Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1_ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

1_ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

Published by pinklove_1830, 2017-03-14 05:08:06

Description: 1_ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 16/03/55ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับอนิ เทอร์เน็ต อินเทอร์เนต็ คืออะไร • อนิ เทอร์เน็ตเป็ นเพียง “ช่องทาง” หรือเครือข่าย ท่จี ะเช่ือมต่อคอมพวิ เตอร์ทงั้ โลกเข้าด้วยกัน • การเช่ือมต่อจะทาํ ให้รับส่งข้อมูลกนั ได้ระหว่าง คอมพวิ เตอร์แต่ละเคร่ือง • ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ • การเช่ือมต่อต้องเสียค่าบริการจากผู้ให้บริการ หรือ ISPผู้ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีผ่าน ISP ISP Internet Service Provider คืออะไร ? ISP ISP • หน่วยงานท่ีให้บริการเช่ือมต่อเข้ากบั เครือข่าย อินเทอร์ เน็ตผ้ใู ช้ ร้านค้าออนไลน์ • ทาํ หน้าท่เี สมือนเป็ นประตูเปิ ดการเช่ือมต่อให้กับ อินเทอรเ์ น็ต บุคคลหรือองค์ กรสามารถใช้ งานอินเทอร์ เน็ตได้ ISP ISP • มีอยู่ 2 ประเภทคือ ธนาคารออนไลน์ห้องสมุดออนไลน์ • ผู้ให้บริการอนิ เทอร์เน็ตเชงิ พาณิชย์ (commercial ISP) • ผู้ให้บริการอนิ เทอร์เน็ตสาํ หรับสถาบันการศกึ ษา การ วจิ ยั และหน่วยงานของรัฐ (non-commercial ISP) อนิ เทอร์เน็ตมคี วามเป็ นมาอย่างไร? เครือข่ ายแบบร่ างแหท่ีใช้ ในการส่ือสารทางทหาร• เร่ิมจากเครือข่ายส่ือสารทางทหารช่ือ ARPANET ท่ใี ช้ การเช่ือมต่อถูกตดั ขาด ข้อมลู ถูกสง่ ตาม ทาํ สงครามของสหรัฐ ท่อี อกแบบเหมือนร่างแห เส้นทางอ่นื แทน• เม่ือภยั สงครามสงบ กม็ ีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ข้อมลู ถกู สง่ ตาม การเช่ือมต่อ ข้อมลู ถูกส่งตาม เน่ืองจากเป็ นระบบเปิ ดกว้าง ไม่ต้องพ่งึ พาโครงสร้าง เส้นทางอ่นื แทน ถูกตัดขาด เส้นทางอ่นื แทน หลักของเครือข่ายทหารเดมิ ข้อมลู ถูกส่งตาม ข้อมลู ถูกส่งตาม การเช่ือมต่อ• การต่อขยายอนิ เทอร์เน็ตจงึ แพร่หลายไปท่วั โลก และ เส้นทางอ่นื แทน เส้นทางอ่นื แทน ถูกตัดขาด เปิ ดให้บริการเชงิ พาณิชย์อย่างเตม็ ท่มี ากขนึ้ ข้อมลู ถกู สง่ ตาม เส้นทางอ่นื แทน 1

16/03/55เราจะเช่ือมต่อกับอนิ เทอร์เน็ตได้อย่างไร? เราจะเช่ือมต่อกับอนิ เทอร์เน็ตได้อย่างไร?• โมเด็มธรรมดา • อินเทอร์เน็ตความเร็วสงู ADSL คอมพิวเตอร์ของ ISP คอมพิวเตอร์ของ ISP สายโทรศพั ท์ สายโทรศพั ทร์ ะยะไม่เกนิ 5 กม.คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ Modem ของ ISP อนิ เทอร์เนต็ อนิ เทอร์เนต็ Modem ของผู้ใช้ ADSL Modem ชุมสายโทรศพั ท์โปรโตคอล : กตกิ าของอนิ เทอร์เน็ต TCP/IP กับ IP address• การทาํ งานต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้อง Transmission Control Protocol / Internet Protocol กนั ได้ต้องมีกตกิ าเดียวกัน • กตกิ าหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต โดย• ทกุ เคร่ือง ทุกโปรแกรม จะรับรู้และทาํ ตามเป็ น กาํ หนดวธิ ี ขัน้ ตอนในการรับส่งข้อมูล และตรวจสอบ มาตรฐานเดียวกันท่วั โลก เรียกว่า “โปรโตคอล” ความถกู ต้องอย่างรัดกุม (protocol) • ส่วนท่เี ก่ียวข้องกับผู้ใช้ คือ IP address หรือท่อี ยู่ IP • IP address เป็ นตัวเลขล้วนๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0 - 255 ค่ันด้วยจุด 202.56.159.90 ช่ือโดเมน DNS และ DNS Server• ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นคาํ ๆ sanook.com• จาํ ง่ายและส่ือความหมายได้ดี sanook.com 203.107.136.7 203.107.136.7 IP Address hunsa.com 203.150.224.31 manager.co.th 202.57.155.221 โดเมนเนม cnn.com 64.236.24.12 DNS Server ฐานข้อมูลช่ือโดเมน 2

16/03/55 ช่ือโดเมน ช่ือโดเมน การกําหนดชื่อโดเมนจะเรียงลําดบั ความสําคญั ของ แตล่ ะระดบั มีความสําคญั ดงั นี ้ ชื่อจากขวาไปซ้าย และจะใช้จดุ (.) คน่ั ดงั นี ้ ช่ือโดเมนระดบั บน เป็ นช่ือโดเมนท่ีอย่ทู างด้านขวาช่ือเคร่ืองผ้ใู ห้บริการ.ช่ือเครือขา่ ยท้องถ่ิน.[ช่ือโดเมนยอ่ ย].ช่ือโดเมนระดบั บน สดุ แบง่ เป็ น 2 ประเภท คอื 1. ช่ือโดเมนท่ีเป็ นชื่อยอ่ ยขององค์กรในประเทศ www.dusit.ac.th/ สหรัฐอเมริกา 2. ชื่อโดเมนที่ไมไ่ ด้เป็ นองค์กรของสหรัฐอเมริกา1. ช่ือโดเมนระดบั บน 1. ช่ือโดเมนระดับบนช่ือโดเมนท่เี ป็ นช่ือย่อยขององค์กรในประเทศสหรัฐอเมริกา ช่ือโดเมนท่ไี ม่ได้เป็ นองค์กรขององค์กรประเทศสหรัฐอเมริกาช่ือโดเมน ความหมาย ช่ือโดเมน ความหมายcom กลุ่มองค์กรเอกชน (Commercial Organization) au ประเทศออสเตรเลียedu กลุ่มสถาบันการศึกษา (Educational Organization) ca ประเทศแคนนาดาgov กลุ่มองค์กรของรัฐท่วั ไป (Governmental Organization) fr ประเทศฝร่ังเศสmil กลุ่มองค์กรทหาร (Military) jp ประเทศญ่ีป่ ุนnet กลุ่มองค์กรเครือข่าย (Networking Organization) th ประเทศไทยorg กลุ่มองค์กรจดั ตงั้ (Organization) uk ประเทศอังกฤษ2. ช่ือโดเมนย่อย 3. ช่ือเครือข่ายท้องถ่นิเป็นชื่อโดเมนที่แสดงถงึ ประเภทองค์กรของประเทศนนั้ ๆ ตวั อยา่ งชื่อ เป็นช่ือเครือขา่ ยที่เคร่ืองผ้ใู ห้บริการเช่ือมตอ่ กบั อินเทอร์เน็ตโดเมนยอ่ ยในประเทศไทย มีดงั นี ้ สามารถตงั้ เป็นชื่อใด ๆ ก็ได้ หรืออาจใช้เป็นช่ือขององค์กร หรือ บริษัทนนั ้ ๆ www.dusit.ac.thช่ือโดเมนย่อยในประเทศไทย ช่ือโดเมนระดบั บนช่ือโดเมน ความหมาย ช่ือโดเมนย่อย ช่ือเครือข่ายท้องถ่นิ ac กลุ่มสถาบันการศึกษา (Academic) ช่ือเคร่ืองผู้ให้บริการ co กลุ่มองค์กรการค้า (Commercial) แสดงโครงสร้ างตัวอย่ างของช่ือโดเมน go หน่วยงานรัฐบาล (Governmental) or กลุ่มองค์กรอ่นื ๆ เช่น รัฐวิสาหกจิ (Organization) mi หน่วยงานทางทหาร (Military) 3

16/03/55 4. ช่ือเคร่ืองผู้ให้บริการ เวบ็ (Web)เป็ นช่ือท่ีกาํ หนดให้กับเคร่ืองผู้ให้บริการ กรณีท่ี • ย่อมาจาก เวลิ ด์ไวด์เวบ็ (World Wide Web) หรือ WWW นํามาใช้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมักใช้ช่ือว่า “www” • บริการพนื้ ฐานท่ใี ช้กนั มากท่สี ุด โดยเรียกดูข้อความและ www.dusit.ac.th ภาพประกอบเป็ นหน้าๆ ไป ช่ือโดเมนระดับบน • ลักษณะพเิ ศษคือ แต่ละหน้าจะมีการเช่ือมโยงหรือ ช่ือโดเมนย่อย ช่ือเครือข่ายท้องถ่นิ “ลิงค์” (link) หรือเรียกเตม็ ๆ ว่า “ไฮเปอร์ลิง้ ก์” ช่ือเคร่ืองผู้ให้บริการ (Hyperlink) เพ่ือเรียกดูเอกสารอ่ืนๆ ท่เี ก่ยี วข้องกนั ได้ แสดงโครงสร้ างตัวอย่ างของช่ือโดเมน โดยง่าย Browse web browser web server Upload เว็บไซต์ เวบ็ ไซต์ (ต่อ) เวบ็ ไซท์ สาํ หรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเว็บ หมายถงึ เราสามารถ โฮมเพจเรียกดเู วบ็ จากเคร่ืองนนั้ ได้ จะเรียกวา่ เป็น “เวบ็ เซิร์ฟเวอร์” (WebServer) และข้อมลู ทงั้ หมดที่จดั ให้เรียกดเู ป็นเว็บได้จะเรียกวา่ เวบ็ เพจ“เวบ็ ไซต์” (Web Site) หรือแหลง่ ข้อมลู เวบ็ สว่ นแตล่ ะหน้าที่เปิดเข้าไปดจู ะเรียกวา่ “เวบ็ เพจ” (Web Page) ซง่ึ หน้าหลกั ของ ผงั แสดงโครงสร้างของเวบ็ ไซต์ โฮมเพจ และเวบ็ เพจเวบ็ ไซต์นนั้ ๆ หรือหน้าแรกท่ีจะเหน็ เมื่อเรียกเข้าไปท่ีเวบ็ ไซต์นนั้ ครัง้แรกโดยไมร่ ะบวุ า่ จะดหู น้าใด จะเรียกวา่ “โฮมเพจ” (Home Page)ซง่ึ จะมีลงิ ก์ไปยงั หน้าอ่ืน ๆ ในเว็บไซต์นนั้ อีกที เวบ็ เพจ HTTP โปรโตคอลของเวบ็สามารถแบง่ ประเภทของเว็บเพจได้ 2 ประเภท คือ • HyperText Transfer Protocol หรือ HTTP • โปรโตคอลอีกชนิดหน่ึงท่ใี ช้เรียกดูข้อมูลจาก 1. Static Web Page คือ เวบ็ เพจท่ีสร้างขนึ ้ จากภาษา HTML และมีรูปแบบการตอบสนองการใช้งานของผ้ใู ช้อยา่ ง เว็บ จํากดั เช่น ไมส่ ามารถโต้ตอบการใช้งานกบั ผ้ใู ช้ได้ • เรียกดูข้อมูลจากเว็บผ่านบราวเซอร์โดยระบุ 2. Dynamic Web Page คือ เว็บเพจท่ีสร้างขนึ ้ จากภาษา http:// นําหน้าโดเมน HTML เช่นเดียวกบั Static Web Page แตจ่ ะมีความยืดหยนุ่ ใน การทํางานมากกวา่ เช่น สามารถโต้ตอบกบั ผ้ใู ช้ได้ เน่ืองจากเวบ็ เพจประเภทนีจ้ ะมีชดุ คําสงั่ สคริปต์สาํ หรับควบคมุ การโต้ตอบกบั ผ้ใู ช้งาน 4

16/03/55HTML : ภาษาของเวบ็• HTML = HyperText Markup Language• ภาษาท่ีใช้ในการจดั หน้าเวบ็ เพจ• มีสว่ นขยายคอื .htm หรือ .html• ใช้โปรแกรมชว่ ยเขยี นได้ เชน่ Dreamweaver, Frontpageภาษา HTML เว็บเพจ URL (Uniform Resource Locator) URL (Uniform Resource Locator) (ต่อ) Uniform Resource Locator หรือ Universal URL : http://www.bizcom.dusit.ac.th/new/Resource Locator หรือเรียกวา่ “URL” หมายถึง ช่อื หรือท่อี ย่ขู องเว็บไซต์ เช่น แสดงการกาํ หนด URL ในช่อง URL Addresshttp://www.bizcom.dusit.ac.th/new/ โดยผ้ใู ช้สามารถURL ในช่อง URL Address บนเวบ็ บราวเซอร์เพ่ือเรียกเว็บไซต์ท่ีต้องการขนึ ้ มาแสดงผล Uniform Resource Locator โปรโตคอล HTTP URLชอื่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ชอื่ ไดเรค็ ทอรยี ่อยและไฟลใ์ นเครือ่ งhttp://www.provision.co.th/book/new/catalog.htm ชือ่ ไฟลแ์ ละนามสกลุ (catalog.htm) ไดเรค็ ทอรี (/book/new/) ประเทศไทย (th) ประเภท \"บริษทั \" (co คือ company หรือ commercial) ชือ่ โปรโตคอลหรือวธิ ีการติดต่อทีใ่ ชก้ นั ทว่ั ไปในการดึงเวบ็ เพจ 5

16/03/55 เวบ็ บราวเซอร์และเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ เว็บเซิร์ ฟเวอร์ (Web Server) หรือ เซิร์ ฟเวอร์ (Server) คือ เคร่ืองผู้ให้บริการเว็บไซต์ บนอินเทอร์เน็ตผ่านโปรโตคอล HTTP เพื่อให้บริการ ข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสาร รูปภาพ เสียง หรือวิดีโอ เป็ นต้น โดยจะต้องติดตงั้ โปรแกรมสําหรับทําหน้าที่ เป็ นเว็บเซิร์ฟเวอร์ เช่น IIS (Internet Information System) หรือ Apache เป็ นต้น เวบ็ บราวเซอร์และเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ เวบ็ บราวเซอร์และเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ (ต่อ) เวบ็ บราวเซอร์ (Web Browser) หรือ หลักการทาํ งานระหว่างเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์และเวบ็ บราวเซอร์บราวเซอร์ (Browser) เป็นโปรแกรมท่ีฝั่ง Client ใช้สําหรับเยี่ยมชมและโต้ตอบกบั เว็บเพจท่ีสง่ มาจากเว็บ กระบวนการทํางานจะเริ่มจากผู้ใช้ในฝั่ง Client กําหนดเซริ ์ฟเวอร์ โดยบราวเซอร์จะแปลภาษา HTML ที่ใช้ URL ของเว็บไซต์ท่ีต้องการผา่ น URL ADDRESS ของโปรแกรมสําหรับสร้างเว็บเพจเพื่อนําผลลพั ธ์มาแสดงบนบราวเซอร์ เว็บบราวเซอร์ เพื่อร้ องขอ (Request) เว็บเพจไปยังเว็บจงึ เกิดหน้าเว็บเพจท่ีมีความสวยงาม ตวั อยา่ งโปรแกรม เซิร์ฟเวอร์ โดยข้อมลู การร้องขอจะถูกส่งผ่านโปรโตคอล HTTPเวบ็ บราวเซอร์ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ Internet Explorer ซึ่งกําหนดไว้เก็บ URL เมื่อคําร้องขอถกู สง่ มายงั เว็บเซิร์ฟเวอร์(IE), Mozilla Firefox ทงั้ นีข้ ีดความสามารถในการทํางาน เว็บเซิร์ฟเวอร์จะอ่านคําร้องขอ แล้วค้นหาเพจท่ีถกู ร้องขอ เมื่อของแตล่ ะโปรแกรมเวบ็ บราวเซอร์จะแตกตา่ ง พบก็จะพจิ ารณาวา่ เพจนนั้ สามารถถกู ประมวลผลจากฝ่ัง Client ได้หรือไม่ เวบ็ บราวเซอร์และเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ (ต่อ) เวบ็ บราวเซอร์และเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ (ต่อ)แต่หากเพจที่ถูกร้ องขอต้องถูกประมวลผลจากฝ่ัง Sever แสดงกระบวนการทาํ งานระหวา่ งเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์และเว็บบราวเซอร์เท่านัน้ เว็บเซิร์ฟเวอร์จะทําการประมวลผลข้อมูลก่อน เสร็จแล้วจึงสง่ กลบั ไปยงั เว็บบราวเซอร์ท่ีร้องขอข้อมลู (Response) 6ในรูปแบบภาษา HTML (รวมถงึ ไฟล์อ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องด้วย) เมื่อเว็บบราวเซอร์ได้รับคําสงั่ HTML จะทําการแปลคําสงั่ HTMLแล้ วนํามาแสดงผลบนบราวเซอร์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่นข้อความ รูปภาพ และเสียง

16/03/55 FTP(File Transfer Protocol) อนิ ทราเน็ต (Intranet)• FTP เป็ นเคร่ืองมือในการโอนไฟล์ซงึ่ เป็ นท่ีรู้จกั และ อินทราเน็ต(Intranet) คือ ระบบเครือขา่ ยภายในองค์กร ได้รับความนิยมท่สี ดุ โดยกําเนิดมาจากการเป็นคาํ สงั่ เป็ นบริการ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน พืน้ ฐานของระบบปฏิบตั กิ าร Unix และแพร่หลายอยู่ อินเทอร์เน็ต แต่จะเปิ ดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านัน้ ในระบบปฏิบตั กิ ารตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็ น DOS, Window เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง อินทราเน็ตของ ซงึ่ คณุ สมบตั ขิ องFTP ก็คือสามารถโหลดไฟล์จากจาก มหาวิทยาลยั แต่ละแห่ง เป็ นต้น เป็ นการสร้างระบบบริการ เซิร์ฟเวอร์(download) หรือสง่ ไฟล์ไปเก็บไว้ท่ีเซริ ์ฟเวอร์ ข้อมลู ข่าวสาร ซึ่งเปิ ดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุก (upload)ได้ แตใ่ นการใช้งานบนอนิ เตอร์เน็ต ผ้ใู ช้ อยา่ ง แตย่ อมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเทา่ นนั้ เป็ นการ มกั จะใช้เพ่ือโหลดไฟล์จากเซริ ์ฟเวอร์เสยี สว่ นใหญ่ จํากดั ขอบเขตการใช้งาน ดงั นนั้ ระบบอนิ เทอร์เน็ตในองค์กร ก็ คือ \"อินทราเน็ต\" นนั่ เองอนิ ทราเน็ต (Intranet) Thanks! 7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook