ศาสนา โซโรอัสเตอร์
ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ประวัติ ศาสนาโซโรอัสเตอร์1 เกิดในประเทศอิหร่านเมื่อประมาณ 117 ปีก่อน พุทธศักราชโดยคิดตามสมัยของโซโรอัสเตอร์ (Zoroaster) ผู้เป็นศาสดา ของศาสนาโซโรอัสเตอร์เป็นศาสนาทวิเทวนิยม เชื่อว่ามีเทพเจ้า 2 องค์ คือเทพเจ้าแห่งความดีมีพระนามว่า อหุระมาซดะ (Ahura mazda) หรือ ออร์มุสด์ (Ormuzd) หรือสเปนตา เมนยุ(Spentamainyu)ทรงสร้างแต่ สิ่งดีงาม เช่น ความสวยงาม ความอุดมสมบูรณ์ ความสุข และความ สมหวัง เป็นต้น กับอีกองค์หนึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งความชั่ว หรือพญามาร มี นามว่า อหริมัน (Ahriman) หรืออังครา เมนยุ (Angra Mainyu) สร้างแต่สิ่ง ที่ชั่วหรือไม่ดีทั้งหลาย เช่น ความอัปลักษณ์ความอดอยาก ความทุกข์และ ความผิดหวัง เป็นต้น
หลักธรรมคำสอน หลักธรรมขั้นสูงสำหรับนักบวช มีข้อปฏิบัติอันเรียกว่า ธรรม5 และข้อห้ามอันเรียกว่า หลักธรรมขั้นพื้นฐานสำหรับชาวบ้าน 1.) สอนถึงเมตตากรุณา และบาปหนักที่สุดในศาสนา วินัย10สำหรับนักพรต นี้ คำสั่งสอนของศาสนาโซโรอัสเตอร์ถึงแม้จะมีมาก แต่ 2.) สอนถึงคุณค่าของความขยันหมั่นเพียร 3.) สอนให้แต่งงาน ไม่ส่งเสริมเพศนักบวช เมื่อ สรุปแล้วก็มี 3 อย่าง คือ คิดดี พูดดี และทำดี 4.) คำสอนที่จะนำไปสู่การอยู่ร่วมกับปวงเทพ 6 การคิดดี คือคิดแบบคนดีคิดโดยยึดมั่นอยู่ในความ ประการ 5.) สอนถึงหน้าที่ของมนุษย์ 3 ประการ บริสุทธิ์ถูกต้อง พูดดี คือพูดอยู่ในเหตุผล ส่วนทำ 6.) หลักการสร้างนิสัยที่ดี 4 ประการ ดี คือการกระทำที่ได้รับการสรรเสริญจากคนดี
นิกายในศาสนา นิกายที่สำคัญของศาสนาโซโรอัสเตอร์ มี 2 นิกาย คือ 1. นิกายชหันชหิส นิกายนี้คงถือคัมภีร์ที่ว่าด้วยการที่พระเจ้าแจ้งเรื่อง ราวต่างๆ ลงมาทางศาสดาโซโรอัสเตอร์เป็นสำคัญ ซึ่งคัมภีร์ดังกล่าว เป็นคัมภีร์ที่เกิดขึ้นใหม่ในสมัยต้น ศตวรรษที่ 3 ได้มีการแปลคัมภีร์ ของศาสนานี้เป็นภาษาปาลวี ซึ่งใช้ในเปอร์เซียสมัยนั้น ชื่อว่า คัมภีร์เม นอกิขรัท 2. นิกายกัทมิส นิกายนี้ยึดมั่นในคัมภีร์ที่ว่าด้วยพิธีกรรมต่างๆ อัน ได้แก่ คัมภีร์ ชะยิตเนชะยิต ซึ่งเกิดขึ้นในสมัยเดียวกันกับคัมภีร์เมนอกิ ขรัท
สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ ของศาสนา สัญลักษณ์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ ได้แก่ โคมไฟ ซึ่งมีความหมายถึงแสงสว่าง และความอบอุ่นอัน เป็ นเครื่องหมายแสดงถึงคุณลักษณะของพระเจ้า อาหุระ มาซดะ ผู้ทรงความบริสุทธิ์ ผู้ทรงแสงสว่าง ยิ่งกว่าแสงสว่างอันใด ผู้ประทานความอบอุ่นให้แก่ มนุษย์ทั้งหลาย ไฟผู้ให้กำเนิดแสงสว่างย่อมเผา ผลาญสิ่งสกปรกให้เหลือแต่ความบริสุทธิ์ เปรียบ เสมือนพระเจ้าประทับอยู่ที่ใด ที่นั่ นย่อมมีแต่ความ บริสุทธิ์
คัมภีร์ คัมภีร์ทางศาสนา คัมภีร์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ คือ คัมภีร์อเวสตะ คำว่า อเวสตะ แปลว่า ความรู้ ตรงกับ คำว่า เวทะ อันเป็ นคัมภีร์พระเวทของพราหมณ์หรือฮินดู ภาษาที่ใช้จารึกเป็ นภาษาอเวส ตะ(มีลักษณะคล้ายภาษาสันสกฤต) เกิดจากการรวบรวมขึ้นจากที่ท่องจำกันมาได้ คัมภีร์ อเวสตะแบ่งออกเป็ น 5 หมวดใหญ่ ดังนี้ 1. ยัสนะ เป็ นหมวดที่ว่าด้วยพิธีกรรม การพลีกรรมบวงสรวงต่อพระเจ้า เป็ นตอนเริ่ม แรกที่แสดงว่าเทพเจ้ามีความสำคัญยิ่งกว่ามนุษย์ และแสดงว่าการพลีกรรมบวงสรวงต่อ เทพเจ้าเป็ นข้อปฏิบัติของมนุษย์ 2. วิสเปรัท เป็ นหมวดว่าด้วยบทสวดอ้อนวอนต่อเทพทั้งปวง ใช้คู่กับยัสนะ ประกอบด้วย บทง่ายๆ 20 บท 3. เวทิทัท เป็ นหมวดว่าด้วยบทสวดขับไล่ภูตผีปี ศาจและเทพ ซึ่งเป็ นฝ่ ายร้าย เป็ นกฎที่เป็ น ปฏิปั กษ์ต่อมารร้าย เฉพาะนักพรตหรือพระในศาสนานี้เท่านั้น 4. ยัษฎส์ เป็ นหมวดว่าด้วยบทสวดบูชาอันเป็ นบทกวีสำหรับใช้สวดบูชาทูตสวรรค์ 21 องค์ และวีรบุรุษแห่งศาสนาโซโรอัสเตอร์ ถือว่าเป็ นหมวดสำคัญของคัมภีร์อเวสตะ 5. โขรท-อเสตะ แปลว่า \"อเวสตะเล็กน้อย\" เป็ นหมวดที่เป็ นหนังสือบทสวดคู่มืออย่าง ย่อสำหรับใช้ในหมู่ศาสนิ กชนสามัญทั่วไป
พิธีกรรม พิ ธีปฏิญาณตนเข้านับถือศาสนา ชาวปาร์ซีวัยรุ่นทุกคนจะต้องเริ่มต้นเข้าปฏิญาณตนนับถือศาสนาโซโร อัสเตอร์ เมื่อ อายุครบ 7 ปี (ในอินเดีย) และ 10 ปี (ในอิหร่าน) เมื่อทำ พิ ธีเสร็จแล้ว จะได้รับเสื้อ 1 ตัว และกฤช 1 เล่ม ไว้เป็นเครื่องประดับ กายตลอดชีวิต การทำให้บริสุทธิ์มี 3 แบบ ดังนี้ 1. พั ดยับ (Padyab) การชำระล้าง 2. นาหัน (Nahan) การอาบ 3. บารสินัม (Barsenum) พิ ธีกรรมซับซ้อน กระทำในสถานที่พิ เศษ การทำให้บริสุทธิ์มีการสวดมนต์ ปาเทต (Patet) เป็นการกล่าว ปฏิญาณว่า จะไม่ทำบาปกรรมอีก และสารภาพบาปต่อหน้าพระชั้นทัส ทุร หรือพระชั้นธรรมดา ถ้าหากไม่มี พระชั้นทัสทุร
พิธีบูชาไฟ ชาวโซโรอัสเตอร์ถือว่า ไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพเจ้า ผู้ทรงแสงสว่างยิ่งกว่าแสงสว่างใดๆ ผู้ทรง ประทานความอบอุ่นให้แก่มวลมนุษยชาติ เพราะฉะนั้นเมื่อไปอยู่ที่ใดย่อมจะเผาผลาญสิ่งสกปรก โสมมทั้งหลายให้สูญสิ้นไป เหลือแต่ความสะอาดบริสุทธิ์ ความสว่างไสว ความอบอุ่น ศาสนิกชน แห่งโซโรอัสเตอร์จึงนิยมบูชาไฟ โดยจะจุดเพื่อบูชาไว้ไม่ขาดสาย จะคอยระวังไม่ให้ไฟดับ จะต้อง ตามไฟเป็นเครื่องบูชาไว้เป็นนิจ จะจุดไฟให้ลุกโพลงในที่บูชาหรือในโบสถ์อยู่ตลอดเวลา
พิธีนมัสการตอนสายัณห์ พอแดดร่มลมตกแต่ละวัน ชาวศาสนิกแห่งโซโรอัสเตอร์ที่ประเทศอินเดียโดยเฉพาะที่ เมืองบอม เบย์ ซึ่งเป็นสถานที่ที่เป็นศูนย์กลางของศาสนานี้ จะพากันแต่งตัวด้วยผ้าขาวมีสไบพาดบ่า ปลอยชายลงทั้งสองข้างไปชุมนุมพร้อมกันอย่างเป็นระเบียบ ณ ชายหาดแห่งทะเล เพื่อ ประกอบพิธีนมัสการตอนสายัณต์ โดยการโค้งตัวลงบรรจงจุ่มมือทั้งสองในน้ำทะเล “ หุมะตา หะขะตา หะเวสะตา” (ข้าทั้งปวงขอสรรเสริญผู้มีกาย วาจา และใจสุจริต) หลังจากนั้นพวกเขาก็จะก้มศีรษะลงนมัสการไปทางทิศทั้ง 4 ทิศ 3 ครั้ง แล้วเอามือทั้งสอง จุ่มน้ำทะเลมาแตะหน้าผากอีกครั้ง
พิธีศพ เมื่อมีคนตาย ชาวโซโรอัสเตอร์ จะไม่เผาศพหรือฝังศพ จะไม่ทิ้งซากศพ ลงในน้ำเพราะโดยหลักการแล้ว ศาสนานี้ถือว่าไฟเป็นสัญลักษณ์แห่ง พระเจ้า จึงมีความศักดิ์สิทธิ์มาก และในขณะเดียวกันก็ยอมรับว่า ดิน น้ำ ก็เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหมือนกัน ถ้าเผาศพก็เกรงว่าจะทำให้ไฟหมดความ ศักดิ์สิทธิ์และแปดเปื้ อนด้วยสิ่งสกปรก ถ้าจะฝังดิน ก็เกรงว่าดินจะหมด ความศักดิ์สิทธิ์ หรือทิ้งซากศพลงในน้ำ ก็เกรงว่าน้ำจะสกปรกและหมด ความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน ด้วยเหตุนี้พวกเขา จึงนำเอาศพไปวางไว้บน หอคอยที่สูงซึ่งสร้างไว้เป็นพิเศษเพื่อการนี้ เรียกชื่อว่า หอคอยแห่งความ สงบ (The Tower of Silence) ทิ้งไว้อย่างนั้นให้เป็นอาหารของแมลง ของมด ของสัตว์อื่นๆ เช่น นก อีกา อีแร้ง หรือแม้แต่สุนัข เป็นต้น
บทบาทของศาสนาโซโรอัสเตอร์ต่อสังคม 1.คำสอนที่เน้นความบริสุทธิ์สะอาด ช่วยให้สังคมมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี 2.ช่วยลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน เพราะสอนให้มีเมตตา เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ต่อกัน และกัน 3.ช่วยให้สังคมมีความรักใคร่สมัครสมาน และสามัคคีกันด้วยความบริสุทธิ์ใจ 4.ช่วยให้สังคมประพฤติแต่ในสิ่งที่เป็ นสุข ละเว้นสิ่งที่เป็ นบาป ทำให้สมาชิกของสังคม อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 5.ช่วยให้สังคมมีความเป็ นอยู่อย่างมีกำลังใจที่จะต่อสู้กับปั ญหาอุปสรรค และความยาก ลำบากในชีวิต การบูชาไฟช่วยให้สังคมได้แสดงออกซึ่งความสำนึกในบุญคุณที่ธรรมชาติได้มี ต่อมนุษย์
ศาสนายูดาห์ ศาสนายูดาห์เป็ นศาสนาของชนชาติยิว(ฮีบรู) ที่ได้อพยพยเข้ามา ตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศปาเลสไตน์ ต่อมาพวกฮีบรู ได้ตกเป็ น เชลยถูกกวาดต้อนไปอยู่ในประเทศอียิปต์ ต่อมาได้พากันหลบ หนี ข้ามทะเลแดงไปรวมกันอยู่ในประเทศปาเลสไตน์ อีกครั้ง ดินแดนแห่งนี้มีชนชาติคานาอันหรือคานาไนต์อาศัยอยู่ พวกคา นาอันเรียกพวกที่เข้ามาใหม่ว่า\"ฮีบรู\" พวกฮีบรูมีหัวหน้าคนหนึ่ง ชื่อว่า \"ยาคอบ\" แต่เวลาทำพิธีทางศาสนาจะเรียกตัวเองว่า \"อิสราเอล“ นับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ \"พระยะโฮวา\"
หลักธรรม กฎ บัญญัติสูงสุดในศาสนายูดาห์ คือ บัญญัติ 10 ประการ ข้อความในพระ บัญญัตินั้นครอบคลุมไปทั้งด้านศาสนา การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็น รากฐานของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วินัยและศีล มีดังนี้ 1. อย่าได้มีพระเจ้าอื่นต่อหน้าเราเลย 2. อย่าทำรูปปั้ นสำหรับตน 3. อย่าออกพระนามของพระยะโฮวาพระเจ้าของเจ้าเปล่าๆ 4. จงระลึกถึงวันซะบาโตถือเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ 5. จงนับถือบิดามารดาของเจ้า 6. อย่าฆ่าคน 7. อย่าล่วงประเวณีผัวเมียเขา 8. อย่าลักทรัพย์ 9. อย่าเป็นพยานเท็จต่อเพื่อนบ้าน 10. อย่าโลภเรือนของเพื่อนบ้าน อย่าโลภภริยาของเพื่อนบ้าน หรือทาสาทาสี ของเขา หรือสิ่งใดๆที่เป็นของเพื่อนบ้าน
นิกาย ศาสนายูดาห์ แบ่งเป็ นนิกายใหญ่ๆ 2 นิกาย ดังนี้ 1. นิกายออร์ทอดอกซ์ เป็ นนิการที่มีความเคร่งครัด ถือปฏิบัติ ตามคัมภีร์โทราห์ เชื่อในบทบัญญัติของโมเสสและของแรบไบ (Rabbi) คืออาจารย์หรือพระในศาสนายูดาห์ 2. นิกายโปรเกรสสีฟ เป็ นนิกายที่ไม่เคร่งครัดนัก คือเป็ น นิกายที่มีหัวก้าวหน้า นับถือกันในหมู่ปั ญญาชนคนสมัยใหม่
สัญลักษณ์ ศาสนายูดาห์ ใช้เครื่องหมายเดิมคือ เชิงเทียน 7 กิ่ง แต่ปั จจุบันใช้รูปสามเหลี่ยมซ้อนกัน 2 รูป เป็ นดาว6 แฉก ซึ่งเป็ นตราเครื่องหมายประจำ ของกษัตริย์ดาวิดและเป็ นเครื่องหมายในธงชาติ อิสราเอลด้วย
คัมภีร์ คัมภีร์ของศาสนายูดาห์มี 3 คัมภีร์ ดังนี้ 1.คัมภีร์เก่า (Old Testament) กล่าวถึงการแก้แค้นและการส่องสว่างของพระยะโฮวา และกล่าว ว่าพระยะโฮวาเป็ นผู้พิพากษาโลก นอกนั้นยังบรรจุคำสรรเสริญพระเจ้าพร้อมด้วยสุภาษิตอัน เป็ นคำสอน เช่น สอนไม่ให้กีดกันความดีจากคนที่ควรแก่ความดี 2.คัมภีร์โทราห์ (Torah) มีความหมายกว้างขวางมาก แบ่งออกเป็ น 2 สาย ดังนี้ 1. บทบัญญัติที่เขียนไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร 2. บทบัญญัติที่ท่องจำกันมาด้วยปากเปล่า และคัมภีร์โทราห์นี้หมายรวมเอาคัมภีร์เก่าด้วย 3. คัมภีร์ทาลมุด (Talmud) ได้แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 390 - 420 เป็ นคัมภีร์ที่กล่าวโจมตีพระ เยซูรุนแรงมาก หรืออีกนัยหนึ่งคัมภีร์ทาลมุดเป็ นงของศาสนายูดาห์ในการเป็ นปฏิปั กษ์กับพระ เยซู
พิธีกรรม วันซะบาโต(Sabbath) คือวันที่เจ็ดของ สัปดาห์ ถือเป็นวันบริสุทธิ์ ห้ามทำกิจกร รมใดๆทุกประการ ใช้เวลาทั้งหมดเป็นวัน พักผ่อน สวดมนต์อธิษฐานภาวนา การ อ่านคัมภีร์นมัสการและของคุณพระเจ้า
กอปขขพยใีท้ิิวแลยพุนาอวรัธิิกนลีามปะงธวป้ัีงคถนวทัไนโนตี้ีส้ปค์ใมนา้ดาเืให้คปดนเนชก้พวีส้จ็เายรเยึรกอรสว้ง(พัะวอกาะบPลเตรเเงรเาูขาeจลแีมะบย้ขรืืึ้น่าsอลเ้อเ8กาน้จไaลวดม้ีนคดวา้พืcใย้่ปแวจนาขสหััรัhงน้ก่้งะองวทอใปั)สะุไนงใัห่มบมใปหสงเใ่กน้้ญกปมหค่ทคชาั็่ีอวูนนยเัมราาตนชน้ืแวมวไพอ้ม่อีวสแทิายล้ีเุไธิร่ทแลดปหีชีวะื่กณ\"ลอหทอฆาลป้่รแะีดวนธาาวะหิร้่ใลยมยแษแาาหิมนะ้วปกมกา้ฐรสขีเาจัฆ้ะะกคราบำ่พาะแทาะนารคมปอืบ่ตทลัราอขูุญไพรอะฉเกกปงอพัะทยยลนคคเงูท่กำรพทชอทคนิรูาีาัอุด่าองตวณทเนะาีวยใใทอ่มใัไในหหย้นรพกมหงิูร่าส้วซญเหรจใณหรว่ฉมชาะาัม่มรลแเลยะเัชกลบจดาลดจ็อ้ามาะะวง\"
เป็นแนวทางปฏิบัติทั่วไป ไม่ใช่ข้อบังคับหรือ พันธะ การตีความคำสอนและข้อบัญญัติต่าง ๆ ในศาสนายูดาห์ไม่เป็นสิทธิ์ขาดแก่บุคคล หรือองค์การใดโดยเฉพาะ แต่ยึดตามตัวบทใน พระคัมภีร์และตามแต่รับบีหรือนักวิชาการจะ ตีความกันโดยเฉพาะ
ศาสนา ศาสนาคริสต์กำเนิดขึ้นภายหลังพุทธศาสนา 543 ปี ณ ดินแดนประเทศปาเลสไตล์ปัจจุบัน ซึ่งศาสนาคริสต์นี้ & คริสต์ จะสืบทอดมาจากศาสนายูดาห์ หรือศาสนายิว โดย christianity ศาสนายูดาห์จะเชื่อว่ามีพระเมสิอาห์หรือพระคริสต์มา เกิดเพื่อช่วยเหลือชาวยิวที่ถูกกดขี่ครอบงำอยู่ในขณะ นั้น. ๒. สิ่งเคารพสูงสุด ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประเภทเทวนิยม คือมีพื้นฐาน ความเชื่อว่ามีเทพเจ้าที่มีอำนาจสูงสุดที่มีอำนาจเหนือ ธรรมชาติ ซึ่งมีชื่อว่า พระยะโฮวาห์ (GOD) โดยพระผู้ เป็นเจ้านี้จะเป็นผู้ที่ดลบันดาลให้ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไป คือเกิดขึ้น ตั้งอยู่ เปลี่ยนแปลง และดับสลายไป.
หลักธรรม ศใมบพเนหโัวาั6คอน้1ญัด้ครสนุน)ายคษะ0ยรนญ่ริศเาอสรั3)ไัยพจิาล์กตม้สยเัเ)อคิา่่สตกหดตาสิอียอร1ื์์าฆทย่ิ่สมมศนสา่ิยหื0นรท่าอโเาตันารหลคพ์สเัธนปิบมชอ์เภนืตยีน่รรอุ์ิตหอก5ั่กะกยส497ใจนล)ิก่ตัชนพง)า))กัหจาในวกพรจอธองรดรเืมเะนรงรยออยีรขัไน่่ถคะรบางาากดือเา้มอคผวถรจแงิิ21มื้าวทดดาาผอีักู))มข่นบ่้ผหปมอบูื้ิออหริ่1อไทลัรชนดก่วงยลา)ะร้ออ่ัาพอรเาทกเงูพหบิวปทืยรเมต่่ปลณอะเีาาา่แยีหเอรนมย์รูจลีเลป8้มมดป่าะ็า)าน ด้วยความรัก
นิกาย นิกายในศาสนาคริสต์มี 3 นิกายด้วยกันคือ ๑. นิกายโรมันคาทอลิค (คาทอลิคแปลว่า สากล) คือเป็นศาสนาสากลของคนทั่วโลก โดยมีพระสันตปาปาแห่งนครวาติกันในกรุง โรมประเทศอิตาลี่เป็ นประมุขครองศาสนจักร และนักบวชทั่วโลก ซึ่งนครวาติกันนี้เป็น ศูนย์กลางของคาทอลิคและเป็ นรัฐอิสระ ปกครองตนเองโดยไม่ขึ้นกับประเทศอิตาลี่.
๒. นิกายกรีซออร์ธอดอกซ์ ซึ่ง นิ กายนี้ไม่ขึ้นกับพระสันตปา ปาแห่งนครวาติกันในกรุงโรม แต่ปฏิบัติพิธีกรรมเช่นเดียว กับนิ กายโรมันคาทอลิค.
๓. นิกายโปรแตสแต๊นท์ เกิดขึ้นโดย นักบวชชื่อลูเทอร์เป็ นผู้สถาปนาขึ้นที่ ประเทศเยอรมัน ซึ่งเป็ นนิกายที่ เคร่งครัดในคัมภีร์มาก และไม่ขึ้นกับ พระสันตปาปาแห่งนครวาติกัน.
สัญลักษณ์ Cross หรือ สัญลักษณ์ไม้กางเขน มาจากคำว่า Crux ในภาษา ละติน หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการตรึงกางเขน สัญลักษณ์ของ ศาสนาคริสต์ซึ่งใช้ตรงกันทุกนิกาย กับความจริงที่ว่า ไม้กางเขน (Cross) คือ สัญลักษณ์แห่งการเสียสละอันยิ่งใหญ่นิรันดรของ พระเจ้า ในการไถ่บาปสำหรับมนุษย์ทั้งปวงให้รอดจากความบาปทั้ง ในอดีต ปั จจุบัน อนาคต และเป็นสิ่งที่ปฏิรูปชีวิตของผู้เชื่อนั้นให้ได้ รับการเปลี่ยนแปลงชีวิตใหม่ จึงเป็นเหมือนเครื่องหมายแห่งการ รอด ซึ่งพระเจ้าทรงโปรดให้ผู้เชื่อทุกคนพ้นจากความผิดบาป
คัมภีร์ ตำรารวบรวมคำสอนของศาสนาคริสต์มีชื่อว่า \"ไบเบิ้ล\" ซึ่ง ประกอบด้วยหนังสือ 66 เล่ม แบ่งออกเป็ น 2 ภาค คือ 1. พระคัมภีร์เดิม (พันธสัญญาเดิม) ซึ่งเป็ นคัมภีร์เดิมใน ศาสนายูดาห์
2. พระคัมภีร์ใหม่ (พันธสัญญาใหม่) ซึ่งเขียนขึ้นใหม่โดย สาวกของพระเยซูหลายคน คัมภีร์ทั้งสองเล่มนี้ถือว่าเป็นพจนะของพระเจ้า ซึ่งเรียกว่า พันธสัญญา คือสัญญาที่พระเจ้ามีต่อมนุษย์ โดยคัมภีร์ทั้ง สองต่างกันคือ คัมภีร์เดิมเป็นสัญญาที่พระเจ้ามีต่อชาวยิว เท่านั้น แต่คัมภีร์ใหม่เป็นสัญญาที่พระเจ้ามีต่อมวลมนุษย์ ทั้งปวง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ศาสนาคริสต์ขยายตัวได้อย่าง รวดเร็ว.
ศาสนาทาให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข เพราะทุกศาสนาล้วนมุ่ง หวังให้ศาสนิกชนของตน เป็นคนดี และเมื่อศาสนิกชนเป็นคนดีแล้ว สังคมก็ย่อมจะปราศจากความเดือดร้อน ศาสนาช่วยให้มนุษย์รู้ว่า... สิ่งใดชั่ว...ถูกผิด ในศาสนาคริสต์สอนว่าพระเจ้าทรงประทานศีล ธรรมประจาใจมนุษย์ ให้มนุษย์รู้จักดีชั่ว มนุษย์จึงจาเป็นต้องมี ศาสนาเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตเพื่อเลือกกระทาแต่สิ่งที่เป็น คุณงามความด
สมาชิก 1.ดนุนันท์ นามแจ่ม เลขที่6 2.วัชระ อุทัยผล เลขที่ 16 3.ธนวัฒน์ แซ่ฉี เลขที่19 4.สุรพัศ ร่มจำปา เลขที่31 5.พันธวัช เกษราช เลขที่13 6. ธนา หลวงราช เลขที่23 7.จันทร์ฉาย แหยมเจริญ เลขที่34 8.ชุติกาญจน์ ผาคำ เลขที่36 9.นันท์นภัส ศรีสุวรรณ เลขที่40 10.ปนัดดา เหลืองตระกูล เลขที่41
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: