นา้ สาขา ที่สาคญั ได้แก่ ๑. แม่นา้ ยม เกิดจากเทือกเขาสูงตอนเหนือในเขตสนั เขาผีปันนา้ ไหลผ่านจงั หวดั แพร่ สุโขทยั ผา่ นเข้าพืน้ ท่ีทางตะวนั ตกของจงั หวดั กอ่ นไหลผา่ นอาเภอบางระกา จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ไปสจู่ งั หวดั พิจิตร ๒. แม่นา้ น่าน ต้นกาเนิดมาจากภูเขาสูง ทางตอนเหนือของประเทศไทย บริเวณภเู ขาผีปันนา้ ทิวเขาหลวงพระบาง และทิวเขาเพชรบูรณ์ ไหลมา ทางตอนใต้ผ่านจังหวัดน่าน อุตรดิตถ์ เข้ าเขต จงั หวดั พษิ ณโุ ลกทางอาเภอพรหมพริ าม ไหลคดเคีย้ ว ผ่านอาเภอเมืองพิษณุโลก ในแนวเหนือใต้ไปทาง อาเภอบางกระทมุ่ ไหลผา่ นไปจงั หวดั พจิ ิตร ๓. แม่นา้ แควน้อย มีต้นกาเนิด บริเวณทิวเขาหลวงพระบาง และทิวเขา เพชรบรู ณ์ ตอ่ เขตภูเขาสูงจงั หวดั อุตรดิตถ์ ไหลผ่านท่ีราบหบุ เขาชาติตระการ บรรจบ กับลาห้วยต่างๆ ในพืน้ ท่ีภูเขาสูงในเขต อาเภอชาตติ ระการ ไหลผา่ นท่ีราบลมุ่ แมน่ า้ นา่ น ไหลผา่ นอาเภอวดั โบสถ์ อาเภอพรหม พิราม บรรจบกับแม่นา้ น่านในเขตอาเภอ เมืองพษิ ณโุ ลก โดยแมน่ า้ แควน้อยมีลาคลองสาขา เชน่ ลานา้ ภาค คลองโป่ งนก คลองหางกา เป็นต้น ๔. แม่นา้ วังทอง มีต้นกาเนิดจากภเู ขาสงู ด้านตะวนั ออกเฉียงใต้ของจงั หวดั พิษณุโลก อย่ใู นกลมุ่ ทวิ เขาเพชรบรู ณ์ ทางอาเภอนครไทย อาเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก กบั อาเภอหลม่ สกั จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ต้นนา้ บริเวณนีม้ ีลาห้วย ๒ สาย เรียกว่า คลองเข็กน้อย และคลองเข็กใหญ่ ไหลมารวมกันเลียบถนนสาย พิษณโุ ลก - หลม่ สกั ผา่ นอาเภอวงั ทองเข้าสอู่ าเภอเมืองพษิ ณโุ ลก ๕. แม่นา้ เหือง มีต้นกาเนิดจากภูเขาสงู ในเขตอาเภอชาติตระการ บริเวณชายแดนไทย – ลาว ไหลวกวนแนวชายแดน ไปสแู่ มน่ า้ โขงท่ีอาเภอนาแห้ว จงั หวดั เลย นอกจากนี ้ในพืน้ ท่ีจงั หวดั พิษณโุ ลกมีคลองท่ีสาคญั เชน่ คลองบางแก้ว ในอาเภอบางระกา คลอง โป่ งนก อาเภอพรหมพิราม คลองห้วยผึง้ คลองไทรน้อย คลองบ้านมงุ คลองชมพู คลองวงั ยาง คลอง ห้วยไร่ ในพืน้ ท่ีอาเภอเนินมะปราง
๑๒ ทรัพยากรแร่ ธาตุ แร่ธาตทุ ่ีสาคญั ของจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ดงั นี ้ ๑. การขดุ ทราย ในเขตอาเภอบางระกา เพื่อการก่อสร้าง ๒. แร่นา้ มนั บริษัทไทยเซลล์ประเทศไทยสมั ปทานในเขตอาเภอลานกระบือ จงั หวดั กาแพงเพชร ซงึ่ ครอบคลมุ อาเภอบางระกาจงั หวดั พิษณโุ ลกด้วย ๓. เหมืองแร่หิน ท่ีตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปรางโดย หจก.ดาวศุภกิจ ทาเหมืองแร่หิน อตุ สาหกรรมชนดิ หนิ ปนู เพ่ืออตุ สาหกรรมก่อสร้าง รัฐเก็บเงินคา่ ภาคหลวงได้ ๓,๔๖๐,๐๐๐ บาท ๔. แร่ทองคา บริษัทรัชภมู ิไมน่ิงจากัด สารวจแร่ทองคาเพื่อประโยชน์ในการศกึ ษาวิจยั ในท้องที่ ตาบลบ้านมงุ , ตาบลวงั ยาง, อาเภอเนนิ มะปราง ๕. ปิ โตรเลียม กรมพลงั งาน โดยบริษัทวินซ่าออยด์ จากดั สารวจปิ โตเลียมเพ่ือประโยชน์ในการ ศกึ ษาวจิ ยั ในท้องที่อาเภอวดั โบสถ์ วงั ยาง นครไทย และชาตติ ระการ การเมือง / การเลือกตัง้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร / สมาชิกวุฒสิ ภา _________ จงั หวดั พิษณโุ ลก แบง่ เขตเลือกตงั้ ออกเป็น ๕ เขต (มีสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร จานวน ๕ คน สมาชิกสภาวฒุ ิสภา จานวน ๑ คน) ดงั นี ้ เขต ๑ ได้แก่ อาเภอเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย ๙ ตาบล คือ เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาล เมืองอรัญญิก วดั จนั ทร์ ตาบลบ้านคลอง ตาบลพลายชมุ พล ตาบลทา่ ทอง บงึ พระ วงั นา้ คู้ และวดั พริก เขต ๒ ได้แก่ อาเภอพรหมพิรามทงั้ หมดและอาเภอเมืองพิษณโุ ลก ๙ ตาบล คือ ตาบลไผข่ อดอน จอมทอง มะขามสงู ปากโทก บ้านกร่าง เทศบาลตาบลหวั รอ สมอแข ดอนทอง และบ้านป่ า เขต ๓ ได้แก่ อาเภอวงั ทองและอาเภอเนินมะปรางทงั้ หมด เขต ๔ ได้แก่ อาเภอบางระกา อาเภอบางกระท่มุ ทงั้ หมด และอาเภอเมืองพิษณโุ ลก ๒ ตาบล คือ ทา่ โพธ์ิและงิว้ งาม เขต ๕ ได้แก่ อาเภอนครไทย อาเภอวดั โบสถ์และอาเภอชาตติ ระการทงั้ หมด
ประเพณี วัฒนธรรม ๑๓ ____________________________________________ ประเพณีการแข่งเรือยาว เป็นเอกลกั ษณ์ อยา่ งหนงึ่ ของชาวจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ท่ีได้ยดึ ถือมา เป็นเวลาช้านานจนกระทงั่ ปัจจบุ นั โดยจะจดั งาน ประมาณเดือนกนั ยายนของทกุ ปี ท่ีบริเวณแมน่ า้ นา่ น หน้าวดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร ในงานนีจ้ ะมี การประกวดขบวนเรือ การแขง่ ขนั เรือยาวประเพณี และการประดบั ขบวนเรือตา่ งๆ สวยงาม นา่ ชม โดยมี เทศบาลนครพิษณโุ ลก เป็นผ้จู ดั งาน ประเพณีปักธงชัย เป็ นประเพณีดงั้ เดมิ ของชาวอาเภอนครไทย จงั หวดั พิษณโุ ลก โดยชาวนครไทยมีความเช่ือวา่ อาเภอนครไทย คือเมืองบางยางใน อดีต ซ่ึงพ่อขนุ บางกลางหาว ใช้เป็ นที่รวบรวมไพร่พลเพื่อขบั ไล่ขอม ในการ ตอ่ ส้คู รัง้ นนั้ พอ่ ขนุ บางกลางหาวได้รับชยั ชนะ จึงทรงเอาผ้าคาดเอวผกู ปลาย ไม้ปักไว้บนยอดเขาช้างล้วง เพ่ือเป็ นอนุสรณ์ในชยั ชนะ ชาวนครไทยจึงได้ ยึดถือเป็ นประเพณีในวนั ขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ ของทกุ ปี ชาวนครไทยจะ ร่วมกันทอผืนธงผ้าฝ้ ายและนาไปยงั เขาช้างล้วงเพื่อปักธงชัย ในงานจะมี กิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ ประกวดแหธ่ ง การแขง่ ขนั ผ้พู ชิ ติ เขาช้างล้วง การประกวด ธิดาปักธง โดยอาเภอนครไทย เป็นผ้จู ดั งาน ประเพณีสรงนา้ พระพุทธชินราช เป็ นประเพณี ท่ีชาวพิษณุโลกพากันมาสรงนา้ พระพุทธชินราช ซ่ึงเป็ น พระพทุ ธรูปสาคญั คบู่ ้านคเู่ มือง ถือเป็ นท่ีพ่งึ ทางใจ และเป็ น สิริมงคลในวนั สงกรานต์ ซึ่งงานจะจดั ตรงกบั วนั สงกรานต์ วนั ท่ี ๑๓ – ๑๕ เมษายนของทกุ ปี วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหารเป็นผ้จู ดั งาน
๑๔ ประเพณีการเล่นคอน หรือ อิน้ คอน เป็ นการเลน่ ระหวา่ ง หนุ่มสาว ท่ีโยนลูกช่วงให้ แก่กัน พร้ อมกับร้ องราทาเพลง เทศกาลท่ีนิยมเล่น คือ หลงั จากเก็บเก่ียวข้าวในนาเรียบร้อย แล้ว เริ่มประมาณเดือน ๔ – ๕ ของทกุ ปี การละเล่นพืน้ บ้านมังคละ “มงั คละ” เป็ นดนตรี พืน้ บ้านเก่าแก่ของจงั หวัดพิษณุโลก ประกอบด้วยอุปกรณ์ ดงั นี ้ กลองมังคละ กลองสองหน้า ฆ้อง ปี่ ฉิ่ง ฉาบ วง ดนตรีมงั คละนี ้ ชาวจังหวดั พิษณโุ ลกใช้เลน่ ไม่วา่ จะเป็ นงาน มงคล หรือ อวมงคล เพลงท่ีใช้เล่นมีหลายจังหวะและลีลา เช่น เพลงนมยาน กระทกแป้ ง เพลงแพะชนแกะ เป็ นต้น ตอ่ มาศนู ย์วฒั นธรรมจงั หวดั พิษณุโลก ได้จดั ให้มีการแสดง ระบาประกอบดนตรีมงั คละ การคมนาคม /การขนส่ง ____________________________________________ การเดนิ ทางมายงั จงั หวดั พษิ ณโุ ลก สามารถเลือกรูปแบบของการเดนิ ทางได้หลากหลาย ดงั นี ้ รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทาง หลวงหมายเลข ๑ (พหลโยธิน) ถึง วงั น้อยแยก เข้าทางหลวงหมายเลข ๓๒ ผ่านอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัย น า ท แ ล้ ว เ ลี ย้ ว ข ว า ไ ป ต า ม เส้นทางสายตาคลี – ตากฟ้ า เลีย้ ว ซ้ายเข้าสทู่ างหลวงหมายเลข ๑๑ ไป อีก ๑๖๐ กิโลเมตร เลีย้ วซ้ายเข้าทาง หลวงหมายเลข ๑๒ ไปอีก ๑๗ กิโลเมตร ถึงพิษณุโลกรวม ระยะทางประมาณ ๔๕๐ กิโลเมตร
๑๕ หรือ จากชยั นาทยงั ไมต่ ้องเลีย้ วขวาไปตาคลี–ตากฟ้ า แตข่ บั ตอ่ ไปนครสวรรค์ จากนครสวรรค์ใช้ เส้นทางหมายเลข ๑๑๗ ตรงสพู่ ิษณโุ ลก รวมระยะทาง ๓๓๖ กิโลเมตร หากเดนิ ทางจากจงั หวดั ตากใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๒ ผา่ นเข้าสายสโุ ขทยั - พิษณโุ ลก ระยะทาง ๑๓๘ กิโลเมตร และทางสายเดียวกนั จากขอนแก่น ๓๙๑ กิโลเมตร จากแยกเพชรบรู ณ์หล่มสกั มา พษิ ณโุ ลก ระยะทางราว ๑๐๐ กิโลเมตร เส้นทางนีผ้ า่ นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวสองข้างทางหลายแหง่ รถโดยสารประจาทาง จงั หวดั พิษณโุ ลกมีสถานีขนสง่ ๒ แหง่ คอื - สถานีขนส่งผ้โู ดยสาร (แห่งเดมิ ) มีรถโดยสารให้บริการจานวน ๓๙ เส้นทาง เป็ นรถท่ีมีจดุ ต้น ทาง - ปลายทางจงั หวดั พิษณโุ ลก โทร.๐๕๕-๒๑๒๐๙๐ - สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัด พิษณุโลก แห่งท่ี ๒ (สี่แยกอินโดจีน) มีรถ โดยสารให้บริการจานวน ๒๐ เส้นทาง เป็ นรถ ท่ีมีเส้นทางผ่านจังหวัดพิษณุโลก (ต้นทาง - ปลายทางจงั หวดั อ่ืนๆ) โทร. ๐๕๕-๙๘๖๑๘๗ รถประจาทางปรับอากาศ ติดต่อ พิษณโุ ลกยานยนต์ทวั ร์ โทร.๐๕๕-๓๐๒๐๒๑ หรือ ๐๕๕-๓๐ ๒๐๒๒ เชิดชยั ทวั ร์ โทร. ๐๒-๙๓๖-๐๑๙๙ หรือ ๐๕๕-๙๘๖๓๑๐,๐๕๕-๒๑๑๙๒๒ วินทวั ร์ โทร. ๐๕๕-๓๗๘๔๗๗ นอกจากนีย้ งั มี รถ บ.ข.ส. บริการระหว่างจงั หวดั ตา่ ง ๆ ได้แก่ อตุ รดิตถ์ แพร่ ลาปาง เชียงใหม่ สโุ ขทยั ตาก (แมส่ อด) พจิ ิตร เพชรบรู ณ์ และขอนแกน่ ทกุ วนั รถไฟ ทางการรถไฟแห่งประเทศไทย จัดบริการ รถดว่ นพิเศษ (สปรินท์เตอร์) รถเร็ว และรถธรรมดา จาก กรุงเทพฯ ไปพิษณุโลก ทุกวัน สอบถาม หน่วยบริการ เดนิ ทาง โทร.๑๖๙๐ ๐๒-๒๒๓๗๐๑๐, ๐๒-๒๒๓๗๐๒๐ สถานีรถไฟพษิ ณโุ ลก โทร. ๐๕๕-๒๕๘๐๐๕ หรือ www.railway.co.th
๑๖ เคร่ืองบิน จงั หวดั พิษณโุ ลกมีเที่ยวบนิ ระหวา่ งกรุงเทพฯ – พษิ ณโุ ลก และ พษิ ณโุ ลก – เชียงใหม่ ดงั นี ้ - เที่ยวบนิ กรุงเทพฯ – พิษณุโลก มีสายการบนิ นกแอร์ เบอร์ตดิ ตอ่ ๐๕๕-๓๐๑๐๕๑ และ สายการบนิ แอร์เอเชีย เบอร์ตดิ ตอ่ ๐๕๕-๓๐๑๐๐๒ , ๐๒-๕๑๕๙๙๙๙ , ๐๘๑-๘๗๙๘๙๑๙ - เที่ยวบนิ พษิ ณโุ ลก – เชียงใหม่ มีสายการบนิ กานตแ์ อร์ เบอร์ตดิ ตอ่ ๐๕๕-๓๐๑๕๒๒ การเดนิ ทางจากอาเภอเมืองพษิ ณุโลกไปยงั อาเภอต่าง ๆ อ.บางระกา ระยะทาง ๑๗ กิโลเมตร อ.วงั ทอง ระยะทาง ๑๙ กิโลเมตร อ.วดั โบสถ์ ระยะทาง ๒๗ กิโลเมตร อ.บางกระทมุ่ ระยะทาง ๔๑ กิโลเมตร อ.พรหมพิราม ระยะทาง ๒๕ กิโลเมตร อ.เนินมะปราง ระยะทาง ๗๕ กิโลเมตร อ.นครไทย ระยะทาง ๙๙ กิโลเมตร อ.ชาตติ ระการ ระยะทาง ๑๓๖ กิโลเมตร
การท่องเท่ยี ว ๑๗ ____________________________________________ จงั หวัดพิษณุโลก เป็ นจงั หวดั ท่ีมีลกั ษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่หลากหลาย ทาให้ เป็นท่ีสนใจของนกั ทอ่ งเท่ียวทงั้ ไทยและตา่ งชาติ ทงั้ การทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาตแิ ละการท่องเท่ียวทาง ประวตั ิศาสตร์ จึงทาให้การทอ่ งเท่ียวจงั หวดั พิษณุโลกทารายได้ไม่น้อยในแตล่ ะปี รวมทงั้ เกิดจาก การที่เป็ นจงั หวดั ศนู ย์กลางภาคเหนือตอนลา่ งท่ีมีความหลากหลายทงั้ ทางด้านวฒั นธรรมประเพณี โบราณสถาน การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับทัง้ จังหวัดสุโขทัย เพชรบูรณ์ และตาก โดยแต่ละปี มี นกั ทอ่ งเท่ียวทงั้ ตา่ งชาตแิ ละในประเทศ เข้ามาเยี่ยมชมจงั หวดั พิษณโุ ลกไมต่ ่ากว่า ๒,๗๐๐,๐๐๐ คน มีรายได้เข้ามาในจงั หวดั กวา่ ๕,๐๐๐ ล้านบาท แหลง่ ทอ่ งเท่ียวสาคญั มีดงั นี ้ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวหิ าร (วัดใหญ่) วดั นีต้ งั้ อย่รู ิมฝ่ังแมน่ า้ ด้านตะวนั ออกตรงข้าม กบั ศาลากลางจงั หวดั พิษณโุ ลก สนั นิษฐานวา่ สร้างในสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ท) เป็ นท่ีประดษิ ฐาน “พระพทุ ธชินราช” ซงึ่ เป็ นพระพทุ ธรูป ปางมารวิชยั และถือว่าเป็ นพระพทุ ธรูปคบู่ ้านคเู่ มืองท่ีสวยงามที่สดุ ในประเทศไทย ในแตล่ ะปี จะมีนกั ทอ่ งเที่ยวทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศมาเยี่ยมชมจานวนมาก วัดจุฬามณี อยู่ห่างจากตวั เมืองประมาณ ๕ กิโลเมตร วัดนีเ้ ป็ นโบราณสถานท่ีมีมาก่อนสมยั สโุ ขทยั ตามหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์กลา่ ววา่ เป็ นวดั ที่สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนารถ ทรงผนวชเป็ นเวลา ๘ เดอื น ๑๕ วนั ส่งิ สาคญั ที่มีคา่ สงู ทางศลิ ปะคอื ปรางคแ์ บบขอม วัดนางพญา วดั นีม้ ีช่ือเสียงในด้านพระเคร่ือง มีช่ือเรียกวา่ \"พระนางพญา\" ซึ่งมีการพบกรุ พระนางพญาในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ และ พ.ศ. ๒๔๙๗ พระราชวังจันทน์หรือพระราชวังเมืองพษิ ณุโลก ตงั้ อย่ภู ายในกาแพงเมืองบนฝั่งตะวนั ออก ของแม่นา้ น่าน ตรงข้ามกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช ยังปรากฏร่องรอย หลักฐานที่เป็ นซากสิ่งก่อสร้ างให้เห็นชัดเจน คงจะสร้ างในช่วงสมัยอยุธยาตอนต้น โดยเจ้าสามพระยา โอรสของสมเดจ็ พระนครินทราชาธิราช เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทบั ที่เมืองพิษณโุ ลก ในปี พ.ศ. ๒๐๐๖-๒๐๓๑ พระราชวงั จนั ทน์ได้มีการก่อสร้างและขยายขอบเขตให้ใหญ่โตเทียบได้กบั พระราชวงั หลวง ท่ีพระมหากษัตริย์ประทบั ในระยะเวลาตอ่ มา พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาโปรดฯ ให้พระมหาอุปราช ครองเมืองพิษณโุ ลกและประทบั ที่พระราชวงั จนั ทน์ สมเดจ็ พระราชสมภพท่ีพระราชวงั จนั ทน์มาโดยตลอด
๑๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมได้รับงบก่อสร้างอาคารเรียนได้สารวจพบกาแพง พระราชวงั จนั ทน์ชนั้ นอก ประตพู ระราชวงั จนั ทน์และเนินฐานพระราชวงั จนั ทน์ กรมศิลปากรได้ประกาศ ขอบเขตโบราณสถานให้ครอบคลมุ พืน้ ที่บริเวณใกล้เคยี งในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๑๑ ตอนท่ี ๕๒ง วนั ที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๓๗ พืน้ ที่ ๑๒๘ ไร่ ๒ งาน ๕๐ ตารางวา รวมโบราณสถานใกล้เคียง คือ วดั วิหารทอง วดั ศรีสคุ ต วดั โพธิ์ทอง สระสองห้องและบางสว่ นของคลองมะดนั ซง่ึ ปัจจบุ นั ได้มีโครงการบรู ณะพระราชวงั จนั ทน์และย้ายโรงเรียนพิษณโุ ลกพิทยาคม ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เม่ือวนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๔๕ พพิ ธิ ภัณฑ์พืน้ บ้านจ่าสิบเอก ดร.ทวี บูรณเขตต์ ก่อตงั้ ขนึ ้ ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ โดย จ.ส.อ.ดร.ทวี บรู ณเขต เป็นสถานท่ีเก็บรวบรวมศลิ ปะพืน้ บ้านที่เป็นข้าวของเครื่องใช้ ซง่ึ เป็นเครื่องมือหากินของชาวบ้าน ตงั้ แตช่ ิน้ เล็กๆ จนถงึ ชนิ ้ ใหญ่ทงั้ อดีตและปัจจบุ นั สวนรุกขชาติสกุโณทยาน อย่ใู นเขตอาเภอวงั ทอง มีศาลาที่พกั ๒ หลงั ซ่ึงสร้างขนึ ้ เพ่ือรับเสด็จ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คราวเสดจ็ ประพาส เมื่อวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๐๑ และยงั มีนา้ ตกวงั นกแอน่ อยใู่ นสวนนีด้ ้วย นา้ ตกแก่งซอง บริเวณก่อนถึงนา้ ตกจะมีลานกว้างปลกู ไม้ดอกไม้ประดบั หลายชนิด เป็ นนา้ ตกท่ี มีความสูงประมาณ ๑๐ เมตร มีโขดหินต่างๆ สีเทาแกมแดง ในฤดฝู นนา้ จะไหลแรงปะทะก้อนหิน ทาให้ เกิดฝอยละอองสีขาวนวล นา้ ตกแก่งโสภา เป็นนา้ ตกมีขนาดเลก็ ใหญ่ไลเ่ ล่ียกนั โดยมีนา้ ตกแกง่ โสภา ซง่ึ เป็นนา้ ตก แหง่ สดุ ท้ายบนถนนพิษณโุ ลก–หลม่ เก่า เป็นนา้ ตกใหญ่ท่ีสดุ มีบนั ไดเพื่อไตล่ งไปเที่ยวชมแก่งหินข้างลา่ ง อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง ประกอบด้วยภูเขาใหญ่น้อย เป็ นต้นนา้ ลาธาร มีสภาพ ธรรมชาติสวยงาม เหมาะสาหรับเป็ นท่ีพกั ผ่อนหยอ่ นใจ เป็ นวนอทุ ยานท่ีอดุ มไปด้วยไม้นานาพนั ธ์ุ มีสตั ว์ ป่ าหลายชนดิ และยงั มีสะพานแขวนให้ไตข่ ้ามลาห้วย ชวนให้ตืน่ เต้นและเป็นท่ีสนกุ สนาน อุทยานแห่งชาตภิ หู นิ ร่องกล้า อทุ ยานนีอ้ ยใู่ นบริเวณเทือกเขาเพชรบรู ณ์ ซงึ่ เป็นเขตตดิ ตอ่ ๓ จงั หวดั คือ พิษณโุ ลก เลย และเพชรบรู ณ์ มียอดเขาท่ีสงู ที่สดุ เหนือระดบั นา้ ทะเล ๑,๖๑๗ เมตร เดิมเป็ น ฐานท่ีมนั่ ท่ีสาคญั และใหญ่ที่สดุ ของภาคเหนือ ของผ้กู ่อการร้ายคอมมิวนิสต์(ผกค.) เม่ือปี ๒๕๒๕ กองทพั ภาคที่ ๓ ได้ปราบปราม ผกค.อย่างราบคาบและปรับปรุงให้เป็ นสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีน่าสนใจในปัจจบุ นั นอกจากนีย้ งั มีซากฐานที่มนั่ ในอดีตของ ผกค.ให้เห็นเช่น ลานหินแตก โรงเรียนมวลชน ผาชธู ง ลานหินป่ มุ สสุ านฝังศพและสานกั อานาจรัฐ อุทยานแห่งชาตนิ า้ ตกชาตติ ระการ เป็นนา้ ตกที่ตกจากหน้าผาท่ีเป็นชนั้ ถงึ ๗ ชนั้ และบน หน้าผา มีผงึ ้ ทารังเกาะอยเู่ ป็นนคิ มใหญ่ ยงั มีกล้วยไม้ป่ าละพนั ธ์ุไม้ตา่ งๆ ขนึ ้ อยใู่ นบริเวณนา้ ตกมากมาย ถา้ เขาบ้านมุง อยใู่ นเขตอาเภอเนนิ มะปราง มีภเู ขาสงู ชนั หลายลกู มีถา้ ประกอบด้วย หินงอก หินย้อย เป็นหลืบ ลกึ ลบั ซบั ซ้อน มีความสวยงามยง่ิ เรียกถา้ นีว้ า่ “ ถา้ ดาวถา้ เดอื น ”
๑๙ ถา้ ผาท่าพล อย่ใู นเขตอาเภอเนินมะปราง ภายในถา้ มีหินงอก หินย้อย มีแสงประกายเป็ นเกล็ด สะดดุ ตาแก่ผ้เู ข้าไปชมมาก นอกจากนนั้ ในเขตอาเภอเนินมะปราง ยงั มีถา้ ที่สวยงามอีกเป็ นจานวนมาก เชน่ ถา้ เรือ ถา้ เตา ถา้ นางสิบสอง ถา้ ผาแดง ถา้ ลอด ถา้ นา้ ถา้ มว่ ง ถา้ พญาค้างคาว และถา้ นเรศวร บึงราชนก อย่ใู นเขตอาเภอวงั ทอง เป็ นบงึ นา้ เก่ามีเนือ้ ท่ีประมาณ ๔ พนั ไร่ องค์การบริหารสว่ น จงั หวดั ได้ปรับปรุงให้เป็ นสถานท่ีท่องเท่ียวและพกั ผ่อนหย่อนใจของประชาชน นอกจากนีย้ งั ได้จดั สร้าง สวนสาธารณะเฉลมิ พระเกียรตริ ัชกาลที่ ๙ ด้วย เจ้าแม่กวนอิมหยกขาว ตงั้ อยใู่ นอาเภอวงั ทองเป็ นปางพิเศษที่ถกู สร้างขนึ ้ โดยการอนุมตั ิจาก รัฐบาลจีน ต้นแบบจากเจ้าแมก่ วนอิมพนั มือ เมืองหางโจว สงู ๓ เมตร หนกั ๓ ตนั ยืนในทา่ เจริญ พระพทุ ธมนต์ แกะสลกั อย่างประณีตงดงามจากหินทะเลสาบ หยกขาวถือว่าเป็ นประตมิ ากรรมหินหยก ขาวรูปเจ้าแมก่ วนอิมที่ใหญ่และสวยงามที่สดุ ในโลก
สนิ ค้าพืน้ เมืองและของฝากเมืองพษิ ณุโลก ๒๐ _____________________________ กล้วยตากและกล้วยอบนา้ ผึง้ เป็ นของฝากจากเมืองพิษณุโลก รสชาติอร่อย หอมหวาน เป็ น ที่รู้จกั กันทวั่ ไป จนกระทั่งเป็ นคาขวญั ของจงั หวดั พิษณุโลกท่อนหน่ึงท่ีว่า “หวานฉ่าแท้กล้วยตาก” อนั ได้รับการรับรองได้เป็ นอยา่ งดี มีแหลง่ ผลิตอยทู่ ี่อาเภอบางกระทมุ่ และแหล่งจาหน่ายอยใู่ นร้านจาหน่าย สินค้าพืน้ เมืองในวดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวหิ าร) และร้านค้าทวั่ ไป มะม่วงกวนและมะม่วงสามรส มะมว่ งแผน่ หรือส้มลมิ ้ ปรุงรสตา่ งๆ หลายรูปแบบพร้อม บรรจุภัณฑ์สวยงาม เป็ นของฝากขึน้ ช่ืออีกชนิดหนึ่งของเมืองพิษณุโลก มีแหล่งผลิตอยู่ที่อาเภอวงั ทอง อาเภอเมือง และอาเภอชาตติ ระการ แหลง่ จาหนา่ ยอยู่ในร้านจาหนา่ ยสินค้าพืน้ เมืองในวดั พระศรีรัตนมหา ธาตวุ รมหาวิหารและร้านค้าทวั่ ไป ผลไม้รวมและคุกกี้ ผลิตภณั ฑ์แปรรูปจากผลไม้ เช่น มะม่วง มะขาม กล้วย เป็ นขนมชนิดหนึ่ง จากจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ซง่ึ เหมาะท่ีจะใช้เป็นของฝากหรือรับประทานเป็นของวา่ งในโอกาสตา่ งๆ มีหลายชนิด หลายรูปแบบ โดยฝี มือของกล่มุ แม่บ้านเกษตรกรและผ้ปู ระกอบการภาคเอกชน มีแหล่งผลิตอย่ทู ี่อาเภอ เมือง อาเภอพรหมพิราม อาเภอวงั ทอง และอาเภอชาติตระการ แหล่งจาหน่ายอย่ใู นร้านจาหน่ายสินค้า พืน้ เมืองในวดั ใหญ่ เต้าเจีย้ ว ผลิตภณั ฑ์แปรรูปจากถวั่ เหลือง ตรายี่ห้อโดยฝี มือแมบ่ ้านเกษตรกรท่ีได้มาตรฐานทงั้ อาหารประจาครัวเรือน ซ่ึงได้รับความนิยมกนั อยา่ งกว้างขวางมีแหล่งผลิตอย่ทู ี่อาเภอพรหมพิราม และ อาเภอเมืองพษิ ณโุ ลก แหลง่ จาหนา่ ยอยใู่ นร้านค้าทวั่ ไป และร้านจาหนา่ ยสนิ ค้าพืน้ เมืองในวดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร) ปลาร้าสับทรงเคร่ืองและปลาร้าผง เป็นการแปรรูปผลิตภณั ฑ์อาหารจากปลาของกลมุ่ แม่บ้าน เกษตรกรอีกชนิดหน่งึ ท่ีกาลงั ได้รับความนิยมจากผ้บู ริโภคอย่างมาก เน่ืองจากมีรสชาติอร่อยถกู ปาก และ กรรมวิธีในการผลิตสะอาด ถกู หลกั อนามยั ปราศจากวตั ถกุ นั เสียโดยมีแหล่งผลิตที่บ้านโปร่งนก อาเภอ พรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก แหล่งจาหน่ายอยู่ในร้ านค้าทั่วไป และร้ านจาหน่ายสินค้าพืน้ เมืองใน วดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวหิ าร) หม่ีซ่ัว เป็ นสินค้าพืน้ เมืองท่ีเป็ นของฝากท่ีมีช่ือเสียงอีกชนิดหนึ่งของจังหวัดพิษณุโลก เป็ น ผลิตภัณฑ์ท่ีทาจากแป้ งสาลี สามารถนาไปใช้ในการปรุงอาหารได้หลายรูปแบบ เส้นหม่ี เหนียวนุ่ม รสชาตอิ ร่อย มีแหลง่ ผลติ ท่ีอาเภอเมือง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก แหลง่ จาหนา่ ยอยใู่ นร้านจาหน่ายสินค้าพืน้ เมือง ในวดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร) และร้านค้าทวั่ ไป แหนมและหมูยอ เป็ นของฝากที่มีชื่อเสียงในด้านความสะอาด ถูกหลักอนามัยและรสชาติ อร่อย สามารถนาไปประกอบอาหารได้หลายชนิดและยงั ใช้เป็นอาหารวา่ งรับประทานอาหารได้อยา่ ง ถกู ปากอีกด้วย มีแหล่งผลิตในอาเภอเมืองพิษณุโลก แหล่งจาหนา่ ยอย่ใู นร้านจาหน่ายสินค้าพืน้ เมืองใน วดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวหิ าร) และร้านค้าทว่ั ไป
๒๑ นา้ ตาลสด รสชาตหิ อมหวาน สะอาดถกู หลกั อนามยั บรรจใุ นภาชนะที่สวยงามกะทดั รัดเหมาะ สาหรับเป็ นของฝากหรือดื่มแก้กระหายในยามอ่อนเพลียจากการเดินทาง มีแหล่งผลิตที่อาเภอวัดโบสถ์ แหล่งจาหน่ายอยู่ในร้ านจาหน่ายสินค้าพืน้ เมืองในวัดใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร) และ ร้านค้าทว่ั ไป ผลิตภัณฑ์จักสานจากไม้ไผ่ สินค้าหตั ถกรรมด้วยมือ เป็ นผลิตภณั ฑ์อีกชนิดหน่ึงของจงั หวดั พษิ ณโุ ลกท่ีเดน่ อีกรูปแบบ มีความคงทนในการใช้งาน มีความหลากหลายในลวดลาย ขนาดและรูปแบบ ทงั้ ท่ีใช้งานในชีวิตประจาวนั และใช้เป็ นเครื่องประดบั ตกแตง่ อนั สวยงาม มีแหล่งผลิตอย่ทู ่ีอาเภอวงั ทอง และอาเภอวดั โบสถ์ แหล่งจาหน่ายอย่ใู นร้านจาหนา่ ยสินค้าพืน้ เมืองในวดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหา ธาตวุ รมหาวหิ าร) และร้านค้าทว่ั ไป ดอกไม้แห้งปรุงกล่ิน เป็ นงานฝี มือพืน้ บ้านอีกชนิดหนึ่งท่ีน่าสนใจ โดยการนาเอาดอกไม้ หลากหลายชนิดมาตากแห้งและอบหอม บรรจใุ นภาชนะหลายรูปแบบล้วนแตส่ วยงามเหมาะแก่ใช้งานใน โอกาสต่างๆ และใช้เป็ นเครื่องประดบั ตกแตง่ บ้านได้อีกด้วย แหล่งผลิตอย่ทู ี่อาเภอพรหมพิราม แหล่ง จาหน่ายอย่ใู นร้านจาหน่ายสินค้าพืน้ เมืองในวดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร) และร้านค้า ทวั่ ไป ดอกไม้ประดิษฐ์ เป็ นสินค้าหตั ถกรรมอีกชนิดหนึ่งท่ีมีความสวยงาม มีรูปแบบที่ประณีต มี ลวดลายเฉพาะตัว สามารถนาไปใช้ประดับตกแต่งบ้านให้หรู และเต็มไปด้วยศิลปะ เป็ นงานซึ่ง ละเอียดอ่อนและมีฝี มือ กาลังได้รับความนิยมในขณะนี ้ แหล่งผลิตอยู่ท่ีอาเภอเมืองพิษณุโลก แหล่ง จาหน่ายอย่ใู นร้านจาหน่ายสินค้าพืน้ เมืองในวดั ใหญ่ (วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร) และร้านค้า ทวั่ ไป ชุดพระพิมพ์เมืองพิษณุโลก เป็ นการรวบรวมพระเครื่องพิมพ์ตา่ งๆ ของเมืองพิษณุโลก ซึ่งมี ด้วยกนั หลายพิมพ์ เชน่ พิมพ์นางพญา พมิ พ์พระพทุ ธชนิ ราช ฯลฯ มาจดั ทาใหม่ บรรจใุ นกรอบสวยงาม เหมาะสาหรับไว้สักการบูชา เป็ นศิริมงคลแก่ตนและครอบครัว หรือเหมาะสาหรับนาไปมอบให้กับผู้ที่ เคารพและนบั ถือ
วสิ ัยทศั น์และยุทธศาสตร์การพฒั นาจังหวัด ๒๒ _______________________________ วสิ ัยทศั น์และยุทธศาสตร์การพฒั นาจงั หวัดพษิ ณุโลก จากการจดั ทาแผนพฒั นาจงั หวดั พิษณโุ ลก (พ.ศ.๒๕๕๗ - ๒๕๖๐) สรุปสาระสาคญั ของวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้ าประสงค์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ในการพฒั นา ดงั นี ้ วสิ ัยทศั น์ Z(Vision) “ พิษณโุ ลก : เมืองบริการเศรษฐกิจและสงั คมส่ีแยกอนิ โดจีน ” พันธกจิ (Mission) พฒั นาเพื่อเป็นเมืองบริการท่ีหลากหลาย (Service City) และมีความปลอดภยั สงู (Safety City) เป้ าประสงค์ (Goal) ๑. เป็นศนู ย์กลางการบริการการค้า โลจสิ ตกิ ส์ และการขนสง่ ๒. มีการบริหารจดั การสินค้าเกษตรอตุ สาหกรรมท่ีมีคณุ ภาพ / มาตรฐานและปลอดภยั ๓. เป็นศนู ย์กลางด้านการทอ่ งเที่ยว ศลิ ปวฒั นธรรม กีฬา และนนั ทนาการ ๔. เป็นศนู ย์กลางด้านการศกึ ษาการบริการทางวิชาการด้านสขุ ภาพ และ ICT ๕. รักษาความสมบรู ณ์ของระบบนเิ วศน์และอนรุ ักษ์ ฟื น้ ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ ๖. เป็นเมืองท่ีมีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สิน และประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีอยรู่ ่วมกนั ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) Issues) ๑. ศนู ย์กลางการบริการการค้า โลจิสตกิ ส์ และการขนสง่ ๒. พฒั นากระบวนการผลิต การตลาด และการบริหารจดั การสินค้าเกษตรเชิงคณุ ภาพ ๓. สง่ เสริมการดาเนนิ งานด้านการทอ่ งเที่ยว ศลิ ปวฒั นธรรม กีฬา และนนั ทนาการ ๔. ศนู ย์กลางด้านการศกึ ษา การบริการทางวชิ าการด้านสขุ ภาพ และ ICT ๕. อนรุ ักษ์ฟื น้ ฟทู รัพยากรทางธรรมชาตสิ ง่ิ แวดล้อมและแหลง่ นา้ อย่างยง่ั ยืน ๖. สง่ เสริมความเข้มแข็งทางสงั คมและความมนั่ คงตามหลกั การบริหารจดั การบ้านเมืองท่ีดี
๒๓ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ : ศูนย์กลางการบริการการค้า โลจสิ ตกิ ส์ และการขนส่ง กลยทุ ธ์ : ๑. พฒั นาโครงขา่ ยการคมนาคมเพื่อเป็ นศนู ย์กลางการบริการการค้า การขนสง่ สินค้า ผ้โู ดยสารทางบก / อากาศ ๒. สง่ เสริมการเป็ นศนู ย์กลางการบริการการค้า การขนสง่ สนิ ค้า ผ้โู ดยสารทางบก / อากาศ ๓. สง่ เสริมและพฒั นาเทคโนโลยีและงานบริการให้ได้มาตรฐาน ๔. สง่ เสริมการเตรียมความพร้อมรองรับประชาคมอาเซียน ๕. มีศนู ย์ข้อมลู และพืน้ ที่เพ่ือสนบั สนนุ การเป็ นศนู ย์กลางการค้า โลจิสตกิ ส์ และการ ขนสง่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ : พฒั นากระบวนการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการสินค้าเกษตร เชิงคุณภาพ กลยทุ ธ์ : ๑. บริหารจดั การสนิ ค้าเกษตรให้มีคณุ ภาพมาตรฐานปลอดภยั เช่ือมโยงการตลาดและ การแปรรูป ๒. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การองค์กรเกษตรกรและเกษตรกร ๓. บริหารจดั การทรัพยากรทางการเกษตรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและยง่ั ยืน ๔. พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือการเกษตร ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ : ส่งเสริมการดาเนินงานด้านการท่องเท่ียว ศิลปวัฒนธรรม กีฬา และ นันทนาการ กลยุทธ์ : ๑. พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ อานวยความสะดวกเพื่อการท่องเท่ียวและกีฬา ๒. ฟื น้ ฟแู หลง่ ทอ่ งเที่ยวเดมิ เพิ่มแหลง่ ทอ่ งเท่ียวใหม่ ๓. สง่ เสริมศลิ ปวฒั นธรรมและปัจจยั สนบั สนนุ การทอ่ งเที่ยวและกีฬา ๔. พฒั นาบคุ ลากรและสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมเพื่อพฒั นาการทอ่ งเท่ียวและกีฬา ๕. พฒั นาขีดความสามารถด้านการประชาสมั พนั ธ์และการตลาดทอ่ งเท่ียว ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ : ศูนย์กลางด้านการศกึ ษา การบริการทางวิชาการด้านสุขภาพ และ ICT กลยุทธ์ : ๑. สง่ เสริม สนบั สนนุ การเป็นศนู ย์กลางการบริการสขุ ภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสขุ ภาพ แข็งแรงสมบรู ณ์ (Healthy Province) ๒. สง่ เสริม สนบั สนนุ การเป็นศนู ย์กลางการประชมุ และสมั มนา ๓. สง่ เสริม สนบั สนนุ การเป็นศนู ย์กลางด้านการศกึ ษา การบริการทางวิชาการ และ ICT
๒๔ ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ : อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาตสิ ่งิ แวดล้อม และแหล่งนา้ อย่างย่งั ยนื กลยทุ ธ์ : ๑. สร้างการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการอนรุ ักษ์ ป้ องกนั ฟื น้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และแหลง่ นา้ อยา่ งยงั่ ยืน ๒. อนรุ ักษ์และพฒั นาแหลง่ นา้ ธรรมชาตเิ พื่อการอปุ โภค บริโภค และเพื่อการเกษตร อยา่ งเพียงพอ และป้ องกนั ปัญหาภยั แล้งและอทุ กภยั ในพืน้ ท่ี ๓. พฒั นาแหลง่ นา้ และบริหารจดั การนา้ อย่างเป็นระบบ ๔. ป้ องกนั และลดมลพษิ ณ แหลง่ กาเนิด ๕. สง่ เสริมการอนรุ ักษ์และฟื น้ ฟสู งิ่ แวดล้อมศลิ ปกรรมเมืองเกา่ และศาสนสถานที่ สาคญั ของจงั หวดั ๖. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ด้านการบริหารจดั การพลงั งาน ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ : ส่งเสริมความเข้มแขง็ ทางสังคม และความม่ันคงตามหลักการบริหารจัดการ บ้านเมืองท่ดี ี กลยุทธ์ : ๑. สง่ เสริมสนบั สนนุ หมบู่ ้าน / ชมุ ชน ให้มีความเข้มแข็ง มีการพฒั นาท่ีดีขนึ ้ ๒. ขบั เคลื่อนแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแกห่ มบู่ ้าน / ชมุ ชน อยา่ งทว่ั ถึง ๓. พฒั นาและสง่ เสริมประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากรเพ่ือชว่ ยเหลือและ แก้ไขปัญหาประชาชนในพืน้ ท่ี ๔. เสริมสร้างความเข้มแขง็ ปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน ๕. เสริมสร้างพลงั ทางสงั คมทกุ รูปแบบ ๖. สง่ เสริมการป้ องกนั และแก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบตอ่ ความสงบเรียบร้อยและ ความมนั่ คง
ที่ปรกึ ษา คณะผจู้ ดั ทา นายชชู าติ กีฬาแปง นายฐานุพงษ์ เจรญิ สรุ ภริ มย์ ผวู้ ่าราชการจังหวัดพิษณุโลก นายธชั ชัย สสี ุวรรณ รองผู้วา่ ราชการจังหวัดพษิ ณุโลก นายธนากร อ้งึ จติ รไพศาล รองผู้วา่ ราชการจังหวดั พษิ ณโุ ลก นายไพโรจน์ แกว้ แดง รองผู้ว่าราชการจงั หวัดพิษณุโลก หัวหน้าสานักงานจังหวดั พิษณุโลก ผูจ้ ดั ทา ดร. ประทปี ตระกูลสา ผอ.กลมุ่ งานยุทธศาสตร์และข้อมลู เพ่อื การพัฒนาจงั หวดั นายอธิปไตย ไกรราช ผอ.กลมุ่ งานศูนยด์ ารงธรรมจงั หวดั นางฐิติมา ไพรศรีสวัสด์ิ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นางปฎมิ า ทองน้อย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นางสาวยพุ ิน เกิดเจรญิ นกั วชิ าการคอมพวิ เตอรช์ านาญการ ****************************************************************************************************** สานักงานจังหวัดพิษณโุ ลก กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพ่อื การพฒั นาจังหวดั โทร/โทรสาร ๐๕๕-๒๔๖๔๔๑ สป.มท. ๒๐๔๒๙
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: