Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตร์ชาติ

Published by looknut-nutthanun, 2020-01-24 04:28:13

Description: ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
และการปฏิรูปประเทศ

Search

Read the Text Version

ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 และการปฏิรปู ประเทศ 1

สถานะ ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 และการปฏริ ูปประเทศ Policy Formulation 2

ประเด็นนาเสนอ 1. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงทสี่ าคญั 2. (รา่ ง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 4. การปฏริ ปู ประเทศ 5. ความเชอื่ มโยงของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และการปฏิรูปประเทศ

โครงสรา้ งประชากรไทย: สงั คมสูงวยั อย่างสมบูรณ์ปี 2564 และระดบั สดุ ยอดปี 2574 วยั แรงงานตอ้ งดูและเด็กและผูส้ ูงอายเุ พม่ิ ข้ึน ท่มี า สศช. 4

สถานการณ์และแนวโน้มภายใน ปญั หาความม่ันคง เศรษฐกจิ ซับซ้อนมากย่งิ ขนึ ขยายตวั ต่าลง โครงสรา้ งประชากร ธรรมาภบิ าล และการบรหิ ารประเทศ เขา้ สสู่ งั คมสูงวยั มากขนึ ยงั ไมม่ ีคณุ ภาพเพียงพอ ความเหล่อื มลา ทรัพยากรธรรมชาติ ยงั อยู่ในเกณฑส์ งู และมแี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ ยังเสอื่ มโทรม 5

สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ภายนอก o ตลาดเกดิ ใหมม่ ีบทบาทสูงขนึ เศรษฐกจิ o การเขา้ ส่สู ังคมสงู วยั ของโลก o ตลาดการเงินโลกไรพ้ รมแดน o การเล่ือนไหลของกระแสวัฒนธรรม o การเปิดเสรีมากขึนของอาเซียน สังคม โลกทีผ่ สมผสานกับวัฒนธรรมท้องถน่ิ ภายหลงั ปี 2558 o การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยอี ยา่ งกา้ วกระโดด o วาระการพัฒนาที่ยั่งยนื ค.ศ. 2030 ทรพั ยากรธรรมชาติ/ o ประเทศมหาอานาจขยายอิทธิพล o ข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ สง่ิ แวดล้อม และเพ่มิ บทบาทในภูมิภาคต่างๆ ของ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทวี ความม่นั คง โลก ความเขม้ ขน้ o การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ o ความขัดแย้งด้านอาณาเขตแบบรัฐ และภยั ธรรมชาติมีความผันผวนและ ต่อรฐั รุนแรงมากขนึ o อาชญากรรมข้ามชาติมีแนวโน้ม ขยายตัวและควบคุมได้ยาก 6

กบั ดักการพัฒนาประเทศ 7

ประเด็นนาเสนอ 1. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงทสี่ าคญั 2. (รา่ ง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 4. การปฏริ ปู ประเทศ 5. ความเชอื่ มโยงของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และการปฏิรูปประเทศ

9

ประเทศอื่น ๆ ที่มยี ทุ ธศาสตรช์ าติระยะยาว 10

ความเชือ่ มโยงรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ กบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ❖ บทบญั ญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ ๒๐ ปี หมวด มาตรา ๖๕ รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน เพ่ือเป็นกรอบในการจัดทํา ๖ แผนต่างๆ เกิดการผลักดันไปสู่เป้าหมายเดียวกัน สาระในยุทธศาสตร์ชาติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กฎหมายบัญญัติ ท้ังนี้ ต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน แนวนโยบาย ทุกภาคสว่ นอย่างท่วั ถึง แหง่ รัฐ หมวด ส่วนท่ี ๔ บทที่ใช้แก่สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา มาตรา ๑๔๒ การเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ ๗ รายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ ต้องความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนพัฒนาต่างๆ รฐั สภา หมวด มาตรา ๑๖๒ คณะรัฐมนตรีท่ีจะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ซึ่งต้องสอดคล้องกับ ๘ หน้าท่ีของรัฐ แนวนโยบายแหง่ รัฐ และยุทธศาสตรช์ าติ คณะรัฐมนตรี บท มาตรา ๒๗๐ ให้วุฒสิ ภา มีหนา้ ทแี่ ละอํานาจตดิ ตาม เสนอแนะ เร่งรดั การจดั ทาํ และดาํ เนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าติ เฉพาะกาล มาตรา ๒๗๕ ให้คณะรัฐมนตรี จัดให้มีกฎหมายเก่ียวกับยุทธศาสตร์ชาติให้แล้วเสร็จ ภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่ประกาศใช้ รฐั ธรรมนูญน้ี และดาํ เนินการจดั ทํายุทธศาสตร์ชาติให้แลว้ เสรจ็ ภายใน ๑ ปนี บั แตว่ ันท่กี ฎหมายใชบ้ ังคับ 11

รา่ งกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ - วสิ ัยทศั น์ 12

พ.ศ. ๒๕๔๒ สำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทำง เศรษฐกิจและสำขำอื่น ๆ มำร่วมกันประมวลและกล่ันกรองพระรำชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุใน แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๙ โดยได้จัดทำเป็นบทควำมเรื่อง “ปรัชญำของเศรษฐกิจ พอเพียง” และได้นำควำมกรำบบังคลทูลพระกรุณำขอพระรำชทำนพระบรมรำชวินิจฉัย โดยทรงพระกรุณำ ปรบั ปรงุ แก้ไขพระรำชทำนและทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ พระรำชทำนพระบรมรำชำนญุ ำตให้นำบทควำมที่ทรง แก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพ่อื เปน็ แนวทำงปฏบิ ตั ิของสำนกั งำนคณะกรรมกำรพฒั นำกำรเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ และทกุ ฝำ่ ยทีเ่ ก่ยี วข้อง ตลอดจนประชำชนโดยทัว่ ไป เศรษฐกิจพอเพยี ง” เปน็ ปรชั ญาช้ถี ึงแนวทางการดารงอยู่และการปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับ ชุมชน จนถึงระดับรฐั ทั้งในการพฒั นาและการบรหิ ารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุก ข้ันตอน และขณะเดียวกนั จะต้องเสริมสรา้ งพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ องรฐั นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก ระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สง่ิ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี 13

ภาพอนาคตประเทศไทย 2579 14

15

พระราชบญั ญัติการจัดทายทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ❖ สาระสาคญั ของพระราชบญั ญตั ิการจดั ทายุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๐ สรุปไดด้ ังนี ๑. องคป์ ระกอบของยุทธศาสตรช์ าติ ๓. คณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติ (๑) วสิ ยั ทัศนก์ ารพฒั นาประเทศ (๒) เป้าหมายการพัฒนาประเทศใน ประธาน นายกรัฐมนตรี ระยะยาว กาํ หนระยะเวลาใน การบรรลเุ ป้าหมายและตวั ชวี้ ดั รองประธาน ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ประธานวฒุ สิ ภา รอนงานยากยรกัฐรมัฐนมตนรตีมรอี หบรหอื มรามยต. (๓) ยุทธศาสตร์ดา้ นตา่ ง ๆ กรรมผทู้ รงคุณวฒุ ิ กรรมการ สว่ นราชกตาารมทภาี่กคฏเหอมกาชยนกเํากหษนตดรกร ฯลฯ ๒. แนวทางการจัดทา กรเลรขมากนารกุ แาลระ เลขาธิการ สศช. มอี านาจแต่งตงั ต้องคํานึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติ ความต้องการและความจําเป็นในการ มอี านาจแตง่ ตัง พัฒนาประเทศ สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ คณะกรรมการจัดทายทุ ธศาสตร์ชาติ มอี านาจแตง่ ตัง พัฒนาท่ีย่ังยืน รวมถึงเป้าหมายการ หน่งึ หรอื หลายคณะก็ได้ ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ ต า ม ท่ี รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ คณะอนกุ รรมการ บัญญตั ิ เพื่อพิจารณาจดั ทํารา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ เพ่ือปฏิบตั หิ น้าท่ีตามท่ีมอบหมาย ในดา้ นตา่ งๆ ได้ จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ 16

กรอบทิศทางและเปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์ชาตใิ นแต่ละด้านเบืองตน้ มงุ่ เนน้ ความสามัคคีทงั้ การรกั ษาความสงบภายในประเทศ เพื่อลดความเหลื่อมลา และสร้างความเป็นธรรมใน สังคมตังอยู่บนหลักการและพืนฐานสาคัญคือการ โดยเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการ สร้างสังคมคุณภาพสังคมในทุกๆ ด้านไปพร้อมกัน ปกครองระบอบประชาธิปไตย การบริหารจัดการและการฟื้นฟู โดยไม่ทอดทิงใครไว้เบืองหลัง โดยการสร้างความ สภาพแวดล้อม และกลไกพ้ืนฐานด้านความม่ันคง การบริหาร ม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic จัดการและการฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อมและกลไกพ้ืนฐานด้าน Security) ความม่นั คง พัฒนากลไกการพฒั นางานความมน่ั คง ขจดั การ ทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ การสร้างความเป็นธรรม ลดความ การบริโภคที่ย่ังยืนและการผลิตที่ย่ังยืน โดยเร่งวาง เหลื่อมล้าในทุกมิติ และสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการ ยุติธรรม ระบบการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสร้างความมั่นคงของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ บริหารจัดการน้ําให้มีประสิทธิภาพ เน้น การเพ่ิมผลิตภาพการผลิต (Productivity) บน การปรับระบบการบริหารจัดการอุทกภัยอย่างบูรณาการ รวมทั้งยกระดับความสามารถในการป้องกันผลกระทบและ พืนฐานของการพัฒนาและใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ ปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ วิจัยและพัฒนาและนวัตกรรม ที่ผสมผสานกับการพัฒนา ธรรมชาติ และปรับตวั ไปสู่รูปแบบของการผลิตและการบริโภค ทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หส้ อดคล้อง ซ่ึงเป้าหมายสําคัญ คือ ประเทศ ทปี่ ลอ่ ยคารบ์ อนตํ่าและเปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อมมากขึ้น ไทยถูกจัดอันดับไม่ต่ํากว่า 1 ใน 10 ของการจัดอันดับ ความสามารถในการแข่งขันของโลก และเพ่ิมผลิตภาพการผลิต ปรับเปลี่ยนภาครัฐให้เป็น “ภาครัฐของประชาชน รวมไมต่ ่ํากว่าร้อยละ 3 ตอ่ ปี เพ่ือประชาชน” และแยกบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ ทาหน้าที่กากับและเป็นผู้ให้บริการในตลาดท่ีมีการ วางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัย แข่งขันกับภาคเอกชนให้ชัดเจน มีขนาดท่ีเหมาะสมกับ สาคัญในการนาพาประเทศไปสู่การเป็นประเทศ พัฒนาแล้ว โดยคนไทยในอนาคตต้องเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ บทบาทภารกิจ มีขีดสมรรถนะสูง ปรับวัฒนธรรมการทํางานท่ี มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัยและ มีความพรอ้ มทง้ั กาย ใจ สตปิ ญั ญา สามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดชีวิต พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 บนฐานของการรู้คุณค่า ความเป็นไทย ตลอดเวลา มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย ความรับผิดชอบต่อสังคม และ มีสขุ ภาวะท่ดี ี 17

18

19

20

21

22

23

ประเด็นนาเสนอ 1. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงทสี่ าคญั 2. (รา่ ง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 4. การปฏริ ปู ประเทศ 5. ความเชอื่ มโยงของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และการปฏิรูปประเทศ

25

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ เปา้ หมาย แนวทางการพฒั นา กคาุณรปธฏริบรัตติมนจทร่ีสยิะทธ้อรนรมเพม่ิ ขนึ ปรับเปลีย่ นค่านิยมคนไทยใหม้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ัย จติ สาธารณะ และพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ IQ/EQ 500+ PISA ส่งเสรมิ ให้เด็กปฐมวัย พัฒนา พฒั นาเดก็ วยั เรียนให้มีทกั ษะคดิ 20 ทักษะทางสมองและทักษะ วเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ ทกั ษะทาํ งาน ไมต่ า่ กวา่ เกณฑ์ ทางสงั คมท่เี หมาะสม การใชช้ วี ติ พร้อมเข้าสู่ตลาดงาน มาตรฐาน %ผู้สงู อายุอาศยั ในบ้านทมี่ ี ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ พัฒนาระบบการดแู ลและสร้าง ภาวะนาหนักเกิน สภาพแวดล้อมเหมาะสม และให้ทุกภาคส่วนคํานึงถึง สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมกับ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ สังคมสูงวยั ลดลง ดชั นคี รอบครวั อบอุน่ ผ ลั ก ดั น ใ ห้ ส ถ า บั น ท า ง สั ง ค ม มี ส่ ว น ร่ ว ม พั ฒ น า ประเทศอย่างเข้มแขง็ - สถาบนั ครอบครวั - สื่อมวลชน มีระดบั ดขี นึ - สถาบนั การศึกษา - ภาคเอกชน - สถาบนั ศาสนา 26

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การสรา้ งความเป็นธรรมลดความเหลอ่ื มลา้ ในสงั คม เป้าหมาย แนวทางการพฒั นา รายไดเ้ ฉลี่ยของประชากร Gini coefficient เพ่มิ โอกาสกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายไดต้ า่ สุดให้เขา้ ถึงบริการ 15เพมิ่ ขึนปีละ + ที่มีคุณภาพของรัฐ - การเขา้ ถึงการศกึ ษา - ปรบั ปรงุ ระบบการจดั เก็บภาษี ทีจ่ นทสี่ ุด 40% 0.41ดา้ นรายได้ - จดั บริการดา้ นสุขภาพ - เพมิ่ เบีย้ คนพิการและเบ้ยี ผ้สู งู อายุ % ลดลงเหลอื - มที ด่ี นิ ทาํ กนิ ของตนเอง อตั ราการเข้าเรียน คบวคุ ามลแาตกกตรา่ทงขาองงกสาัดสร่วแนพทย์ กระจายการให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข ในระดบั การศกึ ษา และสวสั ดิการที่มคี ณุ ภาพใหค้ รอบคลมุ และทัว่ ถึง % ระหว่างพืนที่ 90ขันพืนฐานเทา่ กบั ลดลง ครัวเรอื นที่เข้าถึง เสริมสรา้ งชมุ ชนเข้มแขง็ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แหล่งเงินทุนเพ่ิมขนึ - สร้างและพฒั นาผนู้ ําชุมชน - ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการจดั วสั ดกิ าร ดัชนชี ุมชนเขม็ แข็ง - สง่ เสรมิ ให้เกดิ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ บริการ และจดั การทรพั ยากร เพิม่ ขึนในทกุ ภาค 27

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขนั ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื เศรษฐกจิ ขยายตวั อยา่ งมเี สถียรภาพและยงั่ ยืน การสร้างความเขม้ แข็งให้เศรษฐกิจรายสาขา 5เศรษฐกิจขยายตัวเฉลีย่ ภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบรกิ าร  ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารเข้า 3 /4.5 /6ขยายตวั เฉลยี่ ไม่ต่ากวา่ % ตอ่ ปี สูร่ ะบบมาตรฐาน %% 8,200รายไดต้ ่อหัวเป็น %  ต่อยอดความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมท่ีมี USD ศั ก ย ภ า พ ปั จ จุ บั น เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ ไ ป สู่ ในปี 2564 59,460เกษตรกรมีรายไดเ้ งินสดสุทธิ อตุ สาหกรรมท่ใี ช้เทคโนโลยขี ้นั สงู ผลิตภาพการผลติ ของ bath  วางอนาคตรากฐานการพัฒนาอตุ สาหกรรม  เสริมสรา้ งขีดความสามารถการแข่งขันในเชิง 2.5ปัจจยั การผลติ โดยรวม ตอ่ ครวั เรอื น ธุรกิจของภาคบริการ % ต่อปี พนื ทที่ ี่ได้รับการพฒั นาสู่  ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบเพ่ือ 2.5 ± 1.5กรอบอัตราเงนิ เฟ้อ 15เมอื งอตุ สาหกรรมนเิ วศ ส่งเสริมการค้าที่เป็นธรรมและอํานวยความ สะดวกการคา้ การลงทุน จานวน พืนที่  เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการเงินและ 3รายได้จากการท่องเท่ียว สถาบันการเงนิ ท้ังในตลาดเงินและตลาดทุนให้ ไม่ตา่ กว่า ลา้ นลา้ นบาท สามารถสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ลดต้นทุนในการให้บริการ 28

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาอย่างยงั่ ยนื ขยะมลู ฝอยชุมชน + เพิม่ พนื ทช่ี ลประทาน พัฒนาหลักเกณฑ์การปรับปรุงแผนที่แนว ไดร้ บั การจดั การ เขตที่ดนิ ของรฐั แบบบรู ณาการ (One Map) % 350,000 ปลี ะ 350,000 ไร่ 75อย่างถกู ต้อง 75% + เพ่ิมพืนท่ีป่าเศรษฐกิจเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย เพม่ิ พืนที่ป่าไม้ 40% รอ้ ยละ 15 ของพ้ืนที่ประเทศ โดยส่งเสริมการ 7+ ปลกู ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจระยะยาว % 40 ของพืนท่ปี ระเทศ % เร่งรัดให้มีการประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติ ทรัพยากรนา้ํ พ.ศ. .... และแผนบริหารจดั การ ลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกใน ทรพั ยากรนา้ํ ภาค พลงั งาน และคมนาคม ผลักดันกฏหมายและกลไกเพื่อการคัดแยก ขนสง่ ขยะ สนบั สนุนการแปรรูปเปน็ พลังงาน พฒั นามาตรการและกลไกเพ่ือสนับสนุน การลดกา๊ ซเรือนกระจกในทกุ ภาคสว่ น ปรับปรุงกฎหมายและพัฒนาโครงสร้าง พืนฐานเมืองเพื่อรองรับการเติบโตที่เป็นมิตร กบั ส่ิงแวดล้อม 29

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงแหง่ ชาตเิ พอ่ื การพฒั นาประเทศ สูค่ วามมงั่ คงั่ และยงั่ ยนื แนวทาง เป้าหมาย รักษาความมน่ั คงภายใน : สร้างจิตสานกึ ของคนในชาติใหม้ คี วามหวงแหน ปกป้องและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ และธารงรกั ษาสถาบนั ชาติ/ศาสนา/พระมหากษตั รยิ ์ + เสริมสร้างความปรองดองของคนในชาติ สังคมมีความสมานฉันท์ รักษาความมน่ั คงและ ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความ ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเลท่ี ปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน คงไวซ้ ึง่ อธิปไตย ประเทศไทยมคี วามสมั พนั ธ์และความร่วมมอื ดา้ น ความมัน่ คงในกลุม่ นานาประเทศ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื กับ พัฒนาเสรมิ สร้างศกั ยภาพ ประเทศไทยมีความพร้อมต่อการรับมือภัย ตา่ งประเทศด้านความม่ันคง การปอ้ งกันประเทศ คกุ คามทางทหาร บริหารจดั การความมน่ั คงเพ่อื - อันดับความเสี่ยงจากการก่อการร้ายต่ากว่า การพัฒนา ภายใตก้ ารมสี ว่ น อันดบั ที่ 20 ของโลก - อนั ดับความเส่ยี งจากการโจมตีด้านไซเบอร์ในต่า รว่ มของประชาชน กว่าอนั ดับท่ี 10 ของโลก แผนงานความมัน่ คงสอดคล้องกบั นโยบาย เศรษฐกิจ/สังคม/ส่งิ แวดลอ้ ม 30

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การบรหิ ารจดั การในภาครฐั การป้ องกนั การทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบและธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย ปรับปรงุ โครงสร้าง ปฏริ ูปกฎหมาย หนว่ ยงาน และกระบวนการยุติธรรม บทบาท ปอ้ งกันและปราบปราม ภารกิจ คณุ ภาพบคุ ลากรภาครฐั การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ ปรับปรงุ กระบวนการ อปท. ได้รบั รางวัลการ งบประมาณ บริหารจดั การทีด่ ี สร้างกลไกในการติดตามตรวจสอบ การเงนิ การคลังภาครฐั เป้าหมาย IMD 2nd CPI 50+ of ASEAN 31

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์ แนวทาง การพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ก า ร พั ฒ น า ด้ า น พ ลั ง ง า น การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล คมนาคมขนส่ง พัฒนาขนส่งทาง พัฒนามาตรฐานการบริหาร เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ราง ขนส่งสาธารณะ โครงข่ายถนน จัดการโลจิสติกส์ การอํานวย การใช้พลังงานทดแทน ส่งเสริม ทางธุรกิจ สร้างความม่ันคง ขนสง่ ทาง อากาศ ขนส่งทางนํา้ ความสะดวกทางการค้า ไทยเป็นศนู ย์กลางพลังงาน ปลอดภัยทางไซเบอร์ เป้าหมาย ลด1ต2น้ ท%นุ โลขจอิสงตGิกDสP์เปน็ ขยายโครงขา่8ย5อิน%เทอรเ์ น็ตใหไ้ ด้ ลดความเข้มการใช้ ของหมบู่ ้านทัว่ ประเทศ พลัง7งา.น7อยูท่ ่ี เปทปรา็นมิ งาน4ณาเข%พน่ิมสข่งกนึ ทาเาปรงข็นรนา1สงเง่5พสิ่ม%ินขคนึ า้ ขยายกาลงั การผลติ นาประปา กรเขะจตานยคโรคหรลงขว่างย1น0าป0ร%ะปา 32

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 8 การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม แนวทาง ➢ ส่งเสรมิ การลงทุน R &D ผลกั ดนั ในเชิงพาณิชย์ เป้าหมาย และเชงิ สังคม ลงทนุ วิจยั และพฒั นากล่มุ เทคโนโลยีที่ 30เพ่มิ อนั ดับความสามารถการแขง่ ขนั โครงสรา้ ง ไทยมีศกั ยภาพ พัฒนาตลาดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม พ้ืนฐาน วทน. ให้อยู่ในลาดับไม่เกิน ไทย เสรมิ สร้างระบบการบรหิ ารจัดการทรัพยส์ ินทาง เพม่ิ สัดส่วนค่าใชจ้ ่ายการลงทุน ปัญญา ของ GDP 1.5เพือ่ การวจิ ยั และพฒั นาส่รู อ้ ยละ ➢ พัฒนาให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี สัดส่วนการลงทุน R &D ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการออกแบบและ การจดั การธรุ กิจ 70:30เอกชนตอ่ รัฐเป็น ➢ พัฒนาสภาวะแวดล้อมของ วทน. ทั้งด้าน 25 :10,000บคุ ลากรดา้ น R &D = คน คน บุคลากร โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และการบรหิ ารจัดการ 33

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 9 การพฒั นาภาค เมอื ง และพ้นื ท่เี ศรษฐกจิ ภาคเหนอื : เป็นฐานเศรษฐกิจมลู ค่าสูง เป้าหมาย ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : ลดชอ่ งวา่ งรายได้ เพิ่มจานวนเมือง พื น ท่ี ฐ า น เพ่ิมมูลค่าการ ระหวา่ งภาคและมี ศู น ย์ ก ล า ง ข อ ง เศรษฐกิจหลักมี ล ง ทุ น ใ น พื น ท่ี หลุดพ้นจากความยากจน การกระจายรายได้ จังหวัดเป็นเมือง ประสิทธิภาพสูง เศรษฐกิจใหม่ สเู่ ปา้ หมายการพง่ึ ตนเอง ทีเ่ ป็นธรรม นา่ อยู่ และเป็นมิตรต่อ ชายแดนร้อยละ สิ่งแวดล้อม 20 ภาคกลาง เปน็ ฐานเศรษฐกจิ ชนั นา เป็นฐานการสร้าง พัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง พัฒนาฟนื้ ฟพู นื ท่บี ริเวณ พฒั นาพืนทเี่ ศรษฐกจิ รายไดท้ ่หี ลากหลาย ศูนย์กลางของจังหวดั ชายฝั่งทะเลตะวันออก ใหมบ่ รเิ วณชายแดน ภาคใต้ ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เอื้อต่อการ เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลัก เป็นประตูเศรษฐกิจเช่ือมโยงกับ ขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และสงั คม ของประเทศที่ขยายตัวอย่างมีสมดลุ ประเทศเพ่อื นบา้ น 34

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 10 ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพอ่ื การพฒั นา เปา้ หมาย แนวทาง การเช่อื มโยงตามแนวระเบยี งเศรษฐกิจ ประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาท่ี การพัฒนาความเชอ่ื มโยงในด้านตา่ งๆ สาคญั ทกุ ระดับ ระบบห่วงโซ่มูลค่าในอนุภูมิภาคและ GMS ACMECS IMT-GT BIMSTEC JDS และอาเซยี น ภมู ิภาคอาเซยี น ประเทศไทยเป็นฐานเศรษฐกิจ การค้า ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของ การส่งเสริมการลงทุนไทย การสร้างความเป็นหุ้นส่วนการ และการลงทุนที่สาคัญ การประกอบธุรกิจ การบริการ ในต่างประเทศ พัฒนากับประเทศในอนุภูมิภาค และการลงทนุ ภูมภิ าค และนานาประเทศ 35

ประเด็นนาเสนอ 1. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงทสี่ าคญั 2. (รา่ ง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 4. การปฏริ ปู ประเทศ 5. ความเชอื่ มโยงของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และการปฏิรูปประเทศ

การปฏริ ูปประเทศ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๑๖ การปฏริ ูปประเทศ มาตรา ๒๕๗ การปฏริ ูปประเทศตามหมวดน้ตี อ้ งดําเนินการเพือ่ บรรลุเปา้ หมาย ดังต่อไปน้ี (๑) ประเทศชาติมคี วามสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้าน วัตถุกบั การพัฒนาด้านจติ ใจ (๒) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอนั ทดั เทียมกันเพอ่ื ขจดั ความเหล่อื มลํ้า (๓) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 37

การจดั ทาแผนการปฏริ ปู ประเทศ พระราชบญั ญัติแผนและขนั ตอนการดาเนินการปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. 2560 แผน ขันตอน และวิธกี ารดาเนินการ 16 การเสนอให้มหี รือแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ปฏริ ูปประเทศ และผลอันพึงประสงคซ์ ึ่ง ที่จาเปน็ เพอื่ ดาํ เนนิ การตาม แผนการปฏิรูปประเทศ ต้องสอดคล้องกับผลท่ีบัญญัติไวใ้ น รฐั ธรรมนูญและยุทธศาสตร์ชาติ มาตรา 5 7 2 กาหนดระยะเวลาท่ตี อ้ งดาเนนิ การในแต่ ผลสัมฤทธ์ิในการดาเนินการปฏริ ูปประเทศท่ี ละข้นั ตอนตามลาํ ดับในลกั ษณะท่เี ป็น 34 คาดหวังว่าจะบรรลุภายในระยะเวลาหา้ ปี การบรู ณาการและตวั ชวี้ ดั ผลการ ดําเนินการปฏิรูปประเทศในแต่ละดา้ น วงเงินท่คี าดวา่ จะใชใ้ นการดาเนินการปฏิรปู กาหนดหน่วยงานของรฐั หรอื บคุ คล ประเทศในแต่ละดา้ นหรอื แต่ละเรื่อง รวมทง้ั ทรี่ บั ผดิ ชอบการดาํ เนนิ การ ประมาณการของแหลง่ ท่มี าของเงนิ การจดั ทาแผนการปฏริ ูปประเทศให้พิจารณาความเร่งด่วนของการปฏริ ูปประเทศในแตล่ ะด้าน เพื่อกาหนดลาดบั ขนั ตอนในการปฏริ ปู ประเทศ และตอ้ งคานึงถึงความพร้อมทางด้านบุคลากรและการเงินการคลังของประเทศด้วย 38

คณะปฏริ ปู ประเทศ 11 ดา้ น 7 ดา้ นสาธารณสขุ 1 ดา้ นการเมอื ง 8 ดา้ นสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 ดา้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ 3 ดา้ นกฎหมาย 9 ดา้ นสงั คม 4 ดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรม 5 ดา้ นเศรษฐกจิ 10 ดา้ นพลงั งาน 6 ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 11 ดา้ นการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ คณะปฏริ ปู ตารวจ คณะปฏริ ปู ดา้ นการศกึ ษา 39

ความเชื่อมโยงและสอดคลอ้ งภายในคณะแผนปฏิรูปประเทศดา้ นต่างๆ คณะกรรมการปฏริ ปู 13 คณะ ด้านการเมือง ดา้ นกระบวนการยุติธรรม ด้านสาธารณสขุ ดา้ นสงั คม • การเลอื กตงั้ ทสี่ จุ รติ และเทย่ี งธรรม • การกาํ หนดระยะเวลาในการดําเนนิ งานด่านกระบวนการยตุ ธิ รรม • การบริหารจดั การด้านสขุ ภาพ เช่น สารสนเทศ การต้ังเขตสขุ ภาพ • การออม สวัสดิการ การลงทุนทางสังคม เชน่ สง่ เสริม • สร้างวัฒนธรรมทางการเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย • กลไกช่วยเหลือประชาชนผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ • ระบบบริการสาธารณสุข เชน่ บรกิ ารปฐมภูมิ แพทยแ์ ผนไทย วิสหกิจเพื่อสังคม หลกั ประกนั ดา้ นรายไดข้ องผู้สงู อายุ • สร้างพลเมืองและการพัฒนาการเมอื ง • การสรา้ งกลไกเพ่อื ให้มีการบังคับใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั กฎหมายบาํ เหนจ้ บํานาญแหง่ ชาติ • ปฏริ ปู ผู้ดาํ รงตาํ แหน่งทางการเมืองและระบบพรคคการเมอื ง • ระบบการสืบสวนคดีอาญา* สรา้ งเสรมิ ป้องกัน และควบคุมโรค • ปฏริ ปู องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ • สรา้ งและพัฒนาวัฒนธรรมองคก์ ร* • การคุ้มครองผู้บรโิ ภคและผใู้ ห้บรกิ าร เชน่ ทักษะสุขภาพ คมุ้ ครอง • ระบบสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แขง็ เชน่ สิทธแิ ละบทบาท • ปฏิรูประบงานนิตวิ ทิ ยาศาสตร์* ชมุ ชน ทุนชมุ ชน กองทุนสวัสดิการชุมชน เศรษฐกิจ ดา้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ผ้ใู หบ้ รกิ าร ชมุ ชน วิสาหกิจชมุ ชน ดา้ นเศรษฐกจิ • ความย่ังยืน เพียงพอดา้ นการเงินการคลงั สุขภาพ เช่น ระบบ • การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รฐั บาลดจิ ิทลั • การมีส่วนรว่ ม การเรียนรู้ การรับรู้และการส่งเสรมิ • การบรู ณาการฐานขอ้ มลู ของหนว่ ยงานภาครฐั • สรา้ งความสามารถทางการแข่งขนั หลักประกนั สขุ ภาพ กจิ กรรมทางสังคม เช่น สรา้ งความเปน็ พลเมอื ง มี • ปรับโครงสรา้ งและระบบการบริหารงานภาครัฐและแผน • ประชาชนได้ประโยชนจ์ ากการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ คุณธรรมและธรรมาภบิ าล คํานงึ ถึงส่วนรวม • สนับสนนุ การนาํ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละเทคโนโลยีมาใช้ ดา้ นส่อื สารมวลชนและเทคโนโลยสี ารสนเทศ กาํ ลังคน • ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้เปน็ ธรรม ลดเหลื่อมลํ้า • กล่มุ ผดู้ ้อยโอกาส ผูพ้ ิการ และผูส้ ูงอายุ เช่น ปรับปรุง • พฒั นาการบริหารงานบคุ คล • สรา้ งกลไกเพอื่ สง่ เสริมสหกรณ์และผูป้ ระกอบการแตล่ ะขนาด • ปฏริ ูปกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ้ ง กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง ขจดั อุปสรรดา้ นการเข้าถึงการขนสง่ • ปรบั ปรงุ ระบบการจัดซือ้ จัดจา้ งภาครฐั ----- ตาม รธน. 60 ----- • ระบบและเครือ่ งมอื ดา้ นส่อื สารมวลชน สาธารณะ เพิ่มศักยภาพ • ความปลอดภยั ทางไซเบอร์ ด้านกฎหมาย ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม • บรกิ ารดาวเทียมสอ่ื สาร • การจัดการขอ้ มลู และองคค์ วามรูด้ ้านสงั คม เชน่ จดั การ • มาตรฐานจรยิ ธรรมสอ่ื องค์ความณูไ้ ปส่ชู มุ ชนและประชาชน กําหนดมาตรการ • การปรับปรุงกฎหมาย • ทรพั ยากรทางบก • อาํ นาจของหน่วยงานในการกาํ กบั ดแู ลส่อื การใช้ประโยชนด์ ้านสงั คม ให้ อปท. เป็นผบู้ รหิ ารจดั การ • การพัฒนาระบบฐานข้อมลุ กฎหมายภาครัฐโดยใชเ้ ทคโนโลยี • ทรัพยากรทางนํ้า • การใช้ส่ือแตล่ ะประภทอย่างสร้างสรรค์ ขอ้ มูล • กลไกการชว่ ยเหลอื ประชาชนในการจัดทําและเสนอกฎหมาย • ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง • ปฎริ ปู ระบบการเรยี นการสอนวชิ ากฎหมาย • ความหลากหลายทางชวี ภาพและสิง่ แวดล้อม ดา้ นการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ ด้านการศึกษา ----- ตาม รธน. 60 ----- • ระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม • ด้านการป้องกัน/เฝา้ ระวงั เชน่ ปลูกจิตสํานกึ ทภุ าคสว่ น มาตรการ • ดําเนินการให้เดก็ เล็กได้รับการดแู ลและพฒั นา ดา้ นพลงั งาน ดา้ นตารวจ • กฎหมายเพื่อจดั ต้ังกองทุน ค้มุ ครองผแู้ จง้ เบาะแส • มีกลไกและระบบการผลิต ผูป้ ระกอบการวชิ าชีพครู • โครงสรา้ งการบริหารและราคาพลงั งาน • ปรบั ปรุงกฎหมายเกย่ี วกบั อาํ นาจหนา้ ที่ ภารกจิ ใหเ้ หมาะสม • ดา้ นการปอ้ งปราบ เช่น การบริหารงานทมี่ ธี รรมาภบิ าลทั้งภาครัฐ • ค่าตอบแทนครทู ี่เหมาะสม • พลังงานทดแทน • ปรับปรุงดา้ นการบริหารงานบคุ คล • มีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงาน • กิจการไฟฟ้า • หลักประกันด้านคา่ ตอบแทนท่เี หมาะสม และเอกชน ทบทวนสนิ บนเงินรางวัลของเจา้ หนา้ ทรี่ ัฐ การเปิดเผย • ปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอนทุกระดับ • การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน • มีความเป็นธรรมในการแต่งตัง้ โยกยา้ ย และการพิจารณาบําเหน็จ • ปโิ ตรเลยี ม ข้อมูลข่าวสารภาครัฐให้ประชาชนเข้าถึงตรวจสอบได้ ----- ตาม รธน. 60 ----- ---- สปท. พลงั งาน ---- ความชอบ • ดา้ นการปราบปราม เช่น จดั ทาํ ฐานขอ้ มลู คดที ุจรติ ปรบั ปรงุ การ ---- รธน. 60 ด้านกระบวนการยตุ ธิ รรม ---- บังคับใชก้ ฎหมายในกระบวนการยตุ ิธรรม • ดา้ นการบริหารจัดการ เช่น พฒั นากลไกในการป้องกันและ ปราบปราม ปรบั ปรงุ กฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง 40

ประเด็นนาเสนอ 1. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงทสี่ าคญั 2. (รา่ ง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 4. การปฏริ ปู ประเทศ 5. ความเชอื่ มโยงของ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และการปฏิรูปประเทศ

กรอบระยะเวลาการดาเนินงาน ประเดน็ แผนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ การจัดทํารา่ งแผน ๒๔ ธนั วาคม ๖๐ ๒๔ มกราคม ๖๑ เสนอทป่ี ระชมุ รว่ มฯ พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบรา่ งแผนฯ ๒๗ มกราคม ๖๑ ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๖๑ สศช. ดําเนินการรับฟงั ความเหน็ ฯ ทปี่ ระชุมรว่ มฯ พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบรา่ งแผนปฏิรปู ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๖๑ ๘ เมษายน ๖๑ คณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาตเิ สนอรา่ งแผนปฏิรปู ตอ่ ครม. ๒๘ มนี าคม ๖๑ ๗ พฤษภาคม ๖๑ เมื่อไดร้ ับความเห็นชอบจาก ครม. และรายงานต่อรัฐสภาเพือ่ ทราบแล้ว ให้ประกาศ ๒๘ มนี าคม ๖๑ เปน็ ต้นไป ๕ มถิ นุ ายน ๖๑ ในราชกจิ จานเุ บกษา และใชบ้ งั คับตอ่ ไป ๓๐ กรกฎาคม ๖๑ คณะกรรมการจัดทํายทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านตา่ ง ๆ แกไ้ ขเพิม่ เติมร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ และเสนอต่อคณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาตพิ ิจารณาร่างยทุ ธศาสตร์ชาติและเสนอตอ่ ครม. ครม.พิจารณารา่ งยุทธศาสตรช์ าติ และเสนอต่อ สนช. นรม. นาํ ร่างยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ี่ สนช. ให้ความเห็นชอบแล้ว ข้ึนทลู เกลา้ ฯ ถวาย 42

นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี องค์กร ประชารัฐ ชมุ ชน แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี มน่ั คง ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ มง่ั คงั่ คน ยง่ั ยืน กิจกรรม/โครงการ เปา้ หมายการพฒั นาท่ียงั่ ยนื (SDGs) การครองตน/การดาเนนิ นโยบาย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาคกี ารพัฒนา ภาคีการพฒั นา 43

ระดบั ของแผนตามมติ ครม. 44

สง่ ทา้ ย...อยากใหท้ กุ คนคดิ วเิ คราะห์ – สถานะและบทบาทของเรา 45

Wanchat Suwankitti, Ph.D. [email protected] www.nesdb.go.th 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook