Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Digital Intelligence Quotient

Digital Intelligence Quotient

Published by Suphannasa Chawkhuwiang, 2021-08-24 06:41:26

Description: รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

คำนำ งานนาเสนอเร่ือง ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) เป็นสว่ นหน่ึงของวชิ านวตั กรรมและ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การสือ่ สารการศกึ ษา PC63506 โดยมีจดุ ประสงคเ์ พื่อให้ผู้อา่ นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรือ่ งความ ฉลาดทางดิจิทัล สามารถเตรยี มตัวและรับมือกับสถานการณใ์ นโลกออนไลน์ นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ผ้จู ดั ทาหวังว่า รายงานน้ีจะเป็นประโยชนก์ บั ผู้อ่าน หรือนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทกี่ าลังหาข้อมูลเร่อื งนอ้ี ยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรอื ข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทาขอนอ้ มรับไว้และขออภยั มา ณ ทนี่ ี้ด้วย สพุ รรณษา ชาวคูเวียง ผ้จู ัดทา

สารบัญ หนา้ เรือ่ ง 1 ความฉลาดทางดจิ ิทลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คอื อะไร? 8 ทักษะ 3 ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 4 ทักษะในการรักษาขอ้ มูลสว่ นตวั (Privacy Management) 5 ทกั ษะในการคิดวเิ คราะหม์ ีวจิ ารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking) 6 ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) 7 ทกั ษะในการรับมือกบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) 8 ทกั ษะในการบรหิ ารจัดการขอ้ มูลทผ่ี ใู้ ชง้ านทิง้ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 9 ทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) 10 ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy) 11 บรรณานุกรม

ความฉลาดทางดิจทิ ลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คืออะไร?

คอื กลมุ่ ของความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรบั รู้ ทีจ่ ะทาให้คนคนหนึง่ สามารถเผชญิ กับความ ทา้ ทายบนเสน้ ทางของชีวิตในยคุ ดจิ ิทลั และสามารถปรับตวั ให้เขา้ กับชีวิตดิจทิ ลั ได้ ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุมทงั้ ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละคา่ นยิ มท่ีจาเป็นตอ่ การใชช้ ีวติ ในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กลา่ วอีกนยั หน่ึงคือ ทกั ษะการใช้ ส่อื และการเข้าสังคมในโลกออนไลน์

ทกั ษะในกำรรักษำอัตลกั ษณท์ ี่ดขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมคี วามสามารถในการสร้างสมดุล บรหิ ารจัดการ ออนไลนถ์ อื เปน็ ปรากฏการณใ์ หม่ ท่ที าให้บคุ คลสามารถ แสดงออกถงึ ความเปน็ ตัวตนต่อสงั คมภายนอก โดยอาศยั ชอ่ งทางการสอ่ื สารผา่ นเวบ็ ไซต์เครือข่ายสงั คม ในการอธิบายรปู แบบใหมข่ องการสอ่ื สารแบบมีปฏิสัมพนั ธ์ ทางอนิ เทอรเ์ น็ต ซึ่งเป็นการแสดงออก เก่ียวกบั ตวั ตนผ่านเวบ็ ไซต์เครือขา่ ยสังคมตา่ งๆ

ทักษะในกำรรกั ษำขอ้ มูลสว่ นตัว (Privacy Management) ดุลพินิจในการบรหิ ารจัดการข้อมลู สว่ นตวั โดยเฉพาะการแชรข์ อ้ มูลออนไลนเ์ พอ่ื ปอ้ งกัน ความเป็นส่วนตัวท้ังของตนเองและผอู้ ื่น เป็นสิ่งสาคญั ทต่ี ้องประกอบอยใู่ นพลเมืองดจิ ิทลั ทุกคน และพวกเขาจะตอ้ งมีความตระหนกั ในความเทา่ เทียมกนั ทางดิจทิ ลั เคารพในสทิ ธขิ องคนทกุ คน รวมถงึ ต้องมวี จิ ารณญาณ ในการรกั ษาความปลอดภัยของขอ้ มลู ตนเองในสงั คมดิจิทัล รูว้ ่าขอ้ มูลใดควรเผยแพร่ ขอ้ มลู ใดไมค่ วรเผยแพร่ และต้องจดั การความเส่ียงของขอ้ มูลของตนในสื่อสังคมดจิ ทิ ลั ไดด้ ้วย

ทักษะในกำรคิดวเิ ครำะหม์ วี ิจำรณญำณทีด่ ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะหแ์ ยกแยะระหว่าง ข้อมลู ท่ถี กู ต้องและขอ้ มลู ทผ่ี ดิ ข้อมูลทม่ี ีเน้อื หาดีและ ขอ้ มลู ท่ีเข้าข่ายอนั ตราย ร้วู า่ ข้อมลู ลกั ษณะใดท่ีถูกส่ง ผ่านมาทางออนไลนแ์ ล้วควรตงั้ ขอ้ สงสยั หาคาตอบ ใหช้ ัดเจนกอ่ นเช่อื และนาไปแชร์

ทักษะในกำรจดั สรรเวลำหน้ำจอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบรหิ ารเวลากับการใช้อุปกรณย์ คุ ดจิ ิทัล รวมไปถึงการควบคมุ เพอ่ื ให้เกิดสมดุลระหวา่ ง โลกออนไลนแ์ ละโลกภายนอก นบั เป็นอีก หน่งึ ความสามารถท่ีบง่ บอกถงึ ความเป็นพลเมอื งดิจิทัล ได้เป็นอยา่ งดี เพราะเปน็ ทร่ี ู้กนั อยแู่ ล้วว่าการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ทขี่ าดความเหมาะสมย่อมส่งผลเสยี ตอ่ สุขภาพโดยรวม ท้ังความเครียดต่อสุขภาพจิตและเปน็ สาเหตุกอ่ ให้เกิดความเจบ็ ป่วยทางกาย ซ่ึงนาไปสู่การสูญเสยี ทรัพย์สนิ เพ่อื ใชร้ ักษา และเสียสุขภาพในระยะยาว โดยรเู้ ทา่ ไม่ถึงการณ์

ทกั ษะในกำรรับมอื กับกำรคกุ คำมทำงโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากข้อมลู ทางสถิตลิ า่ สดุ สถานการณใ์ นเรอ่ื ง Cyber bullying ในไทย มคี า่ เฉลย่ี การกลัน่ แกล้งบนโลกออนไลนใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ท่ีสงู กว่าค่าเฉล่ยี โลกอยทู่ ่ี 47% และเกิดในรูปแบบท่ีหลากหลาย อาทิ การดา่ ทอกนั ด้วยข้อความหยาบคาย การตดั ตอ่ ภาพ สร้างขอ้ มูลเทจ็ รวมไปถงึ การตั้งกลุ่มออนไลนก์ ดี กันเพ่ือนออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดงั นน้ั วา่ ท่ีพลเมอื งดจิ ิทัลทกุ คน จึงควรมคี วามสามารถในการรบั รู้ และรบั มือการคกุ คามขม่ ข่บู นโลกออนไลนไ์ ดอ้ ยา่ งชาญฉลาด เพอื่ ปอ้ งกันตนเองและคนรอบข้างจากการคกุ คามทางโลกออนไลนใ์ หไ้ ด้

ทักษะในกำรบริหำรจดั กำรขอ้ มูลทผี่ ้ใู ชง้ ำนทงิ้ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการศกึ ษาวจิ ัยยนื ยนั ว่า คนรุ่น Baby Boomer คือ กลมุ่ Aging ท่ีเกดิ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใชง้ านอปุ กรณ์คอมพิวเตอรห์ รือโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีข่ องผู้อนื่ และเปดิ ใชง้ าน WiFi สาธารณะ เสรจ็ แล้วมกั จะละเลย ไมล่ บรหสั ผา่ นหรอื ประวตั ิการใช้งานถึง 47% ซ่งึ เสีย่ งมากท่จี ะถกู ผ้อู ื่นสวมสิทธิ ขโมยตวั ตนบนโลกออนไลน์ และเข้าถึงข้อมูลสว่ นบคุ คลไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย ดังนัน้ ความเป็นพลเมืองดิจิทลั จงึ ต้องมที กั ษะความสามารถ ท่ีจะเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใช้ชวี ติ ในโลกดิจทิ ัล วา่ จะหลงเหลือร่องรอยขอ้ มลู ทงิ้ ไวเ้ สมอ รวมไปถงึ ต้อง เข้าใจผลลัพธท์ อ่ี าจเกิดข้นึ เพอ่ื การดูแลส่งิ เหลา่ น้ีอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ

ทักษะในกำรรักษำควำมปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการป้องกันข้อมูลด้วยการสรา้ ง ระบบความปลอดภัยทีเ่ ข้มแข็งและป้องกันการโจรกรรมขอ้ มูล ไมใ่ หเ้ กิดขนึ้ ได้ ถา้ ต้องทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรอื ซื้อสินค้าออนไลน์ เช่น ซอ้ื เสอ้ื ผ้า ชดุ เดรส เปน็ ตน้ ควรเปลย่ี นรหสั บอ่ ยๆ และควรหลกี เล่ียงการใชค้ อมพิวเตอร์สาธารณะ และหากสงสัยว่าขอ้ มลู ถกู นาไปใช้หรือสญู หาย ควรรบี แจ้งความและแจ้งหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องทันที

ทักษะในกำรใช้เทคโนโลยีอยำ่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเหน็ อกเห็นใจและสร้างความสมั พนั ธท์ ่ดี ี กับผอู้ น่ื บนโลกออนไลน์ พลเมืองดจิ ทิ ัลที่ดีจะต้องรู้ถึงคุณค่า และจรยิ ธรรมจากการใช้เทคโนโลยี ตอ้ งตระหนักถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ทเี่ กิดจากการใชอ้ ินเทอร์เนต็ การกดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มลู ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถึงรูจ้ กั สทิ ธิ และความรับผิดชอบออนไลน์ อาทิ เสรภี าพในการพูด การเคารพทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาของผู้อ่นื และการปกป้องตนเอง และชมุ ชนจากความเส่ยี งออนไลน์ เช่น การกลั่นแกลง้ ออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเดก็ สแปม เปน็ ต้น

บรรณำนุกรม Mr.Digital.(2562). ทกั ษะดจิ ิทลั กา้ วสู่ พลเมืองในศตวรรษท่ี 21.สบื คน้ 21 สิงหาคม 2564,จาก https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/article-pr/1355-goto-citizens21st


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook