Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ch2 solution

ch2 solution

Published by chupachups, 2019-10-25 03:13:22

Description: It's about solution in daily life.
Have fun :)

Keywords: solution

Search

Read the Text Version

การเลือกตวั ทาละลายท่นี ามาใช้ในการสกดั มหี ลักท่วั ไป ดงั นี้ 1. ต้องละลายสารท่ตี ้องการสกัดได้ดี 2. ไม่ทาปฏกิ ริ ิยากับสารท่ตี ้องการสกดั 3. ถ้าต้องการแยกสี ตวั ทาละลายจะต้องไม่มสี ี ถ้าต้องการแยกกล่นิ ตวั ทาละลาย ต้องไม่มีกล่นิ 4. ไม่มีพษิ มีจุดเดือดต่า และแยกตัวออกจากสารท่ตี ้องการสกดั ได้ง่าย 5. มรี าคาถกู

นา้ โทลูอีน เบนซีน เอทานอล ตวั ทาละลาย สาหรับการสกดั นา้ มันพืชนิยมใช้ ท่นี ิยมใช้ใน “เฮกเซน” การสกัด เม่อื ใช้เฮกเซนสกัดนา้ มนั ออกจากพชื เฮกเซน แล้วต้องนาสารละลายท่ไี ด้ไปกล่นั เพ่ือ แยกเฮกเซนออกไปจากสารท่สี กัดได้ อีเทอร์ ต่อจากนัน้ จงึ กาจดั สีและกล่นิ จนได้ นา้ มันพชื บริสุทธ์ิ

Activity ท้ายบท : การใช้ตวั ทาละลายอย่างถกู ต้องและปลอดภยั ทาได้อย่างไร  จดุ ประสงค์ : วเิ คราะห์ข้อมลู และระบุแนวทางการใช้ตัวทาละลายต่าง ๆ อย่าง ถูกต้องและปลอดภยั Book p. 26 30 min

answer

answer

ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท ในใบกจิ กรรม หน้า 15-18 I love homework  ครงั้ หน้า ส่งใบกิจกรรม หน้า 1-18 (10 คะแนน)

บทท่ี 2 ความเข้มข้นของสารละลาย

เรอ่ื งท่ี 1 ความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหน่วยรอ้ ยละ (5 hr.)

ทบทวนความรกู้ อ่ นเรยี น ในหนงั สอื หน้า 31

รอู้ ะไรบา้ งก่อนเรียน เคร่ืองด่ืมชนิดหน่ึงมปี ริมาตร 250 cm3 และมฉี ลากกากบั ดังนี้ ingredient %W/V water 70 sugar 25 salt 3 2 Natural flavoring เคร่ืองด่มื ขวดนี้ มีนา้ ตาลทรายและเกลือเป็ นองค์ประกอบอย่างละก่กี รัม Ans. มีนา้ ตาลทรายเป็ นองค์ประกอบ ….. กรัม มีเกลือเป็ นองค์ประกอบ .................. กรัม

เคร่ืองด่มื ชนิดนีม้ ีสารแต่งสแี ละกล่นิ เลียนแบบธรรมชาตอิ ยู่ร้อยละ 2 โดยมวลต่อปริมาตร มีความหมายว่าอย่างไร • สารแต่งสีและกล่นิ เลียนแบบธรรมชาติ มวล 2 กรัม • ละลายอย่ใู น สารละลายปริมาตร 100 cm3 เคร่ืองด่มื ชนิดนีม้ ีนา้ ตาลอยู่ร้อยละ 25 โดยมวลต่อปริมาตร มีความหมายว่าอย่างไร • นา้ ตาลมวล 25 กรัม • ละลายอย่ใู น สารละลายปริมาตร 100 cm3

Activity 2.5 : ระบคุ วามเขม้ ขน้ ของสารละลายในหน่วยร้อยละได้อย่างไร  จุดประสงค์ : สังเกตและระบปุ ริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความ เข้มข้นเป็ นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร และโดยปริมาตรต่อปริมาตร Book p. 33 1 hour 30 minute

ตวั อย่างผลการทากิจกรรม ตอนท่ี 1 บกี เกอร์ มวลของจุนสี (กรัม) ปริมาตรของสารละลาย (cm3) สีของสารละลาย ใบท่ี 12 100 ฟ้ า 24 200 ฟ้ า

คาถามท้ายกิจกรรม ตอนท่ี 1

ตวั อย่างผลการทากิจกรรม ตอนที่ 2 บกี เกอร์ใบท่ี ปริมาตรของเอทานอลผสมสี ปริมาตรของสารละลาย สขี อง (cm3) (cm3) สารละลาย 1 20 100 2 10 100 แดงเข้ม แดง

คาถามท้ายกิจกรรม ตอนท่ี 2

คาถามท้ายกิจกรรม ตอนท่ี 2

ร้ อยละโดยมวลต่ อปริมาตร  การเตรียมสารละลายโดยละลายตัวละลายท่เี ป็ นของแขง็ ในของเหลว นิยมระบุความ เข้มข้นของสารละลายโดยบอกมวลตัวละลายท่ีอย่ใู นสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร เรียกหน่วยความเข้มข้นนีว้ ่า ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร ร้อยละมวลต่อปริมาตร (mass/volume) % (m/v) = มวลของตวั ละลาย (g) x 100% ปริมาตรสารละลาย (cm3) ร้อยละมวลต่อปริมาตร (weight/volume) x 100% % (m/v) = มวลของตวั ละลาย (kg) ปริมาตรสารละลาย (L)

Example 1 : เมอ่ื ละลายจนุ สี 7 กรมั ได้สารละลายที่มี ปริมาตร 250 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร สารละลายจนุ สีนี้มคี วาม เขม้ ขน้ เท่าใดในหน่วยรอ้ ยละโดยมวลต่อปริมาตร Example 2 : น้าตาลทราย 51 กรมั จะสามารถเตรียม น้าเช่ือมที่มีความเขม้ ข้นรอ้ ยละ 17 โดยมวลต่อปริมาตร ได้มาก ที่สดุ ก่ีลกู บาศกเ์ ซนติเมตร

ทาชวนคิด ในใบกิจกรรม หน้า 21-22 ขอ้ 1-2

ร้อยละของตวั ละลาย ร้อยละโดยปริมาตร (volume/volume) % (v/v) = ปริมาตรตวั ละลาย (cm3) x 100% ปริมาตรสารละลาย (cm3) ร้อยละโดยมวล (mass/mass) % (m/m) = มวลตวั ละลาย (g) x 100% มวลสารละลาย (g)

Example 3 : แกส๊ หงุ ต้มเป็นสารละลายของแกส๊ โพรเพนและ บิวเทน ถ้าแกส๊ หงุ ต้มถงั หนึ่งปริมาตร 30 ลิตร มแี กส๊ บิวเทนเป็น องคป์ ระกอบอยู่ 7.5 ลิตร แกส๊ หงุ ต้มถงั นี้มีความเขม้ ข้นของแกส๊ บิ วเทนรอ้ ยละเท่าใดโดยปริมาตรต่อปริมาตร Example 4 : สารละลายชนิดหนึ่งมีมวล 25 กรมั มกี รด ไฮโดรคลอริกละลายอยู่ 3 กรมั สารละลายกรดไฮโดรคลอริกนี้มี ความเขม้ ขน้ เท่าใดในหน่วยรอ้ ยละโดยมวลต่อมวล

ทาชวนคิด ในใบกิจกรรม หน้า 22 ขอ้ 3-5

หน่วยความเข้มข้นเป็น ppm, ppb ppm = part per million (ส่วนในลา้ นส่วน) ppb = part per billion (ส่วนในพนั ลา้ นส่วน) เช่น ในแหล่งนา้ แห่งหน่ึงมีสารตะก่วั ปนเปื้อน 0.1 ppm หมายความว่า นา้ ในแหล่งนา้ นัน้ 1 ล้านกรัมมีตะก่วั ละลายอยู่ 0.1 กรัม หรือ สารละลายเข้มข้น 1 ppm หมายถงึ มีตวั ละลาย 1 กรัม ในสารละลาย 106 กรัม หน่วยเหล่าน้ีนิยมใชส้ าหรับบอกความเขม้ ขน้ ในระดบั ต่าๆ ของสาร เช่น ไอออนท่ีเจือปนในน้าดื่ม

ppm = ปริมาณของตวั ละลาย x 106 ปริมาณของสารละลาย ppb = ปริมาณของตวั ละลาย x 109 ปริมาณของสารละลาย

ตวั อย่าง ผลการวิเคราะห์นา้ ตวั อย่างหน่ึงพบว่ามีตะกวั่ 3.5 x 10-3 กรัมต่อ สารละลาย 250 มิลลลิ ติ ร จงคานวณความเข้มข้นของสารละลายตะกวั่ นีใ้ น หน่วย ppm และ ppb คานวณความเข้มข้นในหน่วย ppm สารละลาย 250 cm3 มีตะก่วั = 3.5 x 10-3 กรัม สารละลาย 106 cm3 มีตะก่ัว = 3.5 x 10-3 x 106 = 14 กรัม 250 ดงั นัน้ สารละลาย Pb นีม้ ีความเข้มข้น 14 ppm คานวณความเข้มข้นในหน่วย ppb สารละลาย 250 cm3 มตี ะกวั่ = 3.5 x 10-3 กรัม สารละลาย 109 cm3 มีตะกว่ั = 3.5 x 10-3 x 109 = 14,000 กรัม 250 ดังน้ันสารละลาย Pb นีม้ ีความเข้มข้น 14,000 ppb

What is Alloys?  An alloy is a combination of a metal with at least one other metal or nonmetal.The combination must be part of a solid solution, a compound, or a mixture with another metal or nonmetal in order for it to be considered an alloy.The most common way to combine metals into an alloy is by melting them, mixing them together, and then allowing them to solidify and cool back to room temperature.

กิจกรรมท้ายบท : นาสารละลายท่ีมีความเขม้ ขน้ ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ได้ อย่างไร  จุดประสงค์ : สืบค้นข้อมูลและยกตวั อย่างการนาความรู้เร่ืองความ เข้มข้นของสารละลายมาใช้ประโยชน์อย่างถกู ต้องและปลอดภยั  ทาใน A4 ร้อยปอนด์ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม (ถ้ามีความ pop-up จะพจิ ารณาคะแนนความสวยงามเป็ นพเิ ศษ)  10 คะแนน แบ่งเป็ น เนือ้ หา 5 คะแนน ความสวยงาม 5 คะแนน

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท ในใบกจิ กรรมหน้า 22-24

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท ในใบกจิ กรรมหน้า 22-24





ทาแบบฝึ กหดั ท้ายหน่วย ในหนังสือหน้า 45-47 Next time : mini test 1. Nature of science 2. solution


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook