Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Architectural Thinking

Architectural Thinking

Published by uraiwan91921, 2019-09-18 04:42:58

Description: วิชามูฐานการออกแบบ
วันที่ 18 กย.62
อาจารย์อุไรวรรณ เมฆา

Keywords: Architectural,วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี

Search

Read the Text Version

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน การออกแบบสถาปัตยกรรม แบ่งข้นั ตอนในการออกแบบได้ 4 ข้นั ตอนดงั นี้ ข้นั ตอนท่ี 1 การกาหนดโครงการ ( Architectural Programming ) ข้นั ตอนท่ี 2 การออกแบบเบ้ืองตน้ (Schematic Design) ข้นั ตอนท่ี 3 พฒั นาการออกแบบ (Design development) ข้นั ตอนท่ี 4 การเขียนแบบก่อสร้าง (Construction Drawing) ซ่ึงแต่ละข้นั ตอนมีรายละเอียดดงั น้ี

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน ข้นั ตอนที่ 1 - การกาหนดโครงการ (Architectural Programming) เป็ นการให้คาปรึกษา และขอขอ้ มูลสาหรับการวิเคราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐาน เพื่อใชเ้ ป็นการวางแผนกาหนดแนว ทางการออกแบบ ไดแ้ ก่ 1. ความตอ้ งการใชส้ อย ( Function ) ศกั ยภาพของที่ต้งั อาคาร 2. บริบท ( Context) 3. งบประมาณเบ้ืองตน้ ( Budgets) ทาการสรุปความตอ้ งการข้นั ตน้ ของ ลูกคา้ โดยในข้นั ตอนน้ีอาจจะมีการพบปะพูดคุยระหว่างสถาปนิก และลูกคา้ มากกว่า 1 คร้ังเพ่ือปรับความเขา้ ใจต่างๆ ให้ตรงกัน และบ่อยคร้ังที่ลูกคา้ ใช้การพูดคุยใน ข้นั ตอนน้ีเพื่อพิจารณาตวั สถาปนิก ว่าสามารถทางานดว้ ยกนั ได้หรือไม่ น่าเช่ือถือ เพียงใด

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน ข้นั ตอนท่ี 2 การออกแบบเบื้องต้น (Schematic Design) เป็นการ สงั เคราะห์ขอ้ มูลที่ไดร้ ับ ซ่ึงผา่ นการอนุมตั ิจากลูกคา้ แลว้ มาพฒั นาเป็นแบบ ร่างอยา่ งง่ายๆ เพื่อเริ่มออกแบบ

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน - สถาปนิกจะทาการวางแนวความคิดในการออกแบบ (Preliminary Concept) - ผงั พ้นื ท่ีในการใชส้ อย ใหก้ บั ลูกคา้ ทาการ พจิ ารณา รูปแบบการออกแบบ (Style) - กาหนดคุณภาพของพ้ืนท่ีการใชง้ านต่างๆ (Quality of space) - จดั วางพ้นื ที่ลงไปในท่ีต้งั เพ่ือหาตาแหน่งท่ีเหมาะสม (Zoning) - วางผงั พ้ืนที่ใชส้ อย อยา่ งง่ายๆ (Lay-out Plan) - ผนวกแนวความคิด (Concepts) - ความเป็นเอกลกั ษณ์ ของโครงการมาสร้างรูปทรงท่ีสอดคลอ้ งกบั บริบท และการ ใชง้ าน (Schematic design)

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน - การเสนองบประมาณค่าใชจ้ ่าย (Preliminary Budget ) เพื่อให้ลูกคา้ ทาการ พิจารณาการแบ่งพ้ืนที่ท้งั หมดว่าตรงกบั ความตอ้ งการใชง้ านจริงของลูกคา้ หรือไม่ เมื่อผ่านข้นั ตอนน้ีแลว้ ลูกคา้ จะเริ่มเขา้ ใจและมองเห็นหน้าตาของงาน ออกแบบที่สถาปนิกจะพฒั นาในข้นั ตอนต่อไป และลูกคา้ อาจจะขอปรับแบบ ได้ แต่ไม่ควรจะแกไ้ ขแบบจนผดิ ไปจากแนวความคิดในการออกแบบและผงั ที่ไดว้ างเอาไว้ เพราะจะทาใหส้ ถาปนิกตอ้ งกลบั ไปเร่ิมตน้ ใหม่ท้งั หมด ซ่ึงจะ ทาใหง้ านออกแบบยดื เย้อื ไม่เสร็จในระยะเวลาที่กาหนด

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน ข้นั ตอนที่ 3 พฒั นาการออกแบบ (Design development) - กาหนด ขนาดพ้นื ที่การใชง้ านและทางสญั จรที่เหมาะสม (Area requirement and circulation) - รายละเอียด ช่องเปิ ด ประตู สุขภณั ฑเ์ ฟอร์นิเจอร์ (Detailed design) - ระบุวสั ดุที่ใชใ้ นการก่อสร้าง รวมถึงวสั ดุตกแต่ง (Materials) - กาหนดระดบั ความสูง ตาแหน่งระยะ (Level & Dimension) สถาปนิกมกั จะนาเสนอเป็นภาพ Perspective หรือ Model ที่ ใกลเ้ คียงกบั งาน ออกแบบ ท่ีจะสร้างจริงมากที่สุด และในข้นั ตอนน้ีลูกคา้ อาจจะขอแกไ้ ขแบบ ร่าง ในส่วนรายละเอียดไดบ้ า้ ง เนื่องจากแบบในข้นั ตอนน้ี มกั จะไดร้ ับการ อนุมตั ิจากแบบร่างข้นั ตน้ เกือบท้งั หมดแลว้

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน พฒั นาการออกแบบ (Design development)

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน พฒั นาการออกแบบ (Design development)

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน ข้นั ตอนที่ 4 การเขียนแบบก่อสร้าง (Construction Drawing) เป็นการ เขียนแบบก่อสร้าง เพอื่ ใชเ้ ป็นแบบอา้ งอิงท่ีมี - การกาหนดระยะขนาด และ ระบุวสั ดุที่ใช้ (Dimension & Materials) - การนาเสนอในรูปแบบ ผงั บริเวณ แปลน รูปดา้ น และ รูปตดั (Plan Elevation & Section) -ในกรณีท่ีแบบมีความซบั ซอ้ น จาเป็นตอ้ งเพ่มิ แบบขยายรายละเอียด (Detailed design) โครงสร้างหลงั คา บนั ได ราวจบั รวมถึง ประตู หนา้ ต่าง หอ้ งน้า เป็นตน้

แนวทางการออกแบบพืน้ ฐาน การเขยี นแบบก่อสร้าง (Construction Drawing)

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ เสน้ ใชใ้ นการแบ่งพ้นื ท่ีหรือสร้างส่วนประกอบต่างๆข้ึนมา เสน้ แต่ ละชนิดกบ็ ่งบอกถึงอารมณ์งานที่ต่างกนั ได้ - เส้นต้งั (Vertical Lines)ใหค้ วามรู้สึก สูง แขง็ แรง มี ระเบียบ - เส้นนอน (Horizontal Lines) ใหค้ วามรู้สึก สงบ ร่มเยน็ ราบเรียบ - เสน้ ทแยง (Diagonal Lines) ใหค้ วามรู้สึก เคล่ือนไหว หรือการไม่อยนู่ ่ิง ไม่มนั่ คง - เสน้ ปะ ใหค้ วามรู้สึก ความไม่เป็นระเบียบ - เสน้ โคง้ (Curved Lines) ใหค้ วามรู้สึก อ่อนชอ้ ย - เสน้ ซิกแซก (Zigzag Lines) ใหค้ วามรู้สึก ตะกกุ ตะกกั ไม่เรียบร้อย

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ สีคือส่ิงท่ีกาหนด Mood and Tone และสร้างความแตกต่างใหก้ บั งาน เรา ซ่ึงมนั จะอยใู่ นเสน้ รูปทรง พ้ืนผวิ พ้นื หนงั และตวั หนงั สือต่างๆ

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ รูปร่างเป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มความน่าสนใจใหก้ บั งานหรือจะใชเ้ นน้ ส่วนประกอบ ใน”งานออกแบบ” ซ่ึงรูปทรงแต่ละแบบกม็ ีความหมายในทางที่ต่างกนั

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ พ้ืนท่ีสามารถสร้างรูปทรงท่ีแปลกตาข้ึนมาได้ มกั จะนาไปใชใ้ น โลโก้ หรือ งานออกแบบ ท่ีตอ้ งการแฝงความหมายต่างๆ เอาไว้

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ พ้ืนผวิ สามารถสร้างลกั ษณะสามมิติใหก้ บั งาน และสร้างสรรคใ์ หง้ าน ออกมาสมจริงได้

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ การเลือกสไตลข์ องตวั อกั ษรกม็ ีความสาคญั เพราะมนั กเ็ ป็นอีกหน่ึงสิ่งที่คอย บอกอารมณ์ของงานออกมา

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ เล่นกบั ขนาดของรูปทรงหรือแมแ้ ต่ตวั อกั ษรจะช่วยเพิ่มความน่าสนใจ ใหก้ บั งานได้

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ สร้างองคป์ ระกอบหลกั ท่ีเป็นจุดเด่นของงาน และสร้างองคป์ ระกอบรองเพอ่ื ส่งเสริมใหง้ านของเราดูมี Contrast และมนั จะยง่ิ ช่วยใหอ้ งคป์ ระกอบหลกั ของ เราเด่นข้ึนมา

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ สร้างสมดุลใหก้ บั งานเป็นส่ิงสาคญั ลองสังเกตุและมองไปรอบๆ งานของคุณ ใหด้ ีๆ เม่ือไหร่ท่ีรู้สึกวา่ มนั เอียงหรือดึงดูดสายตาไปทางมุมไหนมากเกินไป นน่ั แสดงวา่ สมดุลในงานของคุณไม่ดี ลองแกไ้ ขโดยการวางองคป์ ระกอบอะไรสกั อยา่ งเขา้ ไปอีกดา้ น

พืน้ ฐานองค์ประกอบการออกแบบ รายละเอียดองคป์ ระกอบในงานเราควรจะมีความสอดคลอ้ งไปดว้ ยกนั ไดไ้ ม่ขดั กนั จะทาให้ งานออกแบบ ของเราดูสมบูรณ์ที่สุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook