เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 9 การปรบั แต่งรปู ภาพ สาระสาคัญ การนาภาพถ่ายมาใชง้ านควรปรบั แต่งรูปภาพใหเ้ หมาะสมกบั แต่ละคน ซงึ่ การปรบั แตง่ รูปภาพ สามารถทาได้หลายวธิ ขี ้นึ อยู่กับความเหมาะสมของงาน เช่น หากตอ้ งการรปู ภาพโทนสเี ขียว ก็ควรใช้คาสั่งปรับความสมดุลของสี แล้วเลือกเฉดสีท่เี หมาะสม เปน็ ต้น ส่วนการใช้คาส่ัง Filter นน้ั เปน็ การปรบั แตง่ รปู ภาพในแบบที่โปรแกรมมีคาส่งั มาให้ โดยผใู้ ช้สามารถเลอื กให้เหมาะสมกบั งาน สาระการเรียนรู้ 1. การปรับแตง่ รปู ภาพ 1.1 การปรบั แสงและความคมชดั ของภาพ (Brightness/Contrast) 1.2 ปรบั เพ่มิ ลดแสงของภาพด้วย Exposure 1.3 ปรับโทนสขี องภาพแบบอัตโนมัติดว้ ย Auto Tone 1.4 ปรบั ความคมชัดของภาพแบบอัตโนมตั ดิ ้วย Auto Contrast 1.5 ปรบั ค่าสีของภาพแบบอตั โนมัตดิ ว้ ย Auto Color 1.6 การปรับสภี าพด้วย Hue/Saturation 1.7 ปรับสภี าพด้วยสมดลุ สี Color Balance 1.8 ปรบั สภี าพเปน็ ขาวดาดว้ ย Black & White 1.9 ปรบั สภี าพโดยใชฟ้ ิวเตอร์ดว้ ย Photo Filter 1.10 ปรบั สภี าพโดยการผสมสดี ้วย Channel Mixer 1.11 ปรับภาพใหเ้ ปน็ สตี รงกนั ขา้ มด้วย Invert 1.12 ปรบั ระดบั โทนสใี นภาพดว้ ย Posterize 1.13 ปรบั ภาพโดยดูตวั อยา่ งภาพผลลัพธด์ ว้ ย Variations 2. การใช้คาสงั่ Filter 3. การใช้คาสั่ง Liquify การปรบั แตง่ รปู ภาพ หน้า 244
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เมอ่ื ศึกษาและปฏิบัตติ ามเอกสารประกอบการเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 9 แลว้ นักเรียนสามารถ 1. ปรบั แตง่ รปู ภาพได้ 1.1 ปรับแสงและความคมชดั ของภาพ (Brightness/Contrast) ได้ 1.2 ปรบั เพิม่ ลดแสงของภาพดว้ ย Exposure ได้ 1.3 ปรบั โทนสขี องภาพแบบอัตโนมัติดว้ ย Auto Tone ได้ 1.4 ปรับความคมชัดของภาพแบบอัตโนมัตดิ ้วย Auto Contrast ได้ 1.5 ปรบั ค่าสีของภาพแบบอัตโนมัตดิ ว้ ย Auto Color ได้ 1.6 การปรบั สภี าพด้วย Hue/Saturation ได้ 1.7 ปรบั สภี าพด้วยสมดุลสี Color Balance ได้ 1.8 ปรับสีภาพเปน็ ขาวดาด้วย Black & White ได้ 1.9 ปรบั สภี าพโดยใชฟ้ วิ เตอร์ด้วย Photo Filter ได้ 1.10 ปรบั สภี าพโดยการผสมสีดว้ ย Channel Mixer ได้ 1.11 ปรบั ภาพให้เป็นสีตรงกันข้ามด้วย Invert ได้ 1.12 ปรบั ระดบั โทนสีในภาพดว้ ย Posterize ได้ 1.13 ปรบั ภาพโดยดูตัวอย่างภาพผลลพั ธ์ดว้ ย Variations ได้ 2. ใช้คาสั่ง Filter ได้ 3. ใชค้ าสง่ั Liquify ได้ การปรับแตง่ รปู ภาพ หนา้ 245
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 แผนภูมิเน้อื หา การปรบั แตง่ รปู ภาพ การปรบั แตง่ รูปภาพ การใช้คาสงั่ Filter 1. การปรบั แสงและความคมชดั ของภาพ การใชค้ าส่ัง Liquify (Brightness/Contrast) 2. ปรบั เพมิ่ ลดแสงของภาพด้วย Exposure 3. ปรับโทนสขี องภาพแบบอัตโนมัตดิ ว้ ย Auto Tone 4. ปรบั ความคมชัดของภาพแบบอัตโนมัตดิ ้วย Auto Contrast 5. ปรบั ค่าสขี องภาพแบบอตั โนมัติด้วย Auto Color 6. การปรับสภี าพดว้ ย Hue/Saturation 7. ปรบั สีภาพด้วยสมดุลสี Color Balance 8. ปรับสีภาพเปน็ ขาวดาด้วย Black & White 9. ปรับสภี าพโดยใช้ฟวิ เตอร์ด้วย Photo Filter 10. ปรบั สภี าพโดยการผสมสีดว้ ย Channel Mixer 11. ปรับภาพให้เปน็ สีตรงกันขา้ มด้วย Invert 12. ปรบั ระดบั โทนสีในภาพด้วย Posterize 13. ปรบั ภาพโดยดตู วั อย่างภาพผลลพั ธด์ ว้ ย Variations การปรบั แต่งรปู ภาพ หน้า 246
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัส 2204-2105 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 การปรบั แต่งรปู ภาพ โปรแกรม Adobe Photoshop เปน็ ดังสตดู โิ อตกแตง่ ภาพทีเ่ ราสามารถนาภาพต่าง ๆ มาปรบั แตง่ สี ปรับโทนความสวา่ ง แก้สเี พยี้ น เตมิ สีในบางส่วนของภาพใหด้ นู ่าสนใจ และการตกแตง่ สี ด้วยเทคนคิ พิเศษหรือเพือ่ ใหก้ าเนิดภาพทแ่ี ปลกใหม่ได้ เช่น การทา Image Retouching ภาพคนแก่ ให้มีวยั ท่เี ดก็ ขน้ึ การสรา้ งภาพตามจนิ ตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนาเสนอขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เพ่ือให้สามารถสื่อความหมายไดต้ รงตามทีผ่ ้สู ่อื สาร ต้องการและน่าสนใจยงิ่ ข้นึ ดว้ ยกราฟ แผนภมู ิ แผนภาพ เปน็ ตน้ ภาพตน้ ฉบบั ภาพหลังการทา Image Retouching รูปภาพ 9-1 ตัวอย่างภาพก่อนและหลังการทา Image Retouching ทมี่ า : อรทัย เลิศขุนทด (2559) 9.1 การปรับแตง่ รปู ภาพ รปู ภาพกราฟกิ สองมิติสามารถปรับแต่งรปู ภาพให้เหมาะสมกับงานทีใ่ ช้ไดห้ ลากหลายรปู แบบ ในการปรบั แต่งรูปภาพจาเป็นตอ้ งมภี าพตน้ ฉบบั ซึง่ สามารถนาภาพถ่าย หรือภาพทีส่ แกนเขา้ มาใช้ได้ จากคาสั่ง File แล้วเลือก Open การใชค้ าส่ังปรับแต่งรปู ภาพจะใช้คาสั่งจากเมนู Image ซ่ึงรวมคาส่ัง ท่เี กี่ยวกับรูปภาพทง้ั หมด การปรบั แต่งรปู ภาพ หนา้ 247
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 9.1.1 การปรับแสงและความคมชัดของภาพ (Brightness/Contrast) เปน็ การปรบั จุดสใี นภาพใหเ้ กิดความสว่าง และความคมชัด ซ่ึงใน Photoshop นน้ั จะ เป็นการปรบั ในรูปแบบของ Nonlinear คอื จะปรับความสว่าง และความคมชัดให้กับแต่ละจดุ สีของ ภาพในระดับท่ีไมเ่ ท่ากัน ขึ้นอยกู่ บั ความสว่างของแตล่ ะจุดสี หากเปน็ เวอรช์ น่ั เกา่ การปรับคา่ จะมผี ล ต่อทุกจดุ สเี ท่ากันหมด จึงทาให้ภาพสญู เสียรายละเอยี ดของความสว่าง หรือความมดื ของเงาในบาง พน้ื ทไี่ ป ซึง่ จะมคี า่ ใหป้ รับอยู่ 2 ค่า ดังนี้ Brightness ปรบั คา่ ความมืด-สวา่ งใหก้ ับภาพ Contrast ปรบั ความคมชัดใหก้ บั ภาพ โดยมขี ั้นตอนดงั นี้ 1. คลกิ ท่ีเมนคู าส่ัง Image > Adjustment > Brightness/Contrast… 2. ปรากฏหน้าตา่ ง Brightness/Contrast… 3. ปรับแต่งค่าตามความต้องการ แล้วคลิก OK ดงั รปู ภาพ 9-2 ปรับคา่ ความสวา่ ง ปรบั ความคมชดั ภาพต้นฉบับ ภาพหลังจากปรับความสว่าง/คมชดั รปู ภาพ 9-2 ปรบั ความสว่าง/คมชัดของภาพด้วย Brightness/Contrast ทม่ี า : อรทยั เลศิ ขุนทด (2559) การปรับแตง่ รปู ภาพ หนา้ 248
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 9.1.2 ปรับเพิ่มลดแสงของภาพด้วย Exposure เป็นการปรับระดับความสว่างที่อยู่ในภาพ สาหรบั คนที่ถ่ายภาพด้วยกลอ้ งดิจิตอลจะ ค้นุ เคยกบั Exposure ซ่ึงเป็นค่าระยะเวลาในการเปดิ รรู บั แสง จะมีผลต่อการเพิ่มและลดความสว่าง ของภาพ ซ่งึ จะมีคา่ ให้ปรับอยู่ 3 คา่ ดังนี้ Exposure เพม่ิ ลดแสงใหก้ ับภาพ Offset เพ่ิมลดระยะชดเชยแสง Gamma Correction เพม่ิ ลดค่า Gamma โดยมีข้ันตอนดงั นี้ 1. คลิกที่เมนคู าสั่ง Image > Adjustment > Exposure… 2. ปรากฏหนา้ ต่าง Exposure… 3. ปรับแต่งค่าตามความตอ้ งการ แล้วคลกิ OK ดงั รูปภาพ 9-3 ปรับเพิม่ ลดแสง ของภาพ ภาพตน้ ฉบับ ภาพหลงั จากปรบั เพม่ิ ลดแสง รูปภาพ 9-3 ปรับเพม่ิ ลดแสงของภาพดว้ ย Exposure ทีม่ า : อรทยั เลศิ ขุนทด (2559) การปรบั แตง่ รูปภาพ หน้า 249
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 9.1.3 ปรบั โทนสขี องภาพแบบอัตโนมตั ิด้วย Auto Tone เราสามารถปรบั โทนสขี องภาพแบบอตั โนมัติได้ใน 2 ส่วนดว้ ยกัน คอื สว่ นที่ 1 ปรบั คา่ เฉลยี่ ของสีในแต่ละโหมด สว่ นท่ี 2 ปรบั ระดับความสวา่ งและความมดื (ความสว่าง = สีขาว และความมืด = สดี า) ของสใี นแต่ละชอ่ งสี (Channel) ทาใหโ้ ทนสีของภาพท่ีออกมาอย่ใู นระดับกลาง ๆ ภาพต้นฉบบั ภาพหลงั จากปรบั โทนสี รูปภาพ 9-4 ปรับโทนสขี องภาพแบบอตั โนมตั ดิ ว้ ย Auto Tone ทม่ี า : อรทัย เลศิ ขุนทด (2559) 9.1.4 ปรบั ความคมชัดของภาพแบบอตั โนมัตดิ ว้ ย Auto Contrast Auto Contrast เปน็ การปรบั ระดบั ความต่างของสใี นภาพใหป้ รากฏชัดยง่ิ ข้นึ ทาให้ บรเิ วณทีม่ ีความสว่างอยแู่ ลว้ (Highlight) จะสว่างย่ิงขนึ้ สว่ นบริเวณทีเ่ ปน็ เงา (Shadow) จะมดื มาก ข้ึน ภาพตน้ ฉบบั ภาพหลงั จากปรับความคมชดั รูปภาพ 9-5 ปรบั ความคมชดั ของภาพแบบอตั โนมตั ิด้วย Auto Contrast ท่ีมา : อรทยั เลศิ ขุนทด (2559) การปรบั แต่งรปู ภาพ หน้า 250
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟิก รหัส 2204-2105 9.1.5 ปรบั ค่าสขี องภาพแบบอัตโนมตั ดิ ้วย Auto Color Auto Color จะปรับค่าทง้ั โทนสีและสว่ นมืดสวา่ งภายในภาพไปด้วยกัน ทั้งในสว่ น Shadows (สว่ นท่ีมดื สุด), Midtone (มที งั้ มืดและสว่าง) และ Highlight (ส่วนท่ีสว่างสดุ ) ภาพตน้ ฉบบั ภาพหลงั จากปรบั ค่าสดี ้วย Auto Color รปู ภาพ 9-6 ปรบั คา่ สีของภาพแบบอตั โนมัตดิ ว้ ย Auto Color ทมี่ า : อรทัย เลิศขุนทด (2559) 9.1.6 การปรบั สีภาพดว้ ย Hue/Saturation การปรบั ภาพโดยใช้คาสัง่ Hue/Saturation จะอาศยั พน้ื ฐานของการมองสภี าพ ในโมเดลของ HSB ซึ่งจะเป็นการปรบั สีภาพโดยรวมทงั้ หมด และปรบั ภาพให้เป็นโทนสเี ดยี วได้ ซ่ึงจะมีค่าใหป้ รบั อยู่ 3 ค่า ดงั นี้ Hue ปรบั คา่ สีทม่ี องเหน็ Saturation ปรับคา่ ความอ่มิ ตวั ของสี โดยค่าบวกจะทาให้สีภาพดอู ิ่มและ มสี เี ทาน้อย ส่วนคา่ ลบ จะทาให้สภี าพมืดลงและมสี เี ทามาก Lightness ปรับคา่ ความมดื และสว่างของภาพ โดยค่าบวกจะทาให้ภาพสว่าง สว่ นค่าลบจะทาใหภ้ าพมดื โดยมขี ั้นตอนดงั น้ี 1. เลือกเมนูคาสง่ั Image > Adjustment > Hue/Saturation… 2. ปรากฏหน้าตา่ ง Hue/Saturation… 3. ปรบั แตง่ คา่ ตามตอ้ งการ แล้วคลิก OK ดงั รปู ภาพ 9-7 การปรบั แต่งรปู ภาพ หน้า 251
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 ปรบั เฉดสี นาสจี ากรปู ภาพ ปรบั ความอิ่มสี ปรบั แสงภาพ ต้นฉบบั ออก แสดงตวั อย่าง ภาพตน้ ฉบับ ภาพหลังจากปรบั สภี าพดว้ ย Hue/Saturation รูปภาพ 9-7 ปรบั สภี าพด้วย Hue/Saturation ทม่ี า : อรทยั เลิศขุนทด (2559) การปรบั แตง่ รปู ภาพ หนา้ 252
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 9.1.7 ปรับสภี าพดว้ ยสมดลุ สี Color Balance ในการปรบั แต่งสีของภาพเราจะพจิ ารณาวงลอ้ สี ดงั รูปภาพ 9-8 ซึ่งเราจะเห็นว่าใน โหมดสี RGB และ CMYK มีสที ่ีตรงข้ามกนั อยู่ ซงึ่ เราจะเอาความรนู้ ไ้ี ปใชใ้ นการปรับแต่งสีของภาพ โดยใชส้ มดลุ ของสี สฟี ้า (Cyan) สีน้าเงนิ (Blue) สีเขียว (Green) สีมว่ ง (Magenta) สีเหลอื ง (Yellow) สีแดง (Red) รูปภาพ 9-8 วงล้อสี ทีม่ า : อรทัย เลศิ ขนุ ทด (2559) เช่น เราต้องการเพ่มิ สีแดง (Red) กใ็ ห้ปรบั สมดลุ โดยเพิ่มสีเหลือง (Yellow) และ ม่วง (Magenta) หรือลดสีฟา้ (Cyan) ก็จะทาให้ภาพดูมสี ีแดงเพม่ิ ขน้ึ โดยมีขน้ั ตอนดังนี้ 1. เลือกเมนูคาส่งั Image > Adjustment > Color Balance… 2. ปรับสมดุล โดยลดคา่ สีฟา้ (Cyan) และสเี ขยี ว (Green) คลิกปุ่ม OK ดงั รูปภาพ 9-9 ปรบั สมดุล โดยลดคา่ สฟี ้า (Cyan) และสีเขียว (Green) ภาพต้นฉบบั ภาพหลงั จากปรบั สภี าพด้วยสมดลุ สี Color Balance รปู ภาพ 9-9 ปรับสีภาพดว้ ยสมดลุ สี Color Balance ที่มา : อรทัย เลศิ ขนุ ทด (2559) การปรับแตง่ รูปภาพ หน้า 253
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 9.1.8 ปรบั สีภาพเป็นขาวดาด้วย Black & White เปน็ การเปลยี่ นภาพสใี ห้เปน็ ภาพขาวดา (Grayscale) นอกจากนน้ั เรายังสามารถ ย้อมเปน็ สีต่าง ๆ ซึ่งเหมาะสาหรบั การสรา้ งภาพแบบ Sepia 1. เลือกเมนูคาส่ัง Image > Adjustments > Black & White… 2. ปรากฏหนา้ ตา่ ง Black & White… 3. ปรับแต่งค่าตามตอ้ งการแล้วคลิกปมุ่ OK ดงั รูปภาพ 9-10 กาหนดรปู แบบของสีขาวดา ปรับค่าสขี าวดาในชอ่ งสีต่าง ๆ คลกิ เลือก Tint และเลอื กสีท่ี ต้องการยอ้ มให้กับภาพขาวดา ภาพต้นฉบบั ภาพขาวดาไมย่ ้อมสี ภาพขาวดายอ้ มเป็นสตี า่ ง ๆ รปู ภาพ 9-10 ปรบั สภี าพเป็นขาวดาด้วย Black & White ท่มี า : อรทัย เลศิ ขุนทด (2559) การปรับแต่งรปู ภาพ หนา้ 254
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 9.1.9 ปรบั สีภาพโดยใชฟ้ ิวเตอร์ดว้ ย Photo Filter สาหรับนกั ถ่ายภาพมักใช้ฟวิ เตอร์กบั กล้อง เพือ่ ให้ภาพถ่ายมคี วามแปลกใหม่หรือ เป็นไปตามความต้องการ เชน่ ใสฟ่ ิวเตอร์เพ่อื ใหภ้ าพออกมานมุ่ นวล หรอื ใสฟ่ ิวเตอรล์ ดแสงยูวี (UV) ซง่ึ โปรแกรม Photoshop ได้นาคุณลักษณะนเ้ี ข้ามาประยุกต์ใช้ในการตกแต่งภาพ ดังรูปภาพ 9-11 1. เลอื กเมนคู าสงั่ Image > Adjustments > Photo Filter… จะปรากฏหน้าตา่ ง Photo Filter ข้นึ มา 2. เลอื กรูปแบบการปรบั แตง่ จากออปชัน่ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี (1) คลิกเลือกฟวิ เตอร์ทตี่ ้องการใช้ โดยสามารถเลอื กได้ 2 แบบ คือเลือกจาก ฟิวเตอรท์ โ่ี ปรแกรมกาหนดมาให้ หรือเลือกจากช่อง Color (2) เลือก Density ปรบั ค่าความหนาแนน่ ของสที จ่ี ะใชเ้ ปน็ ฟิวเตอร์ (3) คลิก Preserve Luminosity เพ่ือรักษาสภาพความสว่างของภาพไว้คงเดมิ (4) คลกิ Preview เพ่ือดูการเปลย่ี นแปลงภาพขณะปรบั 3. เมอื่ ปรบั ได้คา่ ทตี่ ้องการแล้ว คลกิ ปมุ่ OK เลอื กฟิวเตอร์ เพอื่ ดูการเปลย่ี นแปลง ภาพขณะปรับ ปรบั คา่ ความหนาแนน่ ของสี รกั ษาความสวา่ งของภาพไว้ ภาพต้นฉบบั ภาพหลังจากใส่ฟิวเตอรใ์ หม้ สี ฟี ้าจดั จา้ นขึน้ รปู ภาพ 9-11 ปรับสภี าพโดยใช้ฟวิ เตอรด์ ้วย Photo Filter ท่ีมา : อรทัย เลศิ ขุนทด (2559) การปรับแตง่ รูปภาพ หน้า 255
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 9.1.10 ปรบั สีภาพโดยการผสมสีด้วย Channel Mixer เนื่องจากภาพทีแ่ สดงบนจอเกิดจากการผสมของสีในแต่ละช่องสี (Channel) ดั้งนั้น เราสามารถแกไ้ ขสีเพยี งบางช่องสเี พื่อใหม้ ีผลต่อการแสดงภาพได้ ดังรปู ภาพ 9-12 1. เลอื กเมนูคาสงั่ Image > Adjustments > Channel Mixer… 2. จะปรากฏหนา้ ต่าง Channel Mixer ขึน้ มา เลอื กช่องสีใน Output Channel เพื่อระบวุ ่าต้องการให้แก้สีภาพในชอ่ งสีใด เลือกรปู แบบการปรบั แต่งจากออปชน่ั ต่าง ๆ ดังนี้ (1) ใน Source Channels ให้ปรบั ค่าสีตามต้องการ (2) ใน Constant ใหป้ รับคา่ สขี าวดาตามต้องการ (3) คลิก Monochrome เพื่อเปลย่ี นภาพเป็นขาวดา (Grayscale) (4) คลิก Preview เพ่ือดกู ารเปลี่ยนแปลงภาพขณะปรบั 3. เมื่อปรับได้ค่าที่ต้องการแล้ว คลกิ ปุ่ม OK เลอื กชอ่ งสีท่ตี อ้ งการปรบั แต่ง ปรบั ค่าสีของช่องสที ี่เลอื ก ภาพต้นฉบับ ภาพหลงั ปรบั แตง่ ในบางช่องสี รปู ภาพ 9-12 ปรับสภี าพโดยการผสมสีด้วย Channel Mixer ท่มี า : อรทัย เลิศขนุ ทด (2559) การปรับแตง่ รปู ภาพ หนา้ 256
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟิก รหัส 2204-2105 9.1.11 ปรบั ภาพให้เป็นสีตรงกนั ขา้ มด้วย Invert การปรบั สขี องภาพดว้ ย Invert เปน็ การปรับภาพใหเ้ ปน็ สตี รงกันขา้ ม กล่าวงา่ ย ๆ คือ สีดาจะกลายเป็นสขี าว และสีขาวจะกลายเปน็ สีดา ถ้าดใู นแตล่ ะชอ่ งสที ่ีมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 255 ค่าสี ที่เป็น 255 จะเปลีย่ นแปลงค่า 0 หรอื คา่ สีท่ีเปน็ 5 จะเปลี่ยนเปน็ ค่า 250 เป็นต้น คาสงั่ น้จี ะใช้ปรับภาพจากฟิลม์ Negative ทแ่ี สกนข้นึ มา ให้เปน็ ภาพธรรมดาได้ (ฟิลม์ Negative คอื ฟลิ ์มท่มี ีการถา่ ยจากสีดาเปน็ สีขาวและสีขาวเปน็ สีดา เช่น ฟิล์มถ่ายภาพทั่ว ๆ ไป) โดยเลือกเมนูคาส่งั Image > Adjustments > Invert ดงั รูปภาพ 9-13 เลือกเมนูคาสั่ง Image > Adjustments > Invert ภาพต้นฉบบั ภาพหลงั จากปรบั ใหเ้ ป็นสตี รงกันข้าม รปู ภาพ 9-13 ปรบั ภาพใหเ้ ป็นสตี รงกันขา้ มดว้ ย Invert ทม่ี า : อรทัย เลศิ ขนุ ทด (2559) การปรบั แตง่ รูปภาพ หนา้ 257
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 9.1.12 ปรับระดบั โทนสใี นภาพดว้ ย Posterize เปน็ การกาหนดระดบั โทนสี (Level) ใหก้ บั แต่ละช่องสี (Channel) ของภาพ โดยถ้าเรา กาหนดระดบั โทนสีน้อยช้นั ก็จะมีจานวนสีในภาพไม่กสี่ ี แต่ถา้ กาหนดระดับโทนสมี ากข้นึ ก็จะมสี ี ในภาพเยอะสมี ากกวา่ ดงั รปู ภาพ 9-14 1. เลือกเมนูคาสง่ั Image > Adjustments > Posterize 2. จะปรากฏหน้าตา่ ง Posterize ขน้ึ มา (1) คลิกเลอื กเพ่อื ดูการเปลย่ี นแปลงขณะปรับ (2) กาหนดระดับโทนสี 3. เมื่อปรบั ไดค้ า่ ทตี่ ้องการแล้ว คลกิ เมาสท์ ป่ี ุม่ OK กาหนดระดับโทนสี ดูการเปลย่ี นแปลงขณะปรบั ภาพตน้ ฉบับ ภาพหลังปรบั แตง่ กาหนด ภาพหลงั ปรับแตง่ กาหนด Level เท่ากบั 5 Level เทา่ กบั 20 รปู ภาพ 9-14 ปรบั ระดบั โทนสใี นภาพด้วย Posterize ที่มา : อรทยั เลศิ ขุนทด (2559) การปรับแตง่ รปู ภาพ หน้า 258
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัส 2204-2105 9.1.13 ปรบั ภาพโดยดูตวั อยา่ งภาพผลลพั ธ์ด้วย Variations เปน็ การปรบั รูปภาพตามรูปแบบทม่ี ีให้เลอื ก โดยผใู้ ชง้ านสามารถเลอื กภาพจากสหี รือ ปรบั แสง โดยโปรแกรมจะแสดงตวั อยา่ งท้ังหมดขึน้ มาก่อน จากนน้ั ผใู้ ช้จึงเลอื กภาพทต่ี ้องการ เม่อื เปดิ ภาพขึน้ มาแลว้ ปรบั ภาพตามตวั อยา่ งสามารถทาได้ดังน้ี 1. เลอื กเมนูคาสั่ง Image > Adjustment > Variations… 2. จะปรากฏหนา้ ต่าง Variations จะแสดงตวั เลือกในการปรบั แต่งสี ดังนี้ - Original คอื ภาพท่เี ปน็ ต้นฉบับ (กรณีท่ีปรบั ภาพจนไดส้ ีผดิ เพ้ยี นไป สามารถเลือก ใหก้ บั มาเป็นภาพต้นฉบับเดิมได้) - Current Pick คอื ภาพผลลพั ธ์ของการปรบั แตง่ ภาพ เลอื กรปู แบบการปรบั แต่ง ได้แก่ - Shadows ปรบั ภาพในสว่ นที่เปน็ เงา - Midtones ปรับภาพในสว่ นทั่วไป - Highlights ปรบั ภาพในส่วนท่เี ป็นแสง - Saturation ปรับภาพใหเ้ ข้มหรือซีดจาง - Fine/Coarse ปรบั ภาพแบบละเอียด (Fine) หรอื แบบหยาบ (Coarse) - Show Clipping จะแสดงสีเพื่อให้เหน็ ว่าส่วนไหนถูกปรบั แตง่ (ไมม่ ผี ลเมื่อเราเลือก ปรับภาพส่วน Midtones ท่ีมีพืน้ ที่ปรบั แต่งกว้าง และจะไม่เหน็ ภาพผลลพั ธ์ เพราะการแสดงสีบงั ภาพ) คลิกเลือกภาพผลลัพธท์ ี่เกิดจากการปรับแต่งดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ - วธิ เี พ่ิมสี เชน่ เพ่ิมสีแดงให้คลกิ More Red - วธิ ีลดสี เช่น ลดสแี ดงให้คลกิ More Cyan (เลอื กสตี รงข้าม) คลิกเลอื กภาพผลลพั ธ์ทเ่ี กดิ จากการปรับความมืด/สว่าง - เพิ่มความสว่าง คลิกภาพ Lighter - เพิ่มความมืด คลกิ ภาพ Darker 3. เม่ือปรับได้ค่าทตี่ ้องการแล้ว คลกิ เมาสท์ ปี่ มุ่ OK ดงั รปู ภาพ 9-15 การปรบั แต่งรูปภาพ หน้า 259
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 ภาพต้นฉบับ ภาพทีป่ รับปัจจุบัน สเี ขยี วขึ้น สีเหลอื งขน้ึ สวา่ งข้นึ สฟี า้ ข้นึ สที ่ีปรบั ปจั จุบัน สีน้าเงนิ ขนึ้ สีแดงข้นึ ภาพที่ปรับปจั จบุ นั สมี ว่ งขน้ึ มืดขนึ้ ภาพต้นฉบับ ภาพหลังจากปรับแสงโดยคาสงั่ Variations รปู ภาพ 9-15 ปรบั ภาพโดยดตู ัวอย่างภาพผลลพั ธ์ดว้ ย Variations ท่มี า : อรทัย เลิศขนุ ทด (2559) การปรับแต่งรูปภาพ หนา้ 260
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 9.2 การใช้คาส่ัง Filter คาส่ัง Filter เปน็ คาสงั่ ที่ใช้ปรบั รูปภาพแบบอัตโนมัติ ซึ่งโปรแกรมได้เตรยี มรปู แบบพ้ืนฐานไว้ ใหใ้ นการใช้คาสงั่ ปรบั รปู ภาพโดยมี 2 ประเภท คอื แบบท่ีเหน็ ตัวอยา่ งก่อนกบั แบบทปี่ รับก่อนจงึ จะ เหน็ ผลลพั ธ์ เมื่อผู้ใช้เลือกรูปแบบการปรับ ผ้ใู ช้สามารถเลือกรายละเอียดเพ่ิมเติมในรปู แบบท่เี ลือกได้ หลังจากทีเ่ ปิดรปู ภาพท่ีต้องการปรบั ภาพแลว้ ให้ผูใ้ ชป้ รบั สที ่ี Foreground color และท่ี Background ก่อน เน่ืองจากมบี างคาสงั่ จะมีความสมั พนั ธ์กับสีทผี่ ู้ใชเ้ ลอื กด้วยในการใช้คาสง่ั Filter สามารถทาไดด้ งั นี้ 1. คลิกท่เี มนู Filter > Filter Gallery… 2. ปรากฏหนา้ ตา่ ง Filter Gallery (1) เลือกหวั ขอ้ ประเภท Filter ทีต่ อ้ งการ (2) เลือกรูปแบบของ Filter ทีต่ อ้ ง (3) ปรบั แตง่ รายละเอยี ดของ Filter ท่เี ลือก 3. เมือ่ ปรับได้ค่าทต่ี ้องการแลว้ คลกิ เมาส์ทีป่ ุ่ม OK ดังรูปภาพ 9-16 รปู ภาพ 9-16 การใชค้ าสงั่ Filter ท่ีมา : อรทยั เลิศขุนทด (2559) การปรบั แต่งรูปภาพ หน้า 261
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 ประเภท Artistic เปน็ การตกแต่งภาพ โดยการจาลองการวาด ทาใหร้ ปู ภาพที่ได้มีลักษณะเป็นแบบการวาด รูปแบบของ Artistic มีหลายรปู แบบใหเ้ ลอื ก เช่น Colored Pencil, Cutout, Dry Brush เป็นต้น ภาพตน้ ฉบบั รูปภาพ 9-17 การใช้คาสัง่ Filter ประเภท Artistic หน้า 262 ท่ีมา : อรทยั เลศิ ขุนทด (2559) การปรับแต่งรูปภาพ
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 รูปภาพ 9-17 (ตอ่ ) การใชค้ าสั่ง Filter ประเภท Artistic ทมี่ า : อรทัย เลศิ ขุนทด (2559) การปรับแตง่ รปู ภาพ หนา้ 263
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 ประเภท Brush Strokes เป็นการตกแตง่ ภาพ ใหเ้ ป็นภาพ ลายเสน้ ทาให้รปู ภาพที่ไดม้ ลี ักษณะเปน็ แบบการวาด รูปแบบ ของ Brush Strokes มหี ลายรูปแบบให้เลือก เชน่ Accented Edges, Angled Strokes, Crosshatch เปน็ ต้น ภาพตน้ ฉบบั รปู ภาพ 9-18 การใชค้ าสงั่ Filter ประเภท Brush Strokes หนา้ 264 ทม่ี า : อรทยั เลิศขุนทด (2559) การปรับแตง่ รูปภาพ
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหัส 2204-2105 ประเภท Distort เป็นการตกแต่งภาพ ให้เปน็ ภาพทผี่ ดิ เพีย้ น หรอื บิดเบอื นไป Distort มี 3 รปู แบบ คอื Diffuse Glow, Glass และ Ocean Ripple ภาพต้นฉบบั รูปภาพ 9-19 การใช้คาสง่ั Filter ประเภท Distort ทม่ี า : อรทัย เลิศขนุ ทด (2559) การปรับแต่งรปู ภาพ หนา้ 265
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟิก รหัส 2204-2105 ประเภท Sketch เป็นการตกแตง่ ภาพ ให้เปน็ ภาพวาด ซงึ่ มี หลายรูปแบบ เชน่ Bas Relief, Chalk & Charcoal, Charcoal เปน็ ตน้ ภาพต้นฉบับ รปู ภาพ 9-20 การใช้คาส่ัง Filter ประเภท Sketch หน้า 266 ทีม่ า : อรทัย เลิศขนุ ทด (2559) การปรับแต่งรปู ภาพ
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 รปู ภาพ 9-20 (ต่อ) การใช้คาสงั่ Filter ประเภท Sketch ทีม่ า : อรทัย เลิศขุนทด (2559) ประเภท Stylize เปน็ การตกแตง่ ภาพ ให้เปน็ รูปแบบโทนมืด เชน่ Glowing Edges ภาพต้นฉบับ รูปภาพ 9-21 การใชค้ าสัง่ Filter ประเภท Stylize ท่ีมา : อรทยั เลิศขุนทด (2559) การปรบั แตง่ รูปภาพ หน้า 267
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 ประเภท Texture เปน็ การเพ่มิ ลวดลายตา่ ง ๆ ลงในภาพ ทาให้ รปู ภาพดแู ปลกตา ซึ่งมีหลายรูปแบบให้เลือก เช่น Craquelure, Grain, Mosaic Tiles เปน็ ต้น ภาพตน้ ฉบบั รูปภาพ 9-22 การใชค้ าสัง่ Filter ประเภท Texture ทีม่ า : อรทัย เลศิ ขุนทด (2559) การปรบั แตง่ รูปภาพ หนา้ 268
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 9.3 การใช้คาส่ัง Liquify เพ่อื ปรบั รูปทรงของรูปภาพ Liquify เปน็ คาสง่ั ที่ใช้สาหรบั บิดเบือนภาพ ด้วยวิธีระบายในลกั ษณะของการลากหรือ ดนั พิกเซลตรงบริเวณทต่ี ้องการ คาสงั่ นมี้ ปี ระโยชนห์ ลายอย่าง เชน่ ใชป้ รับปรุงรูปรา่ งของบคุ คล ให้อว้ นข้ึน หรอื ผอมลง สรา้ งภาพลอ้ เลยี นด้วยการปรบั ให้บุคคลหรอื วัตถบุ ูดเบ้ียว บิดภาพให้หมุนวน ตลอดจนการสรา้ งเอฟเฟ็คต์ วิธีการเรยี กใช้คาสงั่ ดังรูปภาพ 9-23 รูปภาพ 9-23 การเรียกใช้คาสัง่ Liquify ทมี่ า : จากโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ตารางที่ 9-1 เครื่องมอื คาสง่ั Liquify เครอื่ งมอื ช่ือเครอ่ื งมอื ความสามารถของเครอื่ งมือ เกลยี่ ภาพ Forward Warp Tool ย้อนกลับการเกล่ยี ภาพ บีบภาพ Reconstruct tool ขยายภาพ ดงึ ภาพ Pucker tool ยา้ ยตาแหน่งภาพในกรณที ่ีภาพใหญเ่ กนิ ทีจ่ ะแสดงผล ขยายภาพ หากคลกิ ขวาท่ภี าพจะมเี มนูยอ่ ยใหเ้ ลอื ก Bloat tool Push left tool Hand tool Zoom tool การปรับแต่งรูปภาพ หน้า 269
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 วิธใี ช้งานคาส่ัง Liquify ดงั นี้ 1. เปิดรปู ภาพทต่ี ้องการ 2. เข้าเมนู Filter > Liquify... 3. ปรากฏหนา้ ตา่ งท่ีใชใ้ นการปรับแตง่ 4. ปรบั หวั แปรงตามท่ีต้องการ 5. เลือกรปู แบบของการปรับรปู ทรง แล้วคลกิ ที่ภาพ ดงั รปู ภาพ 9-24 ภาพต้นฉบบั เกล่ยี ภาพหน้าเรียวขน้ึ คว้ิ โกง่ ยอ้ นกลบั การเกล่ยี ภาพ บบี ภาพใหน้ างแบบตาและปากเล็กลง ขยายภาพให้นางแบบตาโตขึ้น รูปภาพ 9-24 วธิ ใี ช้งานคาส่ัง Liquify ที่มา : อรทยั เลิศขนุ ทด (2559) การปรับแตง่ รปู ภาพ หน้า 270
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 ดงึ ภาพให้นางแบบหนา้ ใหญ่ขึ้น ยา้ ยตาแหนง่ ภาพในกรณที ่ีภาพใหญเ่ กนิ ท่ีจะแสดงผล ขยายภาพ หากคลกิ ขวาท่ภี าพจะมเี มนยู ่อยใหเ้ ลือก รปู ภาพ 9-24 (ตอ่ ) วิธีใชง้ านคาส่ัง Liquify ทมี่ า : อรทัย เลิศขุนทด (2559) การปรับแต่งรูปภาพ หนา้ 271
เอกสารประกอบการเรยี นวิชาโปรแกรมกราฟิก รหสั 2204-2105 สรปุ สาระสาคญั โปรแกรม Adobe Photoshop เป็นดังสตดู โิ อตกแต่งภาพท่ีเราสามารถนาภาพตา่ ง ๆ มาปรบั แตง่ สี ปรับโทนความสวา่ ง แก้สีเพี้ยน เตมิ สใี นบางส่วนของภาพใหด้ ูน่าสนใจ และการตกแตง่ สี ด้วยเทคนคิ พิเศษหรือเพือ่ ให้กาเนิดภาพทีแ่ ปลกใหม่ได้ เชน่ การทา Image Retouching ภาพคนแก่ ใหม้ ีวยั ทเี่ ด็กขน้ึ การสร้างภาพตามจนิ ตนาการ และการใช้ภาพกราฟกิ ในการนาเสนอข้อมูลตา่ ง ๆ เพือ่ ให้สามารถสื่อความหมายไดต้ รงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการและนา่ สนใจยง่ิ ขน้ึ ด้วยกราฟ แผนภมู ิ แผนภาพ เปน็ ต้น การนาภาพถ่ายมาใช้งานควรปรบั แต่งรูปภาพให้เหมาะสมกับแต่ละคน ซงึ่ การปรบั แต่ง รูปภาพสามารถทาไดห้ ลายวิธีข้นึ อยกู่ ับความเหมาะสมของงาน เชน่ หากต้องการรปู ภาพโทนสเี ขียว ก็ควรใชค้ าสั่งปรบั ความสมดลุ ของสี แลว้ เลือกเฉดสีทีเ่ หมาะสม เปน็ ตน้ คาสัง่ Filter เปน็ คาส่ังท่ใี ชป้ รบั รปู ภาพแบบอตั โนมัติ ซง่ึ โปรแกรมได้เตรียมรูปแบบพื้นฐานไว้ ให้ในการใชค้ าส่ังปรบั รปู ภาพโดยมี 2 ประเภท คอื แบบท่ีเห็นตัวอย่างก่อนกบั แบบทปี่ รับก่อนจงึ จะ เหน็ ผลลัพธ์ เม่อื ผู้ใช้เลือกรูปแบบการปรับ ผูใ้ ช้สามารถเลือกรายละเอยี ดเพิ่มเติมในรูปแบบทเ่ี ลอื กได้ หลังจากทีเ่ ปิดรูปภาพทต่ี ้องการปรบั ภาพแล้วให้ผใู้ ช้ปรับสที ี่ Foreground color และที่ Background กอ่ น เน่ืองจากมบี างคาส่งั จะมีความสมั พนั ธ์กับสีที่ผ้ใู ช้เลอื ก คาสงั่ Liquify เป็นคาสัง่ ท่ีใช้สาหรบั บิดเบอื นภาพ ด้วยวธิ ีระบายในลกั ษณะของการลากหรือ ดนั พกิ เซลตรงบริเวณทต่ี ้องการ คาส่งั นมี้ ีประโยชน์หลายอย่าง เช่น ใช้ปรับปรุงรูปร่างของบุคคลให้ อว้ นข้ึน หรือผอมลง สรา้ งภาพลอ้ เลียนด้วยการปรบั ใหบ้ ุคคลหรอื วตั ถุบูดเบย้ี ว บดิ ภาพใหห้ มนุ วน ตลอดจนการสร้างเอฟเฟ็คต์ การปรบั แตง่ รูปภาพ หน้า 272
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 แบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 เรอื่ ง การปรับแต่งรปู ภาพ คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปน้ใี หส้ มบรู ณ์ทีส่ ดุ 1. จงอธบิ ายความหมายของคาสัง่ ท่ีใช้ในการปรับแต่งรูปภาพ ดงั ต่อไปน้ี 1.1 Brightness/Contrast ………………………………………………………………………………….. ................................................................................................................................................................ 1.2 Exposure …………………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................ 1.3 Auto Tone ………………………………………………………………………………………………... .................................................................................................................................................... ............ 1.4 Auto Contrast …………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................ 1.5 Auto Color ……………………………………………………………………………………………….. ................................................................................................................................................................ 1.6 Hue/Saturation ………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................ 1.7 Color Balance ………………………………………………………………………………………….. ................................................................................................................................................................ 1.8 Black & White …………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................ 1.9 Photo Filter ……………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................ 1.10 Channel Mixer ……………………………………………………………………………………….. ............................................................................................................................................................ .... การปรบั แตง่ รปู ภาพ หน้า 273
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 2. จงอธิบายความหมายของคาส่ัง Filter ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ...... ................................................................................................................................................................ 3. จากคาส่งั Liquify จงบอกช่ือเครื่องมอื และความสามารถของเครือ่ งมือดังตอ่ ไปนี้ เคร่ืองมอื ชอ่ื เคร่ืองมือ ความสามารถของเคร่ืองมือ การปรับแต่งรปู ภาพ หนา้ 274
เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหัส 2204-2105 ใบงานทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 เรอื่ ง การปรับแตง่ รปู ภาพ จดุ ประสงค์ 1. ปรบั แตง่ รปู ภาพได้ 2. ใช้คาสง่ั Filter ได้ 3. ใชค้ าสั่ง Liquify ได้ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. แบ่งนกั เรยี นออกเปน็ กล่มุ กล่มุ ละ 2 คน ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียน 2. ชมการสาธติ แนะนาการใชโ้ ปรแกรม Adobe Photoshop โดยครผู ้สู อน 3. นกั เรยี นฝึกปฏิบตั ติ ามหวั ขอ้ ท่มี อบหมาย คาช้แี จง จงปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ ต่อไปน้ใี ห้สมบรู ณ์ ขอ้ กาหนดในการสรา้ งไฟลภ์ าพมดี ังต่อไปน้ี ขนาดพนื้ ท่ใี นการทางานไฟล์ภาพ กวา้ ง 29 cm สงู 21 cm ความละเอยี ดของภาพ (Resolution) 150 Pixels โหมดสีของภาพ CMYK พนื้ หลงั White 1. จงนาภาพท่นี ักเรียนมีความสนใจนามาตกแต่งภาพใหเ้ กิดความแตกต่างและสวยงาม บนั ทึก ไฟล์ช่ือ “ใบงานหน่วยที่9.PSD” และ “ใบงานหน่วยท่ี9.jpg” สามารถค้นหาภาพได้จากระบบ Internet 2. พมิ พ์ไฟลภ์ าพ “ใบงานหนว่ ยที่9.jpg” ขนาดกระดาษ A4 ออกทางเครือ่ งพิมพ์ การปรับแต่งรูปภาพ หน้า 275
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าโปรแกรมกราฟกิ รหสั 2204-2105 ตัวอย่างภาพก่อนและหลังการทา Image Retouching การปรบั แตง่ รูปภาพ หน้า 276
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: