50 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร 1. คณุ ภาพหลักสตู รการเรียนการสอนและการประเมนิ ผล ผลการดำเนนิ งาน ตัวบ:งชี้ สาระของรายวิชาในหลกั สูตร ผลการประเมนิ ตนเองในปc 2562 มีผลการดำเนินงานในระดบั 3 (ตวั บPงช้ี 5.1) ผลการประเมนิ ตนเองในปc 2563 มผี ลการดำเนนิ งานในระดับ 3 ผลการดำเนินงาน 1)การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าในหลกั สตู ร (P) มีผลดำเนินการดังน้ี 1. หลกั สตู รสำรวจความคดิ เห็นของนักศึกษาบัณฑิตและผMใู ชบM ัณฑิต 2.อาจารยIผูMรับผิดชอบหลักสูตรรPวมกันกำหนดรายวิชาและคำอธิบายที่มีเนื้อหาทันสมัยเหมาะสมกับ ศาสตรแI ละหนPวยกิต 3. กำหนดความรบั ผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรองใน มคอ.2 4. เชิญผทูM รงคณุ วุฒริ Pวมวพิ ากษIเม่อื พบขอM บกพรPองจากขMอเสนอใหMปรบั แกM 5. เสนอหลกั สูตรตPอคณะ สภาวชิ าการ สภามหาวทิ ยาลยั และสกอ. อนุมตั ิ 6. ประเมินผลการปรับปรงุ หลักสตู รใหสM ้นิ ขอM บกพรPอง 7. นำผลการประเมินไปปรับปรุง (D) การดำเนนิ การตามระบบและกลไกการปรบั ปรงุ หลกั สูตรและสาระรายวชิ าในหลักสูตร การดำเนินการตามระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรใหMทันสมัยตามความกMาวหนMาของ ศาสตรIพบวPาหลักสูตรไดMมีการพัฒนาหลักสูตรปรับปรุงป7 พ.ศ. 2560 ใหMมีความทันสมัยสอดคลMองกับ ความกMาวหนMาทางศาสตรIภาษาจีนและความตMองการของผูMใชMบัณฑิต โดยวิเคราะหIขMอมูลจากการ สำรวจความตMองการของผMูเรียนและผูMใชMบัณฑิต และขMอเสนอแนะของผูMทรงคุณวุฒิแลMวนำมาปรับปรุง แกMไข จากน้ันนำเสนอตPอคณะกรรมการบริหารคณะ สภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย และสกอ. ตามลำดบั (C) การประเมินระบบและกลไกการออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวชิ าในหลกั สูตร หลักสูตรจัดประชุมผูMรับผิดชอบหลักสูตรเพื่อทบทวนผลการดำเนินงานของหลักสูตร โดย พิจารณาถึงป˜ญหาหรือสิ่งท่ีคMนพบระหวPางการดำเนินงานของหลักสูตร รวมถึงความกMาวหนMาในการ สอนของสาขาวิชาในสถานการณIป˜จจุบัน ท่ีประชุมเห็นวPาหลักสูตรจำเปjนตMองมีการปรับปรุงตามรอบ ระยะเวลาที่กำหนดในป7 2564 ดังน้ันหลักสูตรจึงไดMมีการปรับแนวทางดำเนินงานใหMหลักสูตรพรMอมใชM งานตามระยะเวลาทก่ี ำหนดไวM (A) การปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการออกแบบหลกั สูตรและสาระรายวชิ าในหลกั สตู ร หลักสูตรไดMประชุมอาจารยIผูMรับผิดชอบหลักสูตรเพ่ือทบทวนกระบวนการ สรุปไดMวPาเพื่อใหMสอด รับกับโลกยุคป˜จจุบัน (New normal) และความกMาวหนMาทางศาสตรIภาษาจีนตามความตMองการของ ผMูเรียนและความตMองการของผMูใชMบัณฑิต และผMูทรงคุณวุฒิท่ีไดMชPวยแนะนำ หลักสูตรจึงไดMปรับ รายละเอียดใน มคอ3 เพ่ือใหMเนื้อหาทันสมัยและผลิตบัณฑิตใหMตรงตามตลาดแรงงานตMองการเพื่อ พัฒนาหลกั สูตรป7หนาM 2) การปรับปรุงหลักสูตรใหMทันสมัยตามความกMาวหนMาในศาสตรIสาขาวิชานั้นๆ (ถMามีการปรับปรุง หลกั สตู รในรอบปก7 ารประเมนิ ) (P) หลกั สูตรมรี ะบบกลไกการปรับปรุงหลกั สูตรดังนี้ หลักสูตรทบทวนความทันสมัยของหลักสูตรความเปลี่ยนแปลงทางวิทยาการ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อออกแบบหลักสูตร โดยหลักสูตรมีการประชุมวางแผนจัดโครงการเตรียมฝšก
51 ประสบการณIวิชาชีพภาษาจีน จากการสำรวจ นักศึกษามีความตMองการใหMทางหลักสูตรอบรมโดยมี หัวขMอการเขียนประวัติสPวนตัว การเขียนแผนการสอน การพัฒนาบุคลิกภาพกPอนออกฝšกประสบการณI วิชาชีพภาษาจีน นอกจากนี้ คณาจารยIในหลักสูตรยังมีความเห็นวPา ควรจัดโครงการบูรณาการดMาน เทคโนโลยีใหกM ับนกั ศกึ ษาในรายวชิ าหนึ่งในหลกั สตู ร (D) การดำเนินงานตามระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรใหMทันสมัย ตามความกMาวหนMาของ ศาสตรI พบวPา หลักสูตรไดMมีการปรับปรุงเล็กนMอยใหMมีความทันสมัยใน 2 รายวิชาไดMแกP รายวิชาเตรียม ฝšกประสบการณIวิชาชีพภาษาจีน และวิชาภาษาจีนธุรกิจ ซ่ึงไดMจัดโครงการบูรณาการตามแผนท้ัง2 รายวิชา ไดMแกP โครงการเตรียมฝšกประสบการณIวิชาชีพภาษาจีน สำหรับนักศึกษาชั้นป7ที่ 4 และ โครงการเจรจาตดิ ตอP สง่ั ซื้อสนิ คMาออนไลนจI ากจีนสำหรับนกั ศึกษาชั้นป7ท2่ี (C) การประเมินระบบและกลไกการปรบั ปรงุ หลกั สูตรใหทM ันสมยั ตามความกาM วหนMาของศาสตรI หลักสูตรประชุมอาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตร เพื่อทบทวนกระบวนการปรับปรุงหลักสูตร ใหM ทันสมัยตามความกMาวหนMาของศาสตรI สาขาภาษาจีน สรุปไดMวPา นักศึกษาช้ันป7ท่ี 4 สามารถทำวีดีโอ การสอนออนไลนIเพื่อใชMจัดการเรียนการสอนในระหวPางการแพรPระบาดของเช้ือไวรัสCOVID19 ตามแผนการสอน สPวนในรายวิชาภาษาจีนเพื่อธุรกิจ นักศึกษาชั้นป7ที่ 2 สามารถเจรจากับแมPคMาชาว จนี เพ่ือสงั่ ซ้ือสินคMาตาP งๆ จากเวบ็ ขายสนิ คาM ออนไลนIของประเทศจนี (A) การปรับปรุงระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรใหMทันสมัย ตามความกMาวหนMาของศาสตรIสาขา นัน้ ๆ การปรับปรุงระบบการตามผลทบทวนกระบวนการปรับปรุงหลักสูตร พบวPา ไดMมีการปรับ หลักสูตรใหMทันสมัยและสอดคลMองกับสังคม เศรษฐกิจในป˜จจุบัน โดยมีการปรับปรุงเล็กนMอยในบาง รายวิชาในหลักสูตร มีประเมินผลแลMววPาควรจัดโครงการอบรมใหMความรูMเรื่องการประยุกตIใชMสื่อการ เรยี นรูภM าษาจีนออนไลนเI พิ่มเติมใหกM บั นกั ศกึ ษา โดยเฉพาะอยPางยง่ิ นกั ศึกษาชน้ั ปท7 ี่ 4 การพัฒนารายวชิ าจากผลการดำเนินงานใน มคอ.5 ของแตPละวิชา พบวาP มีประเด็นควรทำการ พฒั นาในรายวชิ าตาP ง ๆ ดังน้ี รายวิชา จดุ ท่ีควรพฒั นา แนวทางปรบั ปรุง 1.ตวั อักษรจนี อุปกรณกI ารสอนไมPเพียงพอ วางแผนเตรียมสื่อการสอน เพิ่มเติม เชPน คลิปสอนการเขียน พPูกันจนี 2.การเขยี นภาษาจนี 1 ควรพัฒนาเอกสาร ประชุมวางแผนปรับปรงุ เอกสาร 3.การสอนภาษาจนี ในฐานะ ประกอบการสอน หรอื ประกอบการสอนหรอื ตำราใหM ภาษาตาP งประเทศ ตำรา เหมาะสม 4.ไวยากรณIภาษาจีน 5.วัฒนธรรมและประเพณีจีน 6.การเตรยี มฝšก จัดกจิ กรรมการบรรยายใหM วางแผนปรบั ปรุง พัฒนา ประสบการณวI ชิ าชพี ความรMใู นหัวขMอ การเขียน กระบวนการฝกš ประสบการณI แผนการสอนในระดบั วิชาชีพ โรงเรยี นประถม มัธยม
52 การวางระบบผสูF อนและกระ ผลการประเมินตนเองในปc 2562 มผี ลการดำเนนิ งานในระดับ 3 บวนการจดั การเรยี นการสอน ผลการประเมนิ ตนเองในปc 2563 มีผลการดำเนนิ งานในระดบั 3 (ตวั บPงชี้ 5.2) วธิ เี ขียนผลการดำเนนิ งาน 1) การพจิ ารณากำหนดผMูสอน มผี ลการดำเนินงาน ดงั นี้ 1.1 จำนวนอาจารยIผสMู อน........9......คน อาจารยพI เิ ศษ.....0......คน 1.2 เกณฑIภาระการสอน 1.2.1 การกำหนดอาจารยผI Mูสอน (P) ระบบและกลไกในการกำหนดอาจารยผI Mสู อน ตามระบบการจดั การเรยี นการสอน หลกั สตู รมกี ารวางแผนระบบการจดั การเรยี นการสอน โดยไดจM ดั การประชมุ เพอื่ กำหนดรายวิชา ดังนี้ 1 ทราบขMอมลู ของรายวชิ าทเี่ ปด® สอนตามแผนการเรยี นของหลกั สตู ร 2 พิจารณารายวชิ าท่ีเป®ดสอนตามแผนการเรียนของหลักสตู ร ของแตลP ะชนั้ ป7 3กำหนดภาระงานสอนของอาจารยIผสMู อนแตPละคนใหMตรงตามระเบยี บขMอบงั คับของมหาวิทยาลยั 4 กำหนดอาจารยผI Mสู อนและตามความรคMู วามสามารถของอาจารยผI ูMสอน 5 สงP ขอM มลู ภาระงานสอนไปท่ีสำนกั งานทะเบียนของมหาวทิ ยาลัย (D) การดำเนินการตามระบบและกลไกการกำหนดผูสM อน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรไดMมีการพิจารณากำหนดอาจารยIผMูสอน ตามคุณวุฒิและความเช่ียวชาญ ในเนื้อหา และ ทักษะรายวิชาของแตPละรายวิชาที่ไดMเป®ดสอนในแตPละภาคการศึกษา และควบคุมภาระงานสอนของ อาจารยIประจำหลักสตู รทุกคนใหคM รบตามเกณฑขI องมหาวทิ ยาลัย 1.หลักสูตรประชุมพิจารณากำหนดผูMสอนในหลักสูตร ประจำป7การศึกษา จำนวน 2 ครั้ง (กPอนภาค การศกึ ษาที่ 1 และกPอนภาคการศกึ ษาท่ี 2) 2. มีการกำหนดใหMอาจารยIผMูสอนท่ีไมPมีตำแหนPงผูMบริหาร ตMองมีภาระการสอนไมPต่ำกวPา 15 คาบตPอ สปั ดาหI สำหรับประธานหลกั สตู รภาระการสอนไมตP ำ่ กวPา 9 คาบตอP สปั ดาหI 3. หลักสูตรกำหนดรายวิชาใหMผูสอนกระจายไปยังรายวิชาตPาง ๆ ที่เปjนวิชาบังคับและวิชาเลือกเพ่ือใหM ผเMู รียนในหลักสูตรไดMเรียนกับผูMเรียนทม่ี คี วามหลากหลาย 4. พิจารณาผMูสอนที่คำนึงถึงประสบการณI ความรูM ความสามารถ ความชำนาญของอาจารยIผMูสอนในแตP ละรายวชิ า 5. หลกั สตู รเสนอชื่อผMูสอนใหMกับสำนักสงP เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น 6. สำนักสPงเสริมวิชาการและงานทะเบียนจัดทำประกาศรายช่ือผูMสอน หมPูเรียนนักศึกษา หMองเรียน หMองสอบปลายภาค แจMงไปยังคณะและผMูสอนทราบเพ่ือจัดทำ มคอ. 3 และดำเนินการจัดการเรียนการ สอน ทดสอบ ประเมนิ ผMูเรยี น 7. นักศึกษาประเมินอาจารยIผMูสอน 8. หลักสตู รจัดประชมุ เพื่อประเมนิ กระบวนการกำหนดผสูM อนรายวชิ าในหลักสตู ร 9. หลักสูตรจัดประชุมเพื่อทบทวนกระบวนการกำหนดผMูสอนรายวิชาในหลักสูตร และสรุปผลการ ทบทวนเพอื่ นำไปปรับใชMในป7การศึกษาตอP ไป 1.3 ภาระการสอน
53 สรปุ ภาระการสอนของอาจารยผI สMู อนทกุ คนในภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาท่ี 2 ชอื่ อาจารย& ภาระการสอน ภาระการสอน รวมท้งั (ชัว่ โมง) (ชว่ั โมง) หมด ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ทฤษฎี ปฏิบัติ อาจารยIดร. รจุ ิรา ศรีสุภา 6 8 6 8 28 อาจารยIจิราพร ปาสาจะ 0 16 6 8 30 อาจารยจI นิ ตนา แยมM ละมลุ 0 16 6 8 30 อาจารยHI uang Wanting 0 16 6 16 38 อาจารยI วรยศ ชื่นสบาย 9 4 3 12 28 อาจารยYI ang Shujuan 0 16 0 16 32 อาจารยIปานดวงใจ บุญจนาวิโรจนI 6 8 0 16 30 อาจารยIดร.พชรมน ซ่ือสัจลอื สกุล 6 8 0 16 30 อาจารยIดร.ธีรวัฒนI การโสภา 0 16 0 16 32 (C) การประเมินระบบและกลไกกำหนดผสูM อน และระบบการจัดการเรยี นการสอน หลักสูตรไดMประชุมและทบทวนการกำหนดอาจารยIผMูสอน พบวPา อาจารยIผMูสอนเพียงพอตPอภาระ งานและรายวิชา เนื้อหา ที่ตรงกับคุณสมบัติของผMูสอน ดังนั้น ท่ีประชุมจึงมีมติวPาในป7การศึกษา 2563 หลกั สูตรควรตอM งจดั รายวิชา ใหเM หมาะสม (A) การปรับปรุงระบบและกลไกกำหนดผMูสอน และระบบการจดั การเรียนการสอน หลักสูตรดำเนินการปรับปรุงภาระงานตามผลการทบทวนภาระงานของการกำหนดอาจารยIผMูสอน ดงั นี้ การกำกบั กระบวนการสอน คณุ ภาพ/ความเหมาะสม ผFูกำกบั ตดิ ตาม วธิ ีการ 1.แผนการสอน อาจารยIผMูรับผดิ ชอบ อ า จ า ร ยI ผูM รั บ ผิ ด ช อ บ ห ลั ก สู ต ร เฉ ลี่ ย หลักสูตร รายวิชาที่เป®ดสอนในแตPละภาคเรียนแลMว แบP งห นM าที่ กำกับ ตรวจสอบ ความ เห มาะสมถูกตMองของเน้ือห าที่ สอน กิจกรรมการสอนวิธีการสอน ระยะเวลา ในแผนการสอนในมคอ 3 และ 4 และเม่ือ มีการแกMไขจึงสPงคืนใหMอาจารยIผMูสอนแกMไข ใหถM ูกตMองแลMวเสนอตอP ประธานหลกั สตู ร 2.การแบPงนำ้ หนักการ อาจารยผI รMู ับผิดชอบ -อาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตรเฉลี่ย
54 ประเมนิ ผลในแตลP ะโดเมน หลักสูตร รายวิชาท่ีเป®ดสอนในแตPละภาคเรียนแลMว แบPงหนMาท่ีกำกับ ตรวจสอบการแบPง น้ำหนักการประเมินผลการเรียนรMูในแตPละ โดเมนครบถMวนทุกโดเมน ถูกตMองตาม ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบ รอง ถูกตMองตาม มคอ 2วิธีการประเมินผล สัดสPวนคะแนนและสัปดาหIที่ประเมิน เมื่อ ตรวจสอบแลMวไมPมีการแกMไขแลMว เสนอตPอ ประธานหลักสูตรแตPหากตMองแกMไขก็สPงคืน ใ หM อ า จ า ร ยI ผูM ส อ น แ กM ไ ข แ ลM ว เส น อ ตP อ ประธานหลกั สตู รตPอไป 3.วธิ ีการประเมนิ ผลของ อาจารยIผูรM บั ผิดชอบ อ า จ า ร ยI ผูM รั บ ผิ ด ช อ บ ห ลั ก สู ต ร เฉ ลี่ ย แตลP ะโดเมน หลกั สูตร รายวิชาที่เป®ดสอนในแตPละภาคเรียนแลMว แบPงหนMาที่กำกับ ตรวจสอบการวิธีการ ประเมินผลในแตPละเมนวPา ถูกตMอง ครบถMวน ระยะเวลาหมาะสม สัดสPวน คะแนนเหมาะสมและสอดคลMองกับ มคอ 2 4.การทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิ อาจารยIผMูรับผิดชอบ -หลักสูตรกำหนดรายวิชาที่ตMองทวนสอบ ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ต้ังแตPตMนภาคเรียนซ่ึงตMองไมPนMอยกวPารMอย คณะกรรมการทวน ละ 25 ของรายวชิ าทีเ่ ป®ดสอน สอบผลสมั ฤทธ์ิ -หลักสูตรแตPงตั้งคณะกรรมการทวนสอบ ซึ่งมีท้ังกรรมการภายในและผูMทรงคุณวุฒิ ภายนอกและแจMงใหMอาจารยIผMูสอนสPง มคอ 3 มคอ 5 และเอกสารอื่นๆท่ีผMูสอน เตรยี มใหMกับคณะกรรมการ -คณะกรรมการทวนสอบรPวมกันกำหนด เคร่ืองมือทวนสอบ วิธีการทวนสอบ กำหนดการ ทวนสอบและสรุปผลการ ทวนสอบ จัดทำรายงานผลการทวนสอบ แลวM เสนอตอP คณบดีลงนาม 2) การกำกบั ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 มผี ลการ ดำเนินงาน ดงั นี้ 1. หลักสูตรประชุมชี้แจงอาจารยIผูMสอน ในป7การศึกษากPอนหนMา โดยการนำ มคอ. 5 ป7การศึกษา ท่ีผPานมา โดยพิจารณาจากผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อใชMเปjนแนวทางในการจัดทำแผนการสอน (มคอ.3) ในป7การศึกษาปจ˜ จบุ นั 2. หลักสูตรมอบหมายใหMอาจารยIผูMสอนทุกคนดำเนินการจัดทำ มคอ.3 ใหMแลMวเสร็จภายใน 1 สปั ดาหกI อP นเป®ดภาคเรียน (หลักฐาน : ปฏิทินการนำสPงแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ป7การศึกษา 2563) 3. หลกั สตู รมอบหมายใหอM าจารยIผสูM อนวางแผนการจัดการเรียนการสอน โดยการจัดทำ มคอ.3
55 4. อาจารยผI ูสM อนสงP มคอ. 3 ใหMกบั หลักสตู ร 5. หลักสูตรจัดประชุมเพื่อประเมินกระบวนการการกำกับติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ แผนการเรียนรูM มคอ.3 6. หลักสูตรจัดประชุมเพ่ือทบทวนกระบวนการกำกับติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการ เรียนรูM มคอ.3 (หลกั ฐาน : รายงานการประชมุ คร้ังท่ี 6 วนั ที่ 20 พ.ย. 63) การดำเนินการจริงตามระบบและกลไกการกำกับและตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรMู มคอ.3 และการจดั การเรยี นการสอน ในป7การศึกษา 2563 หลักสูตรไดMมอบหมายใหMอาจารยIผMูสอนจัดทำแผนการสอนและดำเนินการ ตดิ ตามและตรวจสอบการจดั ทำแผนแผนการสอนครบทกุ รายวิชาใน ป7การศึกษา 2563 การประเมินผลระบบและกลไกการกำกับและตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรMู มคอ.3 และการ จัดการเรยี นการสอน หลักสูตรดำเนินการประชุมทบทวนระบบและกลไก พบวPาในภาคเรียน ที่ 1 เพ่ือประเมิน กระบวนการการกำกับติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรูM มคอ.3 ในป7การศึกษา 2563 มี อาจารยIผูMสอนสงP แผนการเรียนรูM (มคอ.3) เปนj ไปตามระยะเวลาทีก่ ำหนด (หลกั ฐาน : มคอ.3 ปก7 ารศึกษา 2563) 3.) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ของนักศกึ ษา คณะกรรมการหลักสูตร ประชุมวางแผน โดยพิจารณาขMอเสนอแนะ ป˜ญหาตPางๆ ในป7การศึกษาที่ ผPานมา และนำเสนอแตPงต้ังคณะกรรมการทวนสอบประจำป7การศึกษา 2563 (หลักฐาน : คำส่ัง แตงP ตงั้ ) คณะกรรมการทวนสอบจะทำการทวนสอบในรายวิชาตPางๆ โดยจะเชิญอาจารยIผMูสอนแตPละ รายวิชามาใหMขMอเสนอแนะในการปรับปรุง โดยพิจารณาจาก มคอ.3 มคอ.5 แบบฝšกหัด ลักษณะ ของขMอสอบ วิธีการใหMคะแนน วิธีการสอน และคะแนนการประเมินอาจารยI มาพิจารณาประกอบกัน โดยจะทำการพิจารณาแตPละรายวิชา โดยดูความทันสมัยในการปรับปรุงคร้ังลPาสุด การกระจายของ เกรด และ ผลคะแนนการประเมินอาจารยI ประกอบกัน และในป7การศึกษา 2563 นั้น ทางหลักสูตรมี การทวนสอบท้ังสิ้น 11 รายวิชา จาก 40 รายวิชา แบPงเปjนภาคเรียนที่ 1 จำนวน 7 รายวิชา ภาค เรียนท่ี 2 จำนวน 4 รายวชิ า คิดเปjนรMอยละ 25 จากรายวิชาท่เี ป®ดสอนในป7การศกึ ษา 2563 (หลักฐาน : รายงานผลการทวนสอบสมั ฤทธข์ิ องนกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูรM ะดับรายวชิ า) 4.) การกำกับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) เป•าหมายเชิงปริมาณ (ผล) เป•าหมายเชิงคณุ ภาพ (ผล) - ทกุ รายวิชามีการจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ - มคอ.5 มคอ. 6 และ มคอ.7 มีความสอดคลMอง การายวิชา ตามแบบ มคอ.5 ภายใน 14 วัน กับ มคอ.3 หลังสิ้นสดุ ภาคการศึกษา - มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 มีความถูกตอM ง - หลักสูตรจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานของ สมบูรณIของขอM มลู ที่รายงาน หลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลัง ส้ินสุดป7การศึกษา
56 การกำกับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ. 6 และ มคอ.7) มีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี ในป7การศึกษา 2563 การกำกับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน (มคอ.5 และ มคอ.6) มีระบบและกลไก ในการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตรโดยใชM เคร่ืองมือของการประกันคุณภาพ มคอ 5 มคอ 6 และ มคอ 7โดยมีการกำหนดเวลาและบันทึกการ จัดสPงเอกสารอยPางชัดเจนตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ดังน้ี การจัดทำรายงานผล การดำเนินการของรายวิชาและรายงานการดำเนินการของประสบการณIภาคสนามตามแบบ มคอ.5 หรือ มคอ.6 ภายใน 14 วันหลังส้ินสุดภาคการศึกษา และการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของ หลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลงั สน้ิ สุดป7การศึกษา เพอ่ื ใหเM กดิ การกำกบั การประเมนิ การ จัดการการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยในการกำกับการ ประเมินท้ังสองประเด็นจะอยูPภายใตMการดูแลของคณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะ และ คณะกรรมการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร หลักสูตรมีการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการ สอนโดยจัดใหMมีประชุมหลักสูตรหลังจากส้ินสุดภาคการศึกษาเพื่อเปjนการสรุปผลการดำเนินงานและ สรุปผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อนำผลท่ีไดMจากการประชุมไปวางแผนปรับปรุงในการจัดการเรียน การสอนในภาคการศกึ ษาตPอไป (หลักฐาน : ปฏิทินการนำสPงแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 ประจำภาคเรียน ที่ 2 ป7การศึกษา2563) การวางแผนระบบและกลไกเพ่ือการกำกับ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน และการประเมนิ หลักสูตร - มีการจัดการเรียนการสอน การรายงานผลการดำเนินงาน (มคอ.5) และประสบการณI ภาคสนาม (มคอ.6) ท่ีเร่ิมต้ังแตPศึกษารายละเอียดของรายวิชา(มคอ.3)หรือรายละเอียดของ ประสบการณIภาคสนาม (มคอ.4) จัดเตรียมการสอน ดำเนินการสอน ติดตาม ประเมินผลการสอน และสรุปผลการจัดการเรียนการสอนโดยเนMนผูMเรียนเปjนสำคัญรายงานผลการดำเนินการรายวิชาและ ประสบการณIภาคสนาม และสิ้นสุดท่ีการปรับปรุงหรือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยเนMนผMูเรียน เปนj สำคญั การดำเนินการกำกบั /ติดตาม/ประเมินผลการจดั การเรียนการสอนและการประเมนิ หลักสูตร -อาจารยIผูMรับผิดชอบหลักสูตรรPวมกันกำกับดูแลและพิจารณาการจัดทำรายละเอียดของ รายวิชา (มคอ.3) หรือรายละเอียดของประสบการณIภาคสนาม (มคอ.4) ใหMสอดคลMองตรงตาม คำอธบิ ายรายวชิ าใน มคอ.2 - อาจารยIผMูสอนดำเนินการสอนตามรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรือรายละเอียด ของประสบการณIภาคสนาม (มคอ.4) ตามที่ระบุไวMในตารางสอน กรณีท่ีไมPสามารถเขMาสอนตามที่ระบุ ไวใM นตารางสอน ผูMสอนทำการขอสอนชดเชยหรือขอใหMมกี ารจัดสอนแทน - เม่ือสิ้นสุดภาคการศึกษา อาจารยIผMูสอนจัดทำรายงานตามรายงานผลการดำเนินการของ รายวิชา (มคอ.5) หรือตามรายงานผลการดำเนินการของประสบการณIภาคสนาม (มคอ.6) เสนอ อาจารยผI ูMรบั ผดิ ชอบรายวชิ า - นักศึกษาเขMาไปประเมินในระบบประเมินอาจารยI ผPานเว็ปไซตIของมหาวิทยาลัยเม่ือส้ินสุด ภาคการศกึ ษา การประเมินกระบวนการกำกับ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการ ประเมนิ หลกั สูตร
57 - ดำเนินการทวนสอบผลสมั ฤทธแ์ิ ละสรปุ ผลการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ - มีวิธกี ารปฏิบตั งิ านการปฏิบตั กิ ารทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ - มีคณะกรรมการดำเนินการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรขูM องนกั ศกึ ษา - อาจารยIผูMรับผิดชอบหลักสูตรประชุมรPวมกับอาจารยIผูMสอนประจำหลักสูตร เสนอรายชื่อวิชาทวน สอบผลสมั ฤทธติ์ Pอคณบดี -คณบดีพิจารณาลงนามคำส่ังคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ และประกาศรายช่ือ วิชาทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ - คณะกรรมการดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามลักษณะวิธีการทวนสอบท่ีระบุไวM ในรายละเอียด ของรายวชิ า (มคอ.3) หรือรายละเอียดของประสบการณภI าคสนาม (มคอ.4) - คณะกรรมการดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิสรุปรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ ตPออาจารยI ผMูสอนหรืออาจารยIผูMรับผิดชอบรายวิชา เพ่ือนำไปจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) และรายงานผลการดำเนนิ การของประสบการณIภาคสนาม (มคอ.6) - คณะกรรมการดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์สรุปรายงานผลการทวนสอบผล สัมฤทธิ์ตPอฝ©าย วิชาการคณะเพือ่ พจิ ารณาใหขM Mอเสนอแนะและนำมาจดั ทำแผนปรับปรงุ รPวมกบั หลกั สูตรตอP ไป การปรับปรุงตามผลการประเมินการกำกับ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดการเรียนการสอ นและการประเมินหลกั สูตร - แกMไข ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรือรายละเอียดของประสบการณIภาคสนาม (มคอ.4) ตามขอM ทวM งตงิ หรือคำแนะนำจากรายงานผลการทวนสอบผลสมั ฤทธริ์ ายวชิ า การกำกบั ระยะเวลา ผูFกำกบั ติดตาม วธิ กี าร การประเมิน มคอ.5 14 วนั หลงั ปด® ภาค อาจารยIผสMู อน/อาจารยI ตามรายละเอยี ด มคอ. การศกึ ษา ประจำหลกั สูตร 5 มคอ.6 14 วนั หลังป®ดภาค อาจารยIผMูสอน/อาจารยI ตามรายละเอยี ด มคอ. การศกึ ษา ประจำหลักสตู ร 6 มคอ.7 60 วนั หลังป®ดภาค อาจารยIประจำหลักสตู ร ตามรายละเอียด มคอ. การศึกษา 7 การปรับปรุงพัฒนาระบบและกลไกการกำกับติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการ เรยี นร(ูM มคอ.3) และการจดั การเรียนการสอน ที่ประชุมหลักสูตรไดMมีการทบทวนผลการดำเนินงาน พบวPาควรมีผMูรับผิดชอบกำกับติดตาม การสPงแผนเรียนรMู มคอ.3 ทำการสรMางแบบฟอรIมการตรวจและรายงานผล เสนอท่ีประชุมอาจารยI ประจำหลักสูตร พบวPาอาจารยIผMูสอนมีการสPงแผนการเรียนรูMและผลการเรียนรMูตามระยะเวลาท่ีกำหนด มากขน้ึ การจดั การเรียนการสอนในระดบั ปริญญาตรที ม่ี ีการบูรณาการกบั พนั ธกจิ อนื่ ระบบและกลไกในการจัดการเรยี นการสอนท่มี ีการบรู ณาการกบั พนั ธกิจอน่ื อาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตรจัดประชุมจัดรายวิชาใหMแกPผูMสอนพรMอมท้ังวางแผนกำหนดรายวิชาที่เป®ด
58 สอนกับการวางแผนการบูรณาการความรูMกับดMานเทคโนโลยี ไดMแกP วิชาภาษาจีนเพ่ือธุรกิจ โดยจัด โครงการการเจรจาเจรจาติดตPอเพ่ือสั่งซื้อสนิ คาM ออนไลนIจากจีน (หลกั ฐาน : โครงการการเจรจาเจรจาตดิ ตPอเพ่อื ส่ังซ้ือสินคMาออนไลนIจากจนี ) รายวชิ า บูรณาการกบั พันธกิจ วิธีการบรู ณาการ/วธิ กี ารประเมิน (รหัสวิชา/ชือ่ วิชา) ผลความสำเรจ็ ของการบรู ณาการ 210242 ภาษาจีนเพื่อ โครงการการเจรจาเจรจา ประเมินจากนักศึกษาสามารถสั่งซื้อ ธุรกิจ ติดตPอเพ่ือส่ังซื้อสินคMาออนไลนI ออนไลนIจากจีนไดMคนละ 1 ชิ้น จ า ก จี น บู ร ณ า ก า ร ใ ชM ดMวยตนเอง เท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ วชิ าชพี ไดอM ยPางมีประสิทธิภาพ 2) การแตPงตั้งอาจารยIท่ีปรึกษาวิทยานิพนธI และสารนิพนธIในระดับบัณฑิตศึกษา มีผลการ ดำเนินงาน ดงั น้ี - หลกั สตู รไมมP นี ักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา 3) การจดั การเรียนการสอนท่ีมีการฝกš ปฏิบัติ ในระดบั ปริญญาตรี มผี ลการดำเนินงาน ดังนี้ - หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนท่ีมีการฝšกปฏิบัติ รายวิชา ดังตPอไปน้ี รายวิชาอักษร จีน รายวิชาระเบียบวิธีวิจัยและรายวิชาฝšกประสบการณIวิชาชีพภาษาจีนที่ฝšกปฏิบัติกับผMูเช่ียวชาญ เฉพาะสาขาวชิ า การจัดการเรียนการสอนรายวิชาที่มีการฝšกปฏิบัติ ระบบและกลไกของหลักสูตรไดMกำหนดใหM อาจารยIผูMสอนระบุการฝšกปฏิบัติในมคอ 3 หมวดท่ี 5 โดยวิธีการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนของ รายวิชาตMองมีการปฏิบัติ โดยอาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตรตMองตรวจสอบวPารายวิชามีการใหMนักศึกษา ไดMฝšกปฏิบัติโดยใหMนักศึกษาทำวิจัยกลPุม และมีการแตPงตั้งอาจารยIท่ีปรึกษาวิจัย ในสPวนของรายวิชา อักษรจีน ใหMนักศึกษาฝšกเขียนพPูกันจีนในคาบเรียน ในสPวนของนักศึกษาชั้นป7ท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ไดMออก ฝšกประสบการณIวิชาชีพภาษาจีนตามความถนัดของนักศึกษา ไดMแกP ฝšกสอนตามสถานศึกษา ฝšกงาน ตามสถานประกอบการตPาง ๆ การประเมินผFเู รยี น ผลการประเมินตนเองในปc 2562 มีผลการดำเนินงานในระดบั 3 (ตัวบงP ชี้ 5.3) ผลการประเมินตนเองในปc 2563 มีผลการดำเนินงานในระดบั 3 ผลการดำเนนิ งาน 1) การประเมินผลการเรยี นรูMตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ มีผลการดำเนินงาน ดังน้ี ผลการเรียนรMู (Learning Outcome) ทีก่ ำหนดตามกรอบคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแหงP ชาติ (TQF) ของหลกั สูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาจีน ท่ีระบุไวใM น มคอ.2 ทงั้ หมด 5 ดาM น ดงั น้ี ดFาน วธิ กี ารสอน/การจดั การเรียนรFู วิธีวัดและประเมนิ ผล 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 1. ใหMความสำคัญในวินัย การตรง 1.การเขMาช้ันเรียน และ 1)ซ่ือสัตยIสุจริตตPอตนเองและ ตPอเวลา การสPงงานในเวลาที่ การสPงงานตรงเวลา ผMูอื่น กำหนด 2.พิจารณาจากการเขMา 2)มีวินัยตรงตPอเวลา ปฏิบัติ 2.ใหMนักศึกษาจัดกิจกรรมท่ีเปjน รP ว ม กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ตามกฎระเบียบและขMอบังคับ ประโยชนตI อP สงั คม นักศกึ ษา ขององคกI รและสงั คม 3.ส อ ด แ ท ร ก ค ว า ม ซ่ื อ สั ต ยI ตP อ 3.สังเกตพฤติกรรมของ 3)ต ร ะ ห นั ก ใน คุ ณ คP าแ ล ะ ตนเองและสังคม นักศึกษาในการปฏิบัติ
59 คุณธรรมจริยธรรม เสียสละ 4.ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ร ะ เบี ย บ แ ล ะ ต า ม ก ฎ ร ะ เบี ย บ แ ล ะ อดทน มจี ิตอาสา ขอM บงั คบั ขององคIกรและสงั คม ขอM บังคบั 4)ย อ ม รั บ ค ว า ม เ ปj น 4.ป ร ะ เ มิ น จ า ก แบบทดสอบ ประเมิน ประชาธิปไตย ความยุติธรรม ปริมาณ การทุจริตใน การสอบ ความเทาP เทียมกันทางสงั คม 2. ความรFู 1.ใชM ก ารส อ น ใน ห ล าก ห ล าย 1.ป ร ะ เ มิ น จ า ก 1)มี ค ว า ม รMู แ ล ะ ค ว า ม เ ขM า ใ จ รู ป แ บ บ โ ด ย เนM น ห ลั ก ก า ร ท า ง แบบทดสอบดMานทฤษฎี เก่ียวกับหลักการและทฤษฎีใน ทฤษฎแี ละการปฏบิ ตั ิ ส ำ ห รั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ เนอ้ื หาทศ่ี กึ ษา 2.มอบหมายใหMศึกษาคMนควMาและ ประเมินจากผลงานและ 2)มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร รายงาน การปฏิบัติงาน อธิบายความรMูเก่ียวกับหลักการ 3.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี 2.พิจารณาจากคMนควMา และทฤษฎี เนนM ผMเู รียนเปนj สำคญั กระบวนการ ขั้นตอนใน 3)สามารถวิเคราะหIประยุกตI 4.ฝš ก แ กM ป˜ ญ ห า จ า ก า ร ส รM า ง ก า ร ท ำ ง า น ท่ี ไดM รั บ ค วาม รMูทั ก ษ ะไป ใชM ใน ก าร สถานการณIจำลอง มอบหมายและการ พฒั นาการเรียนภาษาจนี 5.จั ด ใ หM มี ก า ร เ รี ย น รMู จ า ก นำเสนอรายงาน 4) มีความใฝ©รูM สนใจพัฒนา สถานการณIจริงโดยการศึกษาดู 3.ประเมินจากรายงาน ค วาม รูM ค วาม ชำน าญ ท าง งาน และการศึกษาดูงานของ ภาษาจนี อยาP งตPอเน่ือง 6.ศึ ก ษ า จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณI ต ร ง นักศึกษา จ า ก ส ถ า น ก า ร ณI ต ร ง ห รื อ ส น ใจ 4. ผ ล ก า ร ฝš ก ศึกษา การใชMกระบวนการวิจัยใน ประสบการณIจากสถาน การหาความรูM การจัดการความรMู ประกอบการหรือสหกิจ ศึกษา 3. ทกั ษะทางปlญญา 1. ใหM นั ก ศึ ก ษ าไดM ป ฏิ บั ติ จาก 1. ประเมินจากผลงานท่ี 1) สามารถคMนหาความรูM ขMอมูล สถานการณIจริง มอบหมาย และประเมินความถูกตMองไดM 2. การศึกษาคMนควMาและรายงาน 2. ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร ดMวยตนเอง ทางเอกสารและรายงานหนMาช้ัน ปฏิบัติจากสถานการณI 2) สามารถศึกษาวิเคราะหI เรยี น จริง ป˜ ญ ห าและเสน อแน ะแน ว 3. มอบหมายงานที่สPงเสริมการคิด 3. ป ร ะ เมิ น ผ ล จ า ก ทางแกMไขไดอM ยาP งสรMางสรรคI วิเคราะหIและสงั เคราะหI ราย งาน ผ ล ก าร 3) ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ หI 4. การระดมความคิดเห็น การ ด ำเนิ น งาน แ ล ะก าร ส ถ า น ก า ร ณI ตP า ง ๆ แ ล ะ อภิปรายกลุPม แกMปญ˜ หา ประยุกตIความรMูและแกMป˜ญหา 4. ทักษะความสัมพันธI ไดMอยาP งสรMางสรรคI ระ ห วPางบุ ค ค ล ก าร 4) สามารถประยุกตIความรMู ปฏสิ ัมพนั ธกI บั ผอMู ่ืน ภาคทฤษฎี การปฏิบัติไปสPูการ ทำงานไดM 4.ทกั ษะความสัมพนั ธ&ระหวา: ง 1. กำหนดการทำงานกลPุมโดย 1. ประเมินจากรายงาน บุคคลและความรบั ผดิ ชอบ หมุนเวียนการเปjนผMูนำ การเปjน ห นM า ชั้ น เรี ย น โ ด ย
60 1)มีความรบั ผดิ ชอบในงานที่ สมาชิกกลุPมและผลัดกัน เปj น อาจารยแI ละนกั ศึกษา ไดรM ับมอบหมายงานรายบุคคล ผรMู ายงาน 2. ประเมินพฤติกรรม และงานกลPุม 2. ใหMคำแนะนำในการเขMารPวม ภาวการณIเปjนผMูนำและ 2)สามารถปรบั ตัวเขMากับ กิ จ ก ร ร ม ส โ ม ส ร กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ผูMตามท่ีดี สถานการณแI ละการ มหาวิทยาลัยเพ่ือสPงเสริมเสริม 3. พิจารณาจากการเขMา เปลย่ี นแปลงไดM ทกั ษะการอยPใู นสังคม รP ว ม กิ จ ก ร ร ม ข อ ง 3)สามารถปฏิบตั ิตน 3.ปลูกฝ˜งใหMมีความรับผิดชอบตPอ นักศกึ ษา รรMู บั ผดิ ชอบและมีสวP นรPวมใน หนMาทที่ ไี่ ดรM ับในงานกลมPุ 4. ประเมินผลจากแบบ การชPวยเหลือผMูรวP มงานดวM ย 4. สP งเส ริ ม ใหM นั ก ศึ ก ษ า ก ลM า ป ระเมิ น ต น เอ งแ ล ะ ความสนใจ แสดงออกและเสนอความคิดเห็น กจิ กรรมกลPมุ 4) มคี วามรับผดิ ชอบในการ โดยการจัดอภิปรายและเสนองาน 5. ประเมินจากผลการ ทม่ี อบหมายทใี่ หคM นM ควาM การอภิปรายและเสวนา เรยี นรูแM ละพฒั นาตนเอง 5. ฝšกการยอมรับความคิดเห็น 6. สังเกตพฤติกรรมการ ของผMูอ่ืนดMวยเหตุผล สPงเสริมการ ระดมสมอง เคารพสทิ ธิและ การรบั ฟ˜งความคิดเหน็ ของผูอM ื่น 5. ทักษะการวิเคราะห&เชิง 1. มอบหมายงานคMนควMาองคI 1.สั งเก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ตัวเลข การสื่อสารและการใชF ความรMูจากแหลPงขMอมูลตPาง ๆ นั ก ศึ ก ษ า ดM า น ค ว า ม มี เทคโนโลยสี ารสนเทศ และใหนM กั ศึกษานำเสนอหนMาช้นั เหตุผลและมีการบันทึก 1) สามารถสรุปหัวขMอ สรุป 2. ก า ร ใ ชM ศั ก ย ภ า พ ท า ง เปjนระยะ ป ร ะ เด็ น จ า ก ก า ร สื่ อ ส า ร ไ ดM คอมพิ วเตอรIและเท คโน โลยี 2.ประเมินจากผลงาน ถกู ตMอง สารสนเทศในการนำเสนอผลงาน และการนำเสนอผลงาน 2) ส าม าร ถ ใชM เท ค โน โล ยี ทไี่ ดรM บั มอบหมาย สารสนเทศและการส่ือสารท่ี 3. สPงเสริมการคMนควMาเรียบเรียง เหมาะสม ขMอมูล และนำเสนอใหMผูMอื่นเขMาใจ 3) สามารถใชMภาษาไทยและ ไดMถึกตMองและใหMความสำคัญใน ภาษาตPางประเทศในการฟ˜ง การอMางองิ แหลPงที่มาของขMอมลู การพูด การอPาน การเขียน แ ล ะ ส รุ ป ป ร ะ เด็ น ไ ดM อ ยP า ง มี ประสิทธิภาพ 4) มีทักษะในการใชMเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสืบคMนขMอมูล แ ส ว ง ห า ค ว า ม รMู ขM อ มู ล สารสนเทศในการพัฒนาตนเอง และการปฏิบตั งิ าน 6.กรณมี ีเกณฑวI ชิ าชีพ - - (ใหMระบ)ุ ผลการดำเนนิ งานในปก7 ารศกึ ษา2563 ในมคอ 2 มีการกำหนดวิธีการสอน วิธีวัดและประเมินผลและอาจารยIผูMสอนในรายวิชาตPาง ๆที่
61 เป®ดสอนไดMนำเอาวธิ ีการสอน วิธวี ดั และการประเมินผล มคอ 3 และรายงานผลการสอนใน มคอ 5 วิธีการสอนมีทั้งการบรรยาย ยกตัวอยPางกรณีศึกษา การอภิปราย การยกตัวอยPางการฝšกปฏิบัติ การ ใชMสถานการณIจำลอง ใชMกระบวนการกลุPมในการฝšกการทำงานรPวมกัน การมอบหมายใหMมีการศึกษา คนM ควาM และสรปุ ผล เพอื่ รายงาน การปฏบิ ตั จิ รงิ การวัดผลมีท้ังการวัดผลจากสภาพจริง และการใชMเครื่องมือคือแบบทดสอบ แบบฝšกหัก บทเรียน E- Learning โปรแกรมสำเรจ็ รปู สือ่ ออนไลนI kahoot การสังเกต การเปล่ียนแปลง หรอื พฒั นาการ การประเมินผล ในหลักสูตรใชMการประเมินผลแบบอิงเกณฑI โดยอาจารยIผMูสอนทุกทPานใชMเกณฑI เดยี วกนั ในการใหคM ะแนน 1) การตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นรูขM องนักศึกษา มีผลการดำเนินงาน ดังน้ี 2.1 อธิบายในภาพรวมวาP สามารถประเมนิ ผลการเรยี นรตูM ามกรอบคณุ วฒุ ิไดอM ยPางไร การประเมินผลการเรียนรูMตามกรอบคุณวุฒิใชMวิธีการหลากหลายมีทั้งการใชMเคร่ืองมือและการวัด จากสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม โดยผPานวิธีการการทวนสอบผลการเรียน ทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ ของนักศึกษา การประเมินอาจารยIผMูสอนโดยนักศึกษา การสังเกตพัฒนาการของนักศึกษา แนวโนMม ของพัฒนาการ คะแนนเฉล่ียสะสม ความสามารถการใชMความรูMและทักษะเชื่อมโยง ถPายโอนไปสPู ปฏบิ ตั ิจริง ผลการสอบวดั ระดับความรMภู าษาจนี 2.2 พบสิ่งท่ีผิดปกติในการประเมินผลการเรียนรMูของนักศึกษาหรือไมP หรือส่ิงที่ไมPสามารถ ดำเนนิ การไดM คืออะไร อธบิ ายพรMอมบอกเหตผุ ล พบส่ิงผิดปกติในการประเมินผลการเรียนรMูของนักศึกษาบางวิชาที่มีผลคะแนน F จำนวนมาก ไดMทบทวนการประเมินของอาจารยIผูMสอนและผลการเรียนรูMของนักศึกษาที่ติด F ไดMขMอมูลวPา นักศึกษาที่สอบตกขMอเขียนที่เปjนการสอบกลางภาค และปลายภาคก็จะสอบตกการปฏิบัติดMวย และ นักศึกษาบางสPวนไมPทำงานและไมPมีสPวนรPวมกับการทำงานกลุPมตามที่ไดMรับมอบหมาย การสอบการ มอบหมายงานทุกครั้ง อาจารยIผูMสอนชี้แจงวิธีการ เนื้อหา เวลาสPงทุกคร้ัง แตPนักศึกษาท่ีสอบไมPผPาน บางสPวนมักจะไมPใสPใจฟ˜งและปฏิบัติตาม และลาออกเน่ืองจากตMองการเรียนสาขาวิชาอื่น มีป˜ญหา สขุ ภาพดาM นตาP ง ๆ ปญ˜ หาครอบครัว เปjนตนM 2.3 วิธีการแกไM ขสง่ิ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในขอM 2.2 อาจารยIผMูสอนไดMติดตาม ตักเตือน โดยนักศึกษาท่ีมีคะแนนไมPผPานเกณฑIข้ันต่ำและไดMใหMโอกาส นักศึกษาสอบแกMตัวแตPคะแนนท่ีไดMตMองไมPเกิน 50 %ของคะแนนเต็ม ผลปรากฏวPา นักศึกษาที่มาสอบ แกMตัว ผลการสอบนักศึกษาสอบผPานมากข้ึน แตPก็มีนักศึกษาบางคนไมPมาสอบแกMตัว อาจารยIที่ ปรกึ ษากไ็ ดตM ิดตามสอบถาม ใหกM ำลงั ใจ แนะนำแนวทางเปนj ระยะ 2) การกำกับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) มีผลการดำเนินงาน ดังน้ี หลักสูตรมีระบบและกลไกการกำกับการสPงมคอ 5 และมคอ 6 โดยแจMงปฏิทินกำหนดการสPงม คอ 5 และ6 เมื่อสิ้นสุดภาคเรียน แบPงความรับผิดชอบใหMอาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตร ติดตามการ สPงมคอ 5 และ และตรวจสอบความถูกตMองพรMอมกับตMองแนบผลการประเมินอาจารยIโดยนักศึกษามา ดMวย และประธานหลักสูตรเปjนผูMตรวจสอบความครบถMวน ความถูกตMองทั้งจำนวนของมคอ 5 และ6 แลMวลงนามในมคอ5 และ6 หลักฐาน มคอ.5 การกำกบั การ ผูFกำกบั ตดิ ตาม วิธีการ ระยะเวลา ประเมนิ มคอ.5 อาจารยผI รMู ับผดิ ชอบ การประชุมแจMงกำหนด 14วนั นับจากสPงผล หลกั สตู ร การสPงมคอ5และ6 การเรียนถงึ ประธานหลักสูตร หลกั สูตร
62 มคอ.6 อาจารยผI ูMรับผดิ ชอบ การประชุมแจMงกำหนด 14วนั นับจากสPงผล หลักสตู ร การสPงมคอ5และ6 การเรียนถงึ ประธานหลกั สูตร หลกั สูตร มคอ.7 อาจารยIผรูM บั ผดิ ชอบ การประชุมปฏิบัติการ ภายใน 60 หลักสตู ร จดั ทำ มคอ 7 วนั หลังส้นิ สดุ ประธานหลกั สตู ร ปก7 ารศกึ ษา 2. การประเมินคณุ ภาพหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒฯิ (ตัวบง: ช้ี 5.4) 2560 2561 2562 2563 2564 2.1 ตัวบง: ชีผ้ ลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ของหลกั สูตร (ขMอมูลปรากฏในหมวดท่ี 7 ขMอ 7 ของ มคอ.2) ดชั นบี ง: ช้ีผลการดำเนนิ งาน (1) อาจารยIประจำหลักสูตรอยPางนMอยรMอยละ 80 มีสPวนรPวมในการประชุมเพ่ือวางแผน ติดตาม ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ และทบทวนการดำเนนิ งานหลกั สตู ร (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคลMองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ระดบั อุดมศกึ ษาแหงP ชาติ หรอื มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถาM ม)ี (3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณIภาคสนาม (ถMามี) ตามแบบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ มคอ.3 และ มคอ.4 อยPางนMอยกอP นการเปด® สอนในแตPละภาคการศึกษาใหคM รบทกุ รายวิชา (4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินงานของ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ประสบการณIภาคสนาม (ถMามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดป7 การศกึ ษา (5) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดป7 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ การศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรMูท่ีกำหนดใน มคอ.3 และ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ มคอ.4 (ถาM ม)ี อยาP งนอM ยรอM ยละ 25 ของรายวิชาทีเ่ ปด® สอนในแตPละปก7 ารศึกษา (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธIการสอน หรือการประเมินผลการ ✓✓✓✓ เรียนรจูM ากผลการประเมนิ การดำเนินงานทร่ี ายงานใน มคอ.7 ปท7 ่แี ลMว (8) อาจารยใI หมP (ถาM ม)ี ทกุ คนไดMรับการปฐมนเิ ทศหรอื คำแนะนำดMานการจดั การเรยี นการสอน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ (9) อาจารยปI ระจำทุกคนไดMรบั การพฒั นาทางวิชาการ และ/หรอื วิชาชีพ อยาP งนMอยป7ละ 1 คร้ัง (10) จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน (ถMามี) ไดMรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ หรอื วชิ าชพี ไมนP MอยกวPารMอยละ 50 ตอP ป7 (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาป7สุดทMาย/บัณฑิตใหมPท่ีมีตPอคุณภาพหลักสูตร เฉล่ียไมP ✓✓ นMอยกวPา 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0
(12) ระดับความพึงพอใจของผูใM ชMบณั ฑิตทม่ี ีตอP บัณฑิตใหมP เฉลย่ี ไมนP อM ยกวPา 3.5 จากระดบั 5.0 63 ✓ รวมตัวบง: ชท้ี ่ีตFองประเมิน 9 10 10 11 12 2.2 รายงานผลการดำเนินงานตามดัชนบี :งชี้ ผลการดำเนนิ งาน ดชั นีบง: ชี้ เปmนไป ไมเ: ปmนไป เอกสารหลกั ฐาน ตามเก ตามเกณ ณฑ& ฑ& รายละเอยี ด (1) อาจารยIประจำหลักสูตรอยPางนMอย รMอยละ 80 มีสPวน ✓ ป7การศึกษา 2563 หลักสูตรไดMมี 1. ส รุ ป ส า ร ะ ก า ร รPวมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวน การประชุมอาจารยIผูMรับผิดชอบ ประชมุ การดำเนินงาน หลกั สูตรจำนวน 12 ครัง้ 2. รายงานการ คร้ังที่ 1 วันที่ 5 มิถุนายน 2563 ประชุม ผูMเขMารPวมประชมุ คดิ เปjน 100% คร้ังที่ 2 วันท่ี 7 กรกฎาคม 2563 ผเMู ขMารวP มประชุมคิดเปนj 100% ครั้งที่ 3 วันที่ 19 สิงหาคม 2563 ผเMู ขMารPวมประชมุ คิดเปjน 100% ค รั้งท่ี 4 วั น ท่ี 22 กั น ย าย น 2563 ผูMเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% ครั้งท่ี 5 วันท่ี 30 ตุลาคม 2563 ผูMเขาM รวP มประชมุ คิดเปjน 100% ครั้งท่ี 6 วันที่ 20 พฤศจิกายน 2563 ผูMเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% คร้ังที่ 7 วันท่ี 22 ธันวาคม 2563 ผูMเขMารวP มประชมุ คดิ เปนj 100% ค รั้งที่ 8 วัน ท่ี 18 ม ก ราค ม 2564 ผMูเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% คร้ังที่ 9 วันที่ 15 กุมภาพันธI
64 2564 ผMูเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% ค รั้ งที่ 10 วั น ที่ 22 มี น า ค ม 2564 ผูMเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% ค รั้งท่ี 11 วัน ท่ี 26 เม ษ าย น 2564 ผMูเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% ค รั้งท่ี 12 วั น ท่ี พ ฤ ษ ภ าค ม 2564 ผMูเขMารPวมประชุมคิดเปjน 100% (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่ ✓ ระบคุ วามสอดคลMองของ มคอ.2 1. เอกสารหลกั สตู ร สอดคลMองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา กบั มคอ.1 (กรณที ีม่ ี มคอ.1) 2. หนงั สอื นำที่ แหPงชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถMา สกอ. ม)ี แจงM รับทราบ หลกั สตู ร (3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของ ✓ มคอ.3 และมคอ.4 เทอม 1/63 ประสบการณIภาคสนาม (ถMามี) ตามแบบ มคอ.3 สPงกPอนเป®ดภาคการศึกษา (วันที่ และ มคอ.4 อยPางนMอยกPอนการเป®ดสอนในแตPละ 19 มิ ถุ น า ย น 2563) แ ล ะ เอกสาร มคอ.3, ภาคการศึกษาใหคM รบทกุ รายวชิ า ดำเนินการไดMครบทกุ รายวิชา มคอ.4 เท อม 2/63 สPงกPอนเป®ดภาค การศึกษา (วันท่ี 23 พฤศจิกายน 2563) และดำเนินการไดMครบ ทกุ รายวิชา (4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และ ✓ มคอ.5 และมคอ.6 เทอม 1/63 เอกสาร มคอ.5, ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ข อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณI สงP ภายใน 14 วนั มคอ.6 ภาคสนาม (ถMามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 (วันท่ี 7 ธันวาคม 2563) และ ภายใน 14 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เป®ดสอน ดำเนนิ การไดMครบทกุ รายวชิ า ใหMครบทกุ รายวชิ า เทอม 2/63 สPงภายใน 14 วัน (วันท่ี 7 มิถุนายน 2564) และ ดำเนินการไดMครบทุกรายวิชา แ ล ะ ด ำ เ นิ น ก า ร ไ ดM ค ร บ ทุกรายวชิ า (5) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตาม ✓ สPงภายใน 60 วนั 1. เอกสาร มคอ.7 แบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลงั สน้ิ สุดปก7 ารศึกษา (วั น ท่ี 1 ก ร ก ฎ า ค ม 2564) เปjนไป ตามคPูมือการบริหาร หลักสูตร ตามกรอบมาตรฐาน คณุ วุฒิของมหาวทิ ยาลยั
65 (6) มีการท วนสอบ ผลสัมฤท ธิ์ของนักศึกษ าตาม ✓ ในป7การศึกษา 2563 มีการเป®ด 1.ค ำ ส่ั ง แ ตP ง ตั้ ง มาตรฐานผลการเรียนรMูที่กำหนดใน มคอ.3 และ ส อ น ท้ั ง ห ม ด 40 ร า ย วิ ช า กรรมการทวนสอบ มคอ.4 (ถMามี) อยPางนMอย รMอยละ 25 ของรายวิชาที่ หลักสูตรไดMดำเนินการทวนสอบ 2.ส รุ ป / ร า ย ง า น ผ ล เปด® สอนในแตลP ะป7การศึกษา รMอ ย ล ะ 25 ซึ่ งมี จ ำน ว น 11 การทวนสอบ รายวิชาที่ ตM องท วน สอบ ซึ่ง แบPงเปjนเทอม 1/63 จำนวน 7 รายวิชา เทอม 2/63 จำนวน 4 รายวชิ า (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กล ✓ มกี ารวางแผนการจดั โครงการ รายงานการประชุม ยุทธIการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรูMจากผล ตาP งๆตลอดจนกำกับติดตาม การประเมินการดำเนินงานท่ีรายงานใน มคอ.7 ป7ที่ วางแผนการจดั การเรียนการสอน แลวM (8) อาจารยIใหมP (ถMามี) ทุกคนไดMรับการปฐมนิเทศหรือ ไมมP ี - คำแนะนำดาM นการจัดการเรียนการสอน (9) อาจารยIประจำทุกคนไดMรับการพัฒนาทางวิชาการ ✓ อยาP งนMอยปล7 ะ 1 ครง้ั ห ลั ก ฐ า น ค ำ ส่ั ง และ/หรอื วชิ าชพี อยPางนอM ยป7ละ 1 คร้งั (จำนวน 9 คน) ประชุม/รPวมสัมมนา ไมPมี ทางวิชาการ เกียรติ บัตร (10) จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน (ถMา ผลประเมินความพึงพอใจชอง รายงานผลการ มี) ไดMรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมP นั ก ศึ ก ษ า ชั้ น ป7 สุ ด ทM า ย ตP อ ส ำ ร ว จ ค ว า ม พึ ง นMอยกวาP รMอยละ 50 ตอP ป7 ห ลักสูตร เฉลี่ยเทP ากับ 3.66 พอใจตPอการบริหาร (ขM อ มู ล วั น ที่ 15 มิ .ย .2564) ห ลั ก สู ต ร ข อ ง (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาป7สุดทMาย/บัณฑิต ✓ วิธีก ารป รับ ป รุงแ ล ะพั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า ชั้ น ป7 ใหมPที่มีตPอคุณภาพหลักสูตร เฉล่ียไมPนMอยกวPา 3.5 อาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตร สุดทาM ย จากคะแนนเต็ม 5.0 ป ร ะ ชุ ม ว า ง แ ผ น เพื่ อ ป รั บ ป รุ ง รวP มกัน (12) ระดับความพึงพอใจของผูMใชMบัณฑิตท่ีมีตPอบัณฑิต ✓ ผลการประเมิน ความพึงพอใจ รายงานผลการสำรวจ ใหมP เฉลย่ี ไมPนอM ยกวPา 3.5 จากระดับ 5.0 ของผูMใชMบัณฑิตท่ีมีตPอบัณฑิตใหมP ความ พึงพอใจของ เฉล่ียเทPากับ 3.59 (ขMอมูลวันที่ ผMใู ชบM ณั ฑติ 15 มิ .ย .2564) ขM อ เส น อ แ น ะ วิธีการปรับปรุง และพัฒ นา อาจารยIผูMรับผิดชอบหลักสูตร ป ร ะ ชุ ม ว า ง แ ผ น เพ่ื อ ป รั บ ป รุ ง รPวมกนั รวมตวั บ:งชท้ี ่ีไดFประเมนิ 10
66 รFอยละของตวั บง: ชท้ี ไี่ ดปF ระเมนิ 100 จำนวนตัวบ:งชี้ในปcนที้ ่ีดำเนินการผ:าน 10 รFอยละของตวั บง: ชีท้ ้งั หมดในปcนี้ 100 หมายเหตุ 1. หลกั สตู รท่ีเปjนหลกั สตู รปรบั ปรงุ ตอM งรายงานผลการดำเนนิ งานตามดชั นีบงP ช้ี 12 ตวั บPงช้ี 2. กรณขี Mอ 8 และขMอ 10 ถาM ไมPมี ใหถM ือวาP มีการดำเนนิ งานในขMอนัน้ เปนj ไปตามเกณฑแI ละนำมาคำนวณรMอยละ จำนวนตวั บงP ช้ที ไี่ ดM ดำเนินการทัง้ ตวั ตั้งและตัวหาร 3. ปญl หาในการบรหิ ารหลักสูตร ผลกระทบของปญl หาตอ: สัมฤทธผิ ล แนวทางการปอ” งกนั และแกFไข ปlญหาในการบรหิ ารหลักสตู ร ตามวตั ถุประสงค&ของหลกั สตู ร ปญl หาในอนาคต 1. ป˜ญหานักศึกษาท่ีเขMามาเรียนแลMว 1. ทำใหMหลักสูตรตMองมีภาระแกMไขป˜ญหา 1.หลักสูตรวางแผนการใหMนักศึกษาตระหนักวPาแทMจริง ล าอ อ ก ก ล างคั น เน่ื อ งจ าก นักศึกษาท่ีเขMามาเรียนแตPไมPไดMชอบภาษาจีน แลMวตนเองถนัดอะไร ตนเองรูMจักภาษาจีนเพียงพอ นั ก ศึ ก ษ า ไ มP ไ ดM ตั้ ง ใ จ ม า เรี ย น ห รือ เป• าห ม าย ใน ก ารเรีย น ไมP ชั ด เจ น หรือยัง มีเป•าหมายในการเรียนหรือไมP โดยมีการ ภาษาจีนต้ังแตPแรก เป•าหมายใน นักศึกษามีพฤติกรรมไมPเขMาเรียน มาเรียนแตP พูดคุยสอบถามกันตั้งแตPวันสอบสัมภาษณI ในระหวPาง การศกึ ษาไมชP ดั เจน ไมPใสPใจกับการเรียน ขาดสอบทำใหMอาจารยI การเรียนชPวยแนะนำวิธีการเรียนภาษาจีน ปรับ ผูMสอน อาจารยIท่ีปรึกษา ตMองแกMป˜ญหา ทัศนคติ สรMางแรงจูงใจใหMนักศึกษาเห็นความสำคัญ 2. ป˜ญหานักศึกษาสำเร็จการศึกษา ติดตาม และตงั้ ใจเรียนและกำกับ ตดิ ตาม ผลการแกปM ˜ญหา ชาM กวPากำหนดเวลาของหลักสูตร 2.นักศึกษาที่มีป˜ญหาไมPตั้งใจเรียน เมื่อมีผล 2.สำหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนไมPถึง 2.00 ท่ีเส่ียง การเรียนติด F หรือนักศึกษาตMองทำงาน ตPอการไมPสำเร็จการศึกษาหลักสูตรตMองมีสรMางวิธีการ ระหวPางเรียน หรือตMองลาพักการเรียน แนวทางชPวยใหMนักศึกษามีผลการที่ดี และเปjนไปตาม นั ก ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต รตM อ งติ ด ต าม แล ะ เกณฑI กอP นที่จะสำเร็จการศกึ ษา แกMป˜ญ หาใหMกับนักศึกษาซึ่งบางรายก็ สามารถแกMป˜ญหาและจบการศึกษาออกไป และก็มีบางคนที่ไมPยอมรับการแกMป˜ญหา ไ มP ใ หM ค ว า ม รP ว ม มื อ แ มM วP า จ ะ ไ ดM พู ด คุ ย กั บ ผปMู กครองเพือ่ หาทางแกMไขป˜ญหา 4. สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรFู ผลการดำเนนิ งาน ตวั บง: ช้ี ผลการประเมินตนเองในปc 2562 มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 3 ผลการประเมนิ ตนเองในปc 2563 มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 4 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูF (P) 1. ระบบการดำเนินงานของหลักสูตร/คณะ/สถาบัน โดยมีสPวนรPวมของอาจารยIประจำหลักสูตร เพ่ือใหMมี (ตวั บPงช้ี 6.1) สิ่งสนับสนนุ การเรยี นรMู มผี ลการดำเนนิ งาน ดังนี้ เมื่อหลักสูตรไดMรับจัดสรรงบประมาณจากคณะฯ หลักสูตรมีการประชุมอาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตร (หลักฐาน : การประชุมคร้ังท่ี 3 วันท่ี 19 สิงหาคม 2563 ) เพ่ือจัดทำแผนปฏิบัติการประจำป7งบประมาณ 2564 เพ่อื รPวมพจิ ารณางบประมาณ พิจารณาโครงการทจี่ ะจัดในปง7 บประมาณ 2564 ในการจัดโครงการของป7งบประมาณ2564 ไดMรับจัดสรรงบบำรุงการศึกษาเปjนเงิน 259,527.25 บาทและ จดั สรรเปนj งบจดั หาวสั ดแุ ละสือ่ การเรียนการสอน เปjนเงิน 136,000 บาท
67 การจดั สรรงบประมาณแตลP ะโครงการ ดงั นี้ กจิ กรรมที่ 1 บริการวชิ าการ 30,000 บาท กจิ กรรมท่ี 2 ปฐมนิเทศนักศกึ ษาใหมแP ละอบรมเตรียมความพรอM ม 13,527.25 บาท กิจกรรมที่ 3 ศกึ ษาดงู าน (เรียนรดูM ูงานออนไลน)I 60,000 บาท กิจกรรมที่ 4 อบรมการทำวิจยั เบื้องตนM 10,000 บาท กจิ กรรมที่ 5 ไหวคM รู ยกนำ้ ชา 10,000 บาท กิจกรรมเตรียมฝšกประสบการณIวิชาชีพภาษาจีน มีการวางแผนไมPรับงบประมาณ เนื่องจากพิจารณาวPาอยPู ในชPวงแพรPระบาดของไวรัส COVID19 จึงทำแบบสำรวจความตMองการของนักศึกษาชั้นป74 เพ่ือใหMมีความ พรMอมกอP นออกฝšกประสบการณIวชิ าชีพภาษาจีน นอกจากนี้ทางหลักสูตรยังไดMรับการติดตPอจากวิเทศสัมพันธIของมหาวิทยาลัย เชิญชวนใหMนักศึกษาใน หลักสูตรเขMาอบรมภาษาจีนพ้ืนฐานและภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรมในรูปแบบออนไลนI จัดโดยมหาวิทยาลัย Sanda ประเทศจีน มีนักศึกษาช้ันป7ที่ 3 สนใจเขMารPวมโครงการจำนวน 18 คน ซ่ึงนักศึกษาที่เขMารPวมโครงการ จะไดMรบั พจิ ารณาใหMมสี ิทธร์ิ บั คัดเลอื กไปฝกš ประสบการณIวชิ าชพี ทปี่ ระเทศจนี ในอนาคต (D) หลักสูตรไดMจัดกิจกรรมตามแผนงบประมาณขMางตMนตามแผนทั้งหมดไดMตามปกติ และเมื่อการจัดโครงการ ตรงกับชPวงแพรPระบาดของไวรัสCOVID19 ก็ไดMปรับการจัดเปjนรูปแบบออนไลนI เชPน กิจกรรมเตรียมฝšก ประสบการณIวิชาชีพ ฝšกประสบการณIวิชาชีพ นิเทศนักศึกษาฝšกประสบการณI และสัมมนาหลังฝšก ประสบการณIวชิ าชพี จงึ มไิ ดมM ีการระบุงบประมาณ นอกจากนี้หลักสูตรยังไดMรับการจัดสรรงบประมาณจากสำนักวิทยบริการฯเพื่อจัดซ้ือหนังสือ ตำรา เฉพาะทางสาขาภาษาจีนเขMาหMองสมุด และในป7งบประมาณ 2563 ทางหลักสูตรไดMรับจัดสรรงบประมาณเพื่อ จัดซ้ือหนังสือ ตำราที่จัดซ้ือ ทางสำนักวิทยาบริการจะจัดสPงรายการหนังสือมายังหลักสูตรเพื่อใหMเลือกซื้อ หาก รายการหนังสือไมPซ้ำกับที่มีในหMองสมุด ทางสำนักวิทยาบริการจะจัดซื้อตามความตMองการ หรือหากอาจารยI ผMรู ับผิดชอบหลักสูตรมรี ายการหนังสือทต่ี Mองการซื้อ กส็ ามารถแจงM ไปยงั สำนักวทิ ยบรกิ ารใหจM ดั ซื้อไดM และนักศึกษาในหลักสูตรยังไดMใชMส่ิงสนับสนุนการเรียนรูMในหMองปฏิบัติการภาษาจีนในการดำเนิน โครงการบริการวิชาการ เชนP ทำคลิปสอื่ การเรยี นการสอนภาษาจีนสำหรบั นกั เรยี นระดบั ประถมศึกษา (C) 2. จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรูMท่ีเพียงพอและเหมาะสมตPอการจัดการเรียนการสอน มีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี หลักสูตรมีการบริการดMานกายภาพท่ีเหมาะสมตPอการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษาใชMหMองเรียน ของมหาวิทยาลัยซ่ึงมีอุปกรณIการศึกษา ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูM และมีจุดเช่ือมอินเตอรIเน็ตนระบบไรMสาย และมีหMองปฏิบัติการภาษาจีน ท่ีใหMนักศึกษาอPานหนังสือ คMนควMา ทำการบMาน และใชMเปjนสถานท่ีจัดอบรมของ หลักสูตร เชPนอบรม การสอบวัดระดับภาษาจีนที่ตMองมีฝšกฟ˜ง และยังใชMจัดกิจกรรมของหลักสูตร ใชMเปjน หอM งเรียนซPอมเสรมิ ใหกM บั นักศึกษา หลักสูตรมีหนังสือภาษาจีน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสื่อตPาง ๆทั้งภาพ เสียง ใหMนักศึกษาไดMคMนควMา ศึกษา ดMวยตนเอง และมีการจัดคอมพิวเตอรIไวMบริการอาจารยIและนักศึกษาเพื่อการสอน การคMนควMา และการ ปฏิบัตงิ าน (A) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารยI ตPอสิ่งสนับสนุนการ เรยี นรMู มผี ลการดำเนินงาน ดังน้ี อาจารยIผูMรับผิดชอบหลักสูตรไดMจัดประชุมและจัดสรรงบเพ่ือใชMสอยดMานสิ่งสนับสนุนการเรียนรMูผPานโครงการ ตPาง ๆ เชPน โครงการบริการวิชาการ โครงการแขPงขันทักษะภาษาจีนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีมีการ ซ้ืออุปกรณIที่เกี่ยวขMอง เชPน พัดจีน เปjนตMน นอกจากน้ียังมีการส่ังซ้ือหนังสือสำหรับอาจารยIและนักศึกษาใชMใน การเรยี นการสอนและการวจิ ยั เพ่มิ เติมอยPางหลากหลายเพือ่ ใหอM าจารยIและนักศึกษาไดMมาคMนควาM ดงั น้ี 1.中国概况 A Survey China 2.赢在中国——商务汉语系列教程 Winning in China——Business Chinese
68 (Chinese Characters) 3.赢在中国——商务汉语系列教程 Winning in China——Business Chinese (Basic1) 4.赢在中国——商务汉语系列教程 Winning in China——Business Chinese (Basic2) 5.赢在中国——商务汉语系列教程 Winning in China——Business Chinese (Basic3) 6.赢在中国——商务汉语系列教程 Winning in China——Business Chinese (Intermediate) 7.赢在中国——商务汉语系列教程 Winning in China——Business Chinese (Advanced) 8.留学生中高级汉语写作教程 AN INTERMEDIATE AND ADVANCE CHINESE WRITING COURSE FOR FOREIGNERS 9.对外汉语过程写作教程 DUIWAI HANYU GUOCHENG XIEZUO JIAOCHENG 10.中华成语大词典 ZHONGHUA CHENGYU DACIDIAN 11.现代汉语词典 XIANDAIHANYUCIDIAN 12.รวมคำศัพทแI ละตวั อยPางขMอสอบ HSK ระบบใหมP (ฉบับปรับปรงุ ) 13.สนทนาภาษาจีนแบบเรPงรัด ธุรกจิ การบริการ 14.สนทนาภาษาจีนแบบเรงP รัด ธุรกจิ การทPองเทย่ี วและการโรงแรม 15.สรปุ เขมM ศพั ทIจีน 16.คูPมือพชิ ิตการสอบ HSK ระดับ5 (ฉบบั สองภาษา ไทย-จีน) 17.ปรชั ญาวจิ ัย (PHILOSOPHY OF RESEARCH) 18.สนทนาภาษาจนี แบบเรPงรัด: การนำเที่ยว ป7การศึกษา 2563 ความพึงพอใจของนักศึกษาตPอส่ิงสนับสนุนการเรียนรMู (หลักฐาน : ผลประเมิน ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาตPอหลกั สูตร ช้นั ปท7 2่ี -4 ) ปกc ารศกึ ษา ช้ันปc ค:าเฉลีย่ รวมทุกชน้ั ปc 2 34 2558 3.95 3.91 3.75 3.87 2559 3.78 3.84 4.19 3.93 2560 3.90 3.68 4.22 3.93 2561 4.10 4.12 4.25 4.15 2562 3.74 3.97 3.99 3.90 2563 3.70 3.75 3.67 3.70 จากผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาตPอหลักสูตรดMานสิ่งสนับสนุนการเรียนรูM พบวPา
69 มีคPาเฉลี่ยความพึงพอใจลดลง เนื่องจาก ในป7การศึกษา2563 เกิดการแพรPระบาดของเชื่อไวรัสCOVID19 ทำ ใหกM ารเขMาถงึ ส่ือสิง่ สนับสนุนการเรียนรูขM องนักศกึ ษาลดลง เพราะนกั ศึกษาเรยี นออนไลนอI ยทูP ่บี าM น ความพงึ พอใจของอาจารย&ตอ: สงิ่ สนบั สนุนการเรียนรFขู องหลกั สตู ร ปcการศึกษา ค:าเฉล่ียรวม 2558 3.58 2559 4.22 2560 4.28 2561 4.49 2562 3.90 2563 4.44 จากผลประเมินความพึงพอใจของอาจารยIตPอหลักสูตรดMานสิ่งสนับสนุนการเรียนรูM พบวPาคะแนน เฉล่ียเพิ่มมากข้ึนในป7นี้ เนื่องจากทางหลักสูตรมีการสำรวจความตMองการในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรMู จากอาจารยIในหลักสูตร และไดMดำเนินการจัดหาตามท่ีอาจารยIตMองการเพ่ือใชMในการทำวิจัย การเรียนการ สอนและการจดั กิจกรรมสPงเสรมิ และพฒั นานักศึกษา
70 หมวดที่ 6 ขอ+ คิดเหน็ และขอ+ เสนอแนะเกย่ี วกับคุณภาพหลักสูตรจากผ+ปู ระเมินอิสระ 1. ขอM คิดเห็นหรือสาระท่ไี ดMรบั การเสนอแนะจากผMปู ระเมิน และความเหน็ ของผMรู ับผิดชอบหลกั สูตรตอP ขอM คิดเหน็ หรือสาระที่ไดรM บั การเสนอแนะ ขFอคดิ เห็นหรอื สาระ ความเหน็ ของตอ: ขอF คดิ เห็นหรอื สาระ ทไี่ ดFรบั การเสนอแนะจากผFูประเมนิ ทไ่ี ดรF ับการเสนอแนะ องคปI ระกอบที่ 1 การกำกบั มาตรฐาน หลักสูตรมีการวางแผนและกำกับใหMอาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตรมี 1.ควรมีการกำกับใหMอาจารยIผMูรับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทาง ผลงานทางวิชาการในรอบป7การศึกษาที่ผPานมาและไดMกระตุMนใหM วชิ าการ อาจารยIประจำหลักสูตรทำงานวิจัยเพ่ือเปjนประโยชนIตPอการ 2.กระตุนM ใหMอาจารยIประจำหลักสูตรตพี มิ พผI ลงานวิชาการ ปรบั ปรงุ การเรยี นการสอนและเพ่ือตพี ิมพผI ลงานวชิ าการ องคIประกอบท่ี 2 บณั ฑติ มีการติดตามและสPงเสริมใหMนักศึกษาชั้นป74 เขMารับการอบรมและ เพ่ิมเติมทักษะทางดMานความสามารถในการสรุปประเด็นและ ทดสอบดMานดิจทิ ลั ส่ือสารการพูดการเขยี น การใชMโปรแกรมคอมพวิ เตอรI องคปI ระกอบที่ 3 นกั ศกึ ษา มีการประชุมเพื่อวางแผนการจัดโครงการในคร้ังตPอไปโดยปรับ ควรมีการประเมินกิจกรรมเตรียมความพรMอมเพื่อใหMมีแนวทางใน รูปแบบตามความรุนแรงของสถานการณโI ควิด การสงP เสริมนกั ศกึ ษาสำเรจ็ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด องคIประกอบท่ี 4 อาจารยI หลักสูตรมีการสPงเสริมใหMอาจารยIในหลักสูตรเขMารPวมการอบรมดMาน ควรมีการสPงเสริมพัฒนาอาจารยIใหMมคี วามเชยี่ วชาญมากขนึ้ วิชาการท้งั ในและนอกประเทศอยPเู สมอ องคปI ระกอบที่ 5 หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินผูเM รยี น หลักสูตรมีการตรวจสอบผลการเรียนทุกภาคเรียน เม่ือทราบป˜ญหา 1.ควรนำผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรMูของ นักศึกษาใน แลMวตกลงกันใหMอาจารยIที่ปรึกษาและอาจารยIผูMสอนติดตามเปjน ประเดน็ ทไ่ี มPชัดเจนหรือมแี นวโนมM วาP จะเปjนป˜ญหามาทวนสอบซำ้ ระยะ มีการสอบถามความตMองการของนักศึกษาในการจัดโครงการ 2.ควรมีกำหนดรายวิชาทบูรณาการกับการวิจัยการบริการวิชาการ ตPาง ๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนรูM กำหนดรายวิชาภาษาจีนเพ่ือธุรกิจ ทางสงั คมและศิลปะวัฒนธรรมใหชM ัดเจน ในการจัดโครงการบูรณาการดMานการเรียนรMูที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี 3.การทำวิจัยหลักสูตรเพื่อหาความตMองการของผMูใชMบัณฑิตเพ่ือ รวมถึงใหMนักศึกษามีบทบาทสำคัญในการบริการวิชาการดMาน นำมาปรับปรุงรายวชิ าใหมM ีความทันสมยั ยิ่งข้ึน ศิลปะวัฒนธรรม และมีการทำวิจัยหลักสูตรเพ่ือปรับปรุงรายวิชา สำหรบั ใชMในป7 2565 องคIประกอบที่ 6 สิง่ สนับสนุนการเรยี นรMู ควรจดั ทำฐานขMอมลู สิ่งสนบั สนุนการเรยี นรMู มีการสอบถามความตMองการของอาจารยIและนักศึกษาในหลักสูตร การไดMมาซึ่งสิ่งสนับสนุนการเรียนรูMควรไดMมาจากอาจารยIและ จึงดำเนินการจัดหาส่ิงสนับสนุนการเรียนรMู เชPน หนังสือ สื่อการ นักศกึ ษา เรียนการสอนอ่ืน ๆ รวมถึงการสำรวจรายชื่อนักศึกษาที่ขาดแคลน อุปกรณIอำนวยความสะดวกในการเรียนออนไลนI มีนักศึกษาชั้นป7 2 จำนวน 2 คนไดMทำสญั ญายมื คอมพิวเตอรIโนตM บุªคของคณะ มนษุ ยศาสตรIและสงั คมศาสตรIเปนj ระยะเวลา 1 ป7
71 2. การนำไปดำเนินการเพ่อื การวางแผนหรอื ปรบั ปรงุ หลักสตู ร การปรับปรุงหลักสูตรในวงรอบตPอไปในหรือการปรับปรุงหลักสูตรในระยะใกลMป7การศึกษา 2564หลักสูตรเตรียมวางแผนรายวิชาท่ีควร ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชาใหMทันสมัย สอดคลMองกับศาสตรIความรMูที่พัฒนาไป เปล่ียนแปลงไปและวางแผนการเป®ดรายวิชาเลือกใหมPๆที่เหมาะสมกับ ป˜จจุบนั 3. การประเมนิ จากนกั ศกึ ษาช้ันปcสุดทFาย (รายงานตามปทc สี่ ำรวจ) วันทีส่ ำรวจวันท่ี 15 เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. 2564 ป7การศกึ ษา 2563 ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาชน้ั ปส7 ุดทMายตอP หลักสูตร เฉลี่ยเทาP กับ 3.66 (หลกั ฐาน: ผลการประเมินความพึงพอใจ) 3.1 ขอF วพิ ากษท& ่ีสำคัญจากผลการประเมนิ ขFอคดิ เห็นของนกั ศกึ ษาชัน้ ปสc ดุ ทFาย ขFอวพิ ากษ&ทส่ี ำคญั จากผลการประเมนิ ต:อผลการประเมิน ไมPมี ไมPมี หมายเหตุ กองประกันคุณภาพการศึกษาเปjนหนวP ยงานทใ่ี หMขอM มลู 3.2 ขอF เสนอการเปลย่ี นแปลงในหลกั สูตรจากผลการประเมิน ระบขุ อM เสนอการเปลี่ยนแปลงในหลกั สูตร หากไมPมใี สPคำวPา “ไมมP ”ี 4. การประเมนิ จากผมูF สี ว: นเกีย่ วขอF ง (ผFใู ชบF ัณฑิต) 4.1 ขอF วิพากษ&ทีส่ ำคัญจากผลการประเมนิ และขFอคิดเหน็ ของผมูF สี ว: นเกีย่ วขFองต:อผลการประเมิน ขFอวิพากษท& ส่ี ำคัญจากผลการประเมนิ ขFอคิดเหน็ ของผูFมสี ว: นเกยี่ วขFองต:อผลการประเมนิ 1.ทางหลักสูตรจัดอาจารยIสอนในรายวิชาตPาง ๆ ตาม 1.ทางหลักสูตรควรจัดอาจารยIผูMสอนท่ีเปjนชาวจีนมาสอนในรายวิชาที่งPาย ความถนัดของอาจารยIผMูสอนในทุกภาคเรียนท้ังอาจารยI และไมPซับซMอน เชPน รายวิชาประวัติศาสตรIจีน วิวัฒนาการตัวอักษรจีน ชาวจีนและชาวไทย หรือวัฒนธรรม ประเพณีจีน เปjนตMน สPวนรายวิชาที่ซับซMอนหรือตMองใชMการ คิดวิเคราะหIอาจารยIผMูสอนควรเปjนคนไทย เพื่อการสื่อสารท่ีเขMาใจมากกวPา 2.ทางหลักสูตรมีการจัดกิจกรรมหรือโครงการท่ีเกี่ยวขMอง กัน เชPน รายวิชาสัทศาสตรI การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาตPางประเทศ กับการพัฒนานักศึกษานอกหMองเรียนอยPูแลMว และในบาง หรือวิชาไวยากรณI เพราะบางคร้ังในรายวิชาเหลPานี้ เน้ือหาบางสPวนไมPไดM รายวิชามีการมอบหมายใหMทำกิจกรรมนอกหMองเรียนบMาง ยาก แตPเปjนเพราะการสื่อสารที่ตPางภาษากันน้ัน ทำใหMผMูเรียนอาจไมPเขMาใจ เชนP กนั หรอื เขMาใจไดชM Mา 2.ในหลักสูตรนั้นควรมีการจัดสอนนอกสถานท่ีตามเอกสาขาวิชาน้ัน ๆ เพ่ือ 3.ทางหลักสูตรมีการจัดรายวิชาและโครงการใหMความรูM เพ่ิมความสนใจและไดMปฏิบัติงานอยPางเสมือนจริง ควรจัดใหMนักศึกษา นั ก ศึ ก ษ าเพ่ื อ เต รีย ม ค ว าม พ รMอ ม กP อ น อ อ ก ฝš ก ออกไปเรยี นรนูM อกหMองเรยี น ประสบการณIวิชาชีพเสมอ ท้ังการเขียนแผนการสอน 3.ควรใหMทางหลักสูตร มีการสอนในการเขียนแผนจัดการเรียนรูMเบื้องตMน บุคลิกภาพ งานสารบรรณ การเขียนจดหมายสมัครงาน (แผนการสอน) สำหรับนักศึกษาช้ันป7ที่4ท่ีออกฝšกประสบการณIวิชาชีพ และการสัมภาษณIงานเปjนตMน (ฝกš สอน) เพือ่ ใหMนักศกึ ษาไดMมีความรMูเบือ้ งตนM เพือ่ นำไปใชMในการฝšกสอน
72 หมวดท่ี 7 แผนการดำเนนิ การเพอ่ื พัฒนาหลักสตู ร 1. ความกFาวหนาF ของการดำเนนิ งานตามแผนทีเ่ สนอในรายงานของปcที่ผา: นมา แผนดำเนนิ งาน วนั สนิ้ สุด ผFูรบั ผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน เหตุผลทไ่ี มส: ามารถ ตามแผน สำเรจ็ ไมส: ำเร็จ ดำเนนิ การไดFสำเรจ็ 1.ปรับปรุงกระบวนการปฐมนิเทศ การ ภาคเรียนท่ี 1 ป7 ประธานหลกั สตู ร ✓ - เตรียมความพรMอมและการปรับพ้ืนฐาน 2563 อ า จ า ร ยI ผูM รั บ ผิ ด ช อ บ เพื่อแกMป˜ญหานักศึกษาที่มีเวลาเขMารPวม หลกั สตู ร กจิ กรรมไมPถงึ รMอยละ80 ของเวลาอบรม อาจารยIที่ปรึกษาชั้นป7ท่ี 1 2.โครงการแกปM ˜ญหานักศกึ ษาทีม่ ผี ลการ สิ้นภาคเรยี นที1่ ประธานหลักสูตร ✓ - เรยี นไมPถึง 2.00 ทุกชัน้ ปข7 องหลกั สูตร ส้ินภาคเรยี นท่2ี อ า จ า ร ยI ผูM รั บ ผิ ด ช อ บ หลกั สตู ร อาจารยIท่ีปรึกษาช้ันป7ที่ 1 ,2,3,4 3.โครงการปรับปรุงรายวิชาของหลักสูตร ป7 ก า ร ศึ ก ษ า ประธานหลักสตู ร ✓ - ใหMทันสมัยเพิ่ม รายวิชาเลือกที่มีความ 2563 อ า จ า ร ยI ผMู รั บ ผิ ด ช อ บ ทั น ส มั ย เห ม า ะ กั บ ส ถ า น ก า ร ณI ป˜ จ จุ บั น หลักสตู ร เก่ียวกับอาชีพที่ใชMภาษาจีน เชPน รายวิชา ภาษาจีนเพื่อการขนสPงสินคMา ภาษาจีน เพ่ือธุรกิจออนไลนI ภาษาจีนเพื่อธุรกิจทาง สขุ ภาพ เปนj ตMน 4.โครงการปรับปรุงระบบ ขั้นตอนการ ภาคเรยี นที่ 1 ประธานหลักสตู ร เตรียมฝšกประสบการณวI ชิ าชพี ป7 ก า ร ศึ ก ษ า อ า จ า ร ยI ผูM รั บ ผิ ด ช อ บ 2563 หลักสูตร อาจารยIท่ีปรึกษาชั้นป7ท่ี 4 2. ขอF เสนอแนะในการพัฒนาหลกั สตู ร 2.1 ขFอเสนอแนะการปรบั โครงสราF งหลกั สตู ร (จำนวนหนว: ยกติ รายวิชาแกน รายวิชาเลือกฯ) ใหรM วบรวมจากหมวดที่ 6 ขMอ 4. ใน มคอ.5 ของทกุ รายวิชา และระบเุ ปjนรายขMอ 1.ควรจดั ซื้ออปุ กรณเI ขียนพกPู ันจนี ใหMเพยี งพอตPอจำนวนนักศกึ ษา 2.หนงั สือเรยี นเฉพาะดาM นสำหรับการสอนภาษาจีนเปนj ภาษาตPางประเทศมนี Mอย จงึ ขอเสนอใหMจัดหนงั สอื เพม่ิ เติม 2.2 ขFอเสนอในการเปลยี่ นแปลงรายวิชา ใหรM ะบขุ Mอเสนอในการเปลยี่ นแปลง เชPน การเพม่ิ – ลด เนอ้ื หาในรายวิชา การเปลี่ยนแปลงการสอน การประเมนิ ผลสัมฤทธร์ิ ายวชิ า เปjนตMน และใหรM ะบเุ ปjนรายขMอ ไมPมี
73 2.3 กจิ กรรมการพฒั นาคณาจารยแ& ละบุคลากรสายสนับสนนุ ใหคM ณาจารยใI นหลกั สตู รทกุ คนเขMารวP มโครงการการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนหรอื ตำรา หรอื งานวิจยั อยาP งนอM ยอยาP งใดอยาP งหนึ่ง 3. แผนปฏิบตั กิ ารใหม:สำหรบั ปcการศึกษาถัดไป (ระบุกิจกรรม/โครงการทจ่ี ะดำเนนิ การในป7การศึกษาถัดไป โดยวเิ คราะหจI ากผลการดำเนินงานของปป7 ระเมิน หรอื ขMอเสนอแนะของกรรมการ ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดบั หลกั สูตร) แผนการดำเนนิ งาน วนั ท่คี าดว:าจะสน้ิ สุ ผรูF บั ผดิ ชอบ ดแผน 1.การสPงเสรมิ ดาM นผลงานทางวิชาการของอาจารยIผรMู ับผิดชอบ ภาคเรยี นที่ 2 ประธานหลักสตู ร หลกั สูตรและอาจารยIประจำหลักสตู ร ปก7 ารศึกษา อาจารยผI รMู ับผดิ ชอบหลกั สูตร 2564 2.ทวนสอบผลสัมฤทธแิ์ ละจัดโครงการแกปM ˜ญหานักศึกษา กรณีสอบ สิ้นภาคเรยี นท1่ี ประธานหลกั สตู ร อาจารยIผMรู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร วัดระดับทักษะภาษาจีน HSK 4 ไมผP าP นและกรณีทมี่ ผี ลการเรยี นไมP ปก7 ารศึกษา อาจารยIท่ปี รกึ ษาชนั้ ป7ท่ี 1-4 ถึง 2.00 ทกุ ชนั้ ปข7 องหลกั สตู ร 2564 3.วิจัยและการปรับปรงุ รายวชิ าในหลกั สตู รใหทM นั สมยั ปก7 ารศกึ ษา 2564 ประธานหลักสูตร อาจารยผI ูรM บั ผิดชอบหลักสตู ร 4.การปรบั ปรงุ ระบบ ข้นั ตอนการเตรยี มฝšกประสบการณวI ชิ าชีพ 5.การจัดโครงการอบรมภาษาองั กฤษ ภาคเรยี นท่ี 1 ประธานหลักสตู ร ป7การศึกษา อาจารยผI ูรM บั ผิดชอบหลกั สูตร 2564 อาจารยทI ี่ปรึกษาช้นั ป7ท่ี 4 ปก7 ารศกึ ษา อาจารยทI ป่ี รกึ ษาชน้ั ป7ที่ 3-4 2564 อาจารยผ& ูFรับผดิ ชอบหลักสตู ร :อาจารยI ดร.รจุ ิรา ศรสี ุภา ลายเซ็น : ...................................... อาจารย&ผรFู บั ผิดชอบหลกั สูตร :อาจารยI จนิ ตนา แยMมละมุล ลายเซน็ : ...................................... อาจารยผ& ูFรับผิดชอบหลักสตู ร :อาจารยI จริ าพร ปาสาจะ ลายเซน็ : ...................................... อาจารย&ผรูF บั ผดิ ชอบหลักสตู ร :อาจารยI วรยศ ชนื่ สบาย ลายเซน็ : ...................................... อาจารย&ผรูF บั ผิดชอบหลักสตู ร :อาจารยI Huang Wanting ลายเซน็ : ...................................... อาจารย&ผูรF บั ผิดชอบหลกั สตู ร :อาจารยI ดร.ธีรวฒั นI การโสภา ลายเซน็ : ...................................... ประธานหลกั สตู ร : วันทรี่ ายงาน : 1 กรกฎาคม 2564 ) ลายเซ็น : (คณบดคี ณะ เห็นชอบโดย : วนั ท่ี : ลายเซน็ :
74 ภาคผนวก ตารางที่ 1 จำนวนอาจารยผ& Fรู ับผิดชอบหลกั สตู ร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ตำแหนง: ทางวชิ าการ อาจารย& ผูชF ว: ยศาสตราจารย& รองศาสตราจารย& ศาสตราจารย& รวม คุณวุฒกิ ารศกึ ษา - -- ปรญิ ญาตรี - - - -4 ปรญิ ญาโท 4 - - -2 ปรญิ ญาเอก 2 - - -6 6 รวม ขMอมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ตารางท่ี 2 คุณสมบตั อิ าจารยป& ระจำและอาจารยผ& Fรู ับผิดชอบหลักสตู ร ชือ่ – สกลุ / วุฒิการศึกษา ตำแหนง: ทาง สาขาวชิ าท่ีจบ ปcทจี่ บ ผลงานทางวิชาการ/ อาจารยป& ระจำและอาจ ตรี โท เอก วชิ าการ การศึกษา/ การศกึ ษา ตำรา/งานวจิ ยั / สถาบนั ท่จี บ ปcที่ตีพมิ พ&เผยแพร: ารยผ& Fรู บั ผดิ ชอบ ผศ. รศ. ศ. การศึกษา หลักสตู ร 1 นางสาวรจุ ริ า √ Ph.D. (Linguistic 2559 รุจิรา ศรสี ุภา (2560) ศรสี ภุ า and Applied Linguistic) “ก า ร วิ เ ค ร า ะ หI Xiamen ขMอผิดพลาดการเรียน University, ภาษาจีนของนักศึกษา China ไทย”เอกสารประชุม วิ ช า ก า ร แ ล ะ น ำ เส น อ ผลงานวิจัยระดับชาติ คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัย เพื่อรับใชMสังคม....พลัง ขับเคล่ือนประเทศไทยสูP ยุค 4.0 2 นางจินตนา √ ศศ.ม.(การสอน 2557 รัตนกุล กาญจนะพรกุล แยFมละมลุ ภาษาจนี ) ,จิน ต น า แ ยM ม ล ะมุ ล มหาวทิ ยาลยั หวั (2560) เฉียวเฉลมิ พระ เกียรติ “กฎการเขียนพินอิน ” เอ ก ส ารป ระ ชุ ม วิ ช า ก า ร แ ล ะ น ำ เส น อ ผลงานวิจัยระดับชาติ คร้ังท่ี 7 มหาวิทยาลัย เพ่ือรับใชMสังคม....พลัง
75 ขับเคลื่อนประเทศไทยสPู ยุค 4.0 3 นางสาวจิราพร √ M.A. (Teaching 2555 จิ ร า พ ร ป า ส า จ ะ ปาสาจะ Chinese to ,ธีรวัฒนI การโสภา Speakers of (2560) “ก า ร ศึ ก ษ า Other ความหมายแฝงท าง Languages) ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม Xinan ข อ ง “ไ กP ” ผP า น University, China สำนวนสภุ าษิตจนี ” เอกสารประชุมวิชาการ และนำเสนอผลงานวิจัย ร ะ ดั บ ช า ติ ค รั้ ง ที่ 7 มหาวิทยาลัยเพื่อรับใชM สังคม....พลังขับเคล่ือน ประเทศไทยสยูP คุ 4.0 4 นายวรยศ √ M.A.Chinese 2562 วรยศ ช่ืนสบาย วชั ชื่นสบาย Philology โรบล มากพนั ธI และ Chinese Huang Wanting Lanzhou (2562). การศกึ ษา University, ประเภทการแปลชือ่ China อาหารไทยเปนj ภาษาจีน.ใน พระมหา สมคั ร มหาวีโร (บรรณาธกิ าร), วารสาร มนุษยศาสตรI (JOHU.MBU) คณะ มนุษยศาสตรI มหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวทิ ยาลยั , ปท7 ี่ 11 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม- ธันวาคม 2562. 5 Miss Huang √ M.A.(Departme 2561 วรยศ ช่ืนสบาย วัช Wanting nt of Chinese โรบล มากพันธI และ Language and Huang Wanting Literature) (2562). การศึกษา National ประเภทการแปลชื่อ อาหารไทยเปjน University of ภาษาจนี .ใน พระมหา สมคั ร มหาวีโร Tainan (บรรณาธกิ าร), วารสาร มนษุ ยศาสตรI
76 (JOHU.MBU) คณะ มนุษยศาสตรI มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ปท7 ี่ 11 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม- ธนั วาคม 2562. 6 นายธีรวัฒน& √ Ph.D. 2563 จิ ร า พ ร ป า ส า จ ะ การโสภา (Linguistics and ,ธรี วัฒนI การโสภา Applied (2560) “ก า ร ศึ ก ษ า Linguistics) ความหมายแฝงทาง Shanghai ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม Normal ของ “ไกP”ผPานสำนวน University, สภุ าษติ จีน China เอกสารประชุมวชิ าการ และนำเสนอผลงานวิจัย ระดบั ชาตคิ ร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัยเพอื่ รับใชM สังคม....พลังขบั เคลือ่ น ประเทศไทยสยPู ุค 4.0 ขMอมลู ณ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2564 ตารางที่ 3 คณุ สมบตั อิ าจารย&ผสFู อนระดบั ปริญญาตรี ชอ่ื – สกลุ / วุฒกิ ารศึกษา ตำแหนง: ทางวิชาการ สาขาวชิ าท่ีจบ ปcที่จบ อาจารยป& ระจำและอาจารย& ตรี โท เอก ผศ. รศ. ศ. การศกึ ษา/ การศกึ ษา สถาบันทจี่ บการศกึ ษา ผFรู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 1 นางสาวรจุ ริ า ศรสี ภุ า √ Ph.D. (Linguistics and 2559 Applied Linguistics) Xiamen University ,China 2 นางจนิ ตนา แยMมละมลุ √ ศศ.ม.(การสอน 2557 ภาษาจนี ) มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียว เฉลิมพระเกยี รติ 3 นางสาวจิราพร ปาสาจะ √ M.A. (Teaching 2555 Chinese to Speakers of Other Languages) Xinan University ,China
77 4 นายวรยศ ชน่ื สบาย √ M.A. 2562 5 นางสาวปานดวงใจ √ (Chinese Philology) 2556 √ Lanzhou University 2553 บญุ จนาวโิ รจนI ,China 2561 6 Miss Yang Shu Juan 2563 M.A. (Teaching 7 Miss Huang Wan ting √ Chinese to Speakers 2563 of Other Languages) 8 นางสาวพชรมน ซือ่ สัจลือสกลุ √ Nanjing Normal University ,China 9 นายธรี วัฒนI การโสภา √ M.A. (Biochemistry and molecular biology) Jilin University ,China M.A. (Department of Chinese Language and Literature) National University of Tainan Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Beijing Language and Culture University, China Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Shanghai Normal University, China
78 ตารางท่ี 4 การปรบั ปรงุ หลักสตู รตามรอบระยะเวลาที่กำหนด รอบระยะเวลาหลกั สตู ร ปกc ารศกึ ษาทีพ่ ัฒนา ปcการศกึ ษาทใ่ี ชจF ดั การพิจารณา การศกึ ษา หลกั สูตรเดมิ ป7การศกึ ษา 2551 ปก7 ารศกึ ษา 2552 สภาวิชาการอนุมัติหลักสูตรปรับปรุง ในคราวประชุมคร้ังท่ี หลกั สตู รป˜จจบุ ัน 6/2555 เมื่อวนั ที่ 4 พฤษภาคม 2555 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรปรับปรุงในคราวครั้งท่ี 1 ในการประชุมครั้งที่ 5/2555 เม่ือวันท่ี 15 พฤษภาคม 2555 และคร้ังท่ี 2 ในการประชุมครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 15 กมุ ภาพนั ธI 2556 หลกั สตู ร ป7 2560 ปก7 ารศกึ ษา 2553 ปก7 ารศึกษา 2555 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรปรับปรุงในคราวครั้งที่ 1 หลกั สูตร ป7 2565 ปก7 ารศกึ ษา 2559 ปก7 ารศึกษา2560 ในการประชมุ ครั้งท่ี 5/2555 เม่ือวันท่ี 15 พฤษภาคม 2555 และคร้ังท่ี 2 ในการประชุมครั้งท่ี 1/2556 ปก7 ารศกึ ษา 2563 ป7การศึกษา2565 เม่ือวันท่ี 15 กมุ ภาพันธI 2556 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรปรับปรุงในคราวครั้งที่ 1 ในการประชมุ ครั้งที่ ...../2559 เม่ือวนั ท่ี 31มนี าคม 2559 ป˜จจบุ ัน เปjนการใชหM ลักสูตร ปท7 ่ี 5 ของรอบระยะเวลา คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร พจิ ารณาหลักสูตรนใี้ นการประชุม ครัง้ ท่ี 1/2559 เมอื่ วนั ที่ 6 มิถนุ ายน 2559 ครัง้ ที่ 2/2559 เมอื่ วันที่ 16 มิถุนายน 2559 ครั้งท่ี 3/2559เมอ่ื วันท่ี 28 กรกฎาคม 2559 ครั้งที่ 4/2559เมือ่ วนั ที่ 13 กนั ยายน 2559 คณะกรรมการประจำคณะ พิจารณาหลักสตู รน้ีในการประชุมคร้ังท่ี 5/2559 เมอื่ วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สภาวชิ าการพจิ ารณาใหMความเห็นชอบในการประชุมครง้ั ท่ี 2/2560 เม่ือวันที่ 10 กุมภาพนั ธI พ.ศ. 2560 สภามหาวิทยาลัยอนมุ ัตหิ ลักสูตรในการประชุมครง้ั ท่ี 2/2560/ เมื่อวันท่ี 24 กุมภาพนั ธI พ.ศ. 2560 สภาวิชาการอนมุ ัติหลกั สตู รปรบั ปรงุ เลก็ นMอยในคราวครั้งที่ 10 ในการประชมุ ครัง้ ที่ 10/2560เมอ่ื วันท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2560 คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร พจิ ารณาหลักสตู รนี้ในการประชมุ ครง้ั ที่ 1/2563 เมอื่ วนั ท่ี 18 มกราคม 2564
79 คร้ังที่ 2/2563 เม่ือวันท่ี 15 กุมภาพนั ธI 2564 ครั้งท่ี 3/2563 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2564 ครง้ั ท่ี 4/2563 เมือ่ วนั ท่ี 26 เมษายน 2564 ตารางที่ 5 กระบวนการปรับปรงุ ผลการดำเนินงาน กระบวนการ (อธบิ ายผลการดำเนินงานในแต:ละกระบวนการ) 1. แตงP ต้งั คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู รฯ คณะกรรมการรPางหลักสตู รไดรM บั การแตงP ตั้ง ตามคำสั่งมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ที่ 229/2559สง่ั ณ วนั ท่ี 19 เมษายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รไดรM ับการแตPงต้งั ตามคำสั่งมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ที่ 345/2559 สง่ั ณ วันที่ 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร พิจารณาหลักสูตรน้ีในการประชุม 4 คร้งั ไดแM กP ครงั้ ที่ 1/2559 เม่ือวนั ท่ี 6 มิถุนายน 2559 ครัง้ ที่ 2/2559 เมื่อวนั ท่ี 16 มถิ นุ ายน 2559 ครั้งที่ 3/2559เมอ่ื วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 ครงั้ ที่ 4/2559เมื่อวนั ที่ 13 กันยายน 2559 2. วเิ คราะหคI วามตMองการใชบM ัณฑติ /ตลาดแรงงาน ความตFองการใชบF ัณฑิต/ตลาดแรงงานเนือ่ งจากท้งั ภาครัฐและเอกชนมคี วามตื่นตัวใน ความพรอM มของคณะ คูแP ขPง และจุดเดPนของ การตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบกบั ประเทศจนี มบี ทบาทดMานการคMาและ หลักสูตร เพ่ือจัดทำกรอบแนวคิด วฒั นธรรมมากขน้ึ สงP ผลใหภM าษาจนี ยิ่งมคี วามสำคญั ตามมา สถาบันการศึกษาตPางๆทั้ง ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาไดจM ดั การเรยี นการสอนภาษาจนี บณั ฑิตทม่ี คี วามรูM ทางดาM นภาษาจนี จึงเปนj ท่ีตMองการของตลาดแรงงานทงั้ ในดาM นธรุ กจิ การบริการ การ ทอP งเทยี่ ว โรงแรม ดาM นการศึกษาและดMานสุขภาพ ความพรFอมของคณะ หลกั สูตรมบี ุคลากรทีจ่ บการศึกษาท่ีมคี วามรMู มีประสบการณIใน ดาM นภาษาจนี และมีการจดั ทำหลกั สูตรที่เปjนไปตามเกณฑทI ีส่ กอ กำหนด หลกั สูตรมกี าร จดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร มีการทำMOUแลกเปลีย่ นนักศกึ ษา และมกี ารรบั อาสาสมัคร ชาวจนี เขาM มาสอนในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวชิ าภาษาจีน ค:แู ข:ง สถาบนั อดุ มศกึ ษาหลายแหPงไดเM ปด® หลกั สตู รภาษาจีนเชPนกัน จำนวนนกั ศกึ ษาใหมP ของมหาวทิ ยาลัยมแี นวโนMมลดลง จุดเด:นของหลกั สูตร ผลิตบัณฑติ ทสี่ ามารถใชMภาษาจนี ในการสื่อสาร การทำงาน ทง้ั หนวP ยงานภาครฐั และเอกชน หนPวยงานสถานศกึ ษา การประกอบอาชีพอิสระ และ สามารถศกึ ษาในระดับทส่ี งู ข้นึ ทงั้ ภายในประเทศและตPางประเทศ บัณฑติ เปนj ผMมู ีความรูM มีคณุ ธรรม มีความอดทน ซ่อื สตั ยI 3. จดั ทำ (ราP ง) หลักสูตร มคอ.2 และเสนอ สสว. จากหลักสูตร ศศ.บ. ภาษาจีน ปก7 ารศกึ ษา 2555 ไดดM ำเนนิ การรบั นกั ศึกษา ใชMหลักสตู ร ตรวจสอบ (ราP ง) หลักสูตร ครบรอบของการจดั การปรับปรุงหลกั สตู รมหาวิทยาลยั ไดMมีคำส่ังแตงP ต้ังคณะกรรมการ
80 ราP งกลักสตู รปรบั ปรงุ และคณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู รปรับปรุง ป7การศกึ ษา 2560 อาจารยIประจำหลักสูตรจัดทำ (ราP ง) หลักสตู ร มคอ.2 และเสนอ สสว. ตรวจสอบ (ราP ง) หลักสูตรเมอ่ื เดอื นเมษายน พ.ศ. 2559 4. สสว. นำเสนอ (รPาง) คณะกรรมการประจำคณะ พจิ ารณาหลกั สตู รนใี้ นการประชุมคร้ังท่ี 5/2559 เมือ่ วนั ท่ี หลกั สตู รตอP คณะกรรมการประจำคณะ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2559 5. สสว. นำเสนอ (ราP ง) สภาวชิ าการพิจารณาใหMความเหน็ ชอบในการประชมุ ครั้งท่ี 2/2560 เมือ่ วนั ที่ 10 หลักสตู รตอP สภาวิชาการเพอื่ ใหคM วามเหน็ ชอบ กุมภาพนั ธI พ.ศ. 2560 6. สสว. นำเสนอ (ราP ง) หลกั สูตรตPอ สภามหาวิทยาลัยอนมุ ตั หิ ลักสูตรในการประชุมครง้ั ท่ี 2/2560/ เมือ่ วนั ท่ี 24 กุมภาพนั ธI สภามหาวิทยาลยั เพอื่ อนมุ ัติ พ.ศ. 2560 7. สสว. เสนอหลกั สูตรตอP กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตรI สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา วจิ ยั และนวัตกรรมรับทราบใหMความเหน็ ชอบหลักสูตรนเ้ี มอื่ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. (สกอ.)เพ่อื รบั รอง 2563 8เสนอ สมอ 08 สภาวชิ าการอนมุ ัตสิ มอ 08 เพ่ือแกไM ขรายชื่ออาจารยIประจำหลักสตู รใหมจP หลกั สูตรปรับปรงุ อาจารยปI ระจำหลกั สูตรหลักสตู รปรับปรุงเลก็ นอM ยในคราวครงั้ ที่ 10 ำนวน 1 ทาP น ในการประชมุ ครงั้ ท่ี 10/2560เมือ่ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2560 ตารางท่ี 6 ผลงานทางวชิ าการของอาจารย&ผูFรับผิดชอบหลักสูตร ป7 พ.ศ 2563 คา: นำ้ หนั ชือ่ เจFาของผลงาน ชื่องานสราF งสรรค/& แหลง: เผยแพร/: ตพี มิ พ& หมายเหตุ ก ชอ่ื ผลงานทางวิชาการ นางสาวรจุ ริ า ศรสี ุภา รุจิรา ศรีสุภา (2560)“การ เอ ก ส าร ป ร ะ ชุ ม วิ ช าก าร แ ล ะ น ำเส น อ วิเคราะหIขMอผิดพลาดการเรียน ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัย ภาษาจีนของนักศกึ ษาไทย” เพื่อรับใชMสังคม....พลังขับเคล่ือนประเทศไทยสPู ยุค 4.0 รุจริ า ศรีสภุ า,วิชมัย อิ่มวเิ ศษ (2561) ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ใชM เอ ก ส าร ป ร ะ ชุ ม วิ ช าก าร แ ล ะ น ำเส น อ พจนานุกรมและป˜ญหาการใชM ผลงานวิจัยระดับชาติคร้ังที่ 10 ถักถองานวิจัย พจนานุกรมในการแปล 2 ทMองถ่ิน กาM วไกลสูPสากล นักศึกษาวิชาเอกภาษาจีนชั้นป7 (Connecting Local Research to ที่ 3 คณะมนุษยศาสตรIและ International Perspectives) สังคมศาสตรIมหาวิทยาลัยราช ภัฎนครราชสีมา นางจินตนา แยมF ละมุล จินตนา แยMมละมุล,วรยศ ชื่น วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรม ส บ าย (2564) ก ารพั ฒ น า ทMองถ่ิน, ป7ที่ 7 ฉบับท่ี 2. กุมภาพันธI พ.ศ. ความสามารถในการอPานป•าย 2564, หนMา 167-180 (TCI กลPมุ ท่ี 2) สั ญ ลั ก ษ ณI ภ า ษ า จี น ข อ ง
81 นักศึกษาชั้นป7ท่ี 2 สาขาวิชา เอ ก ส าร ป ร ะ ชุ ม วิ ช าก าร แ ล ะ น ำเส น อ ภ าษ าจีน โด ยใชMส่ือท่ี เปj น ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งท่ี 7 มหาวิทยาลัย ชดุ ฝกš ภาษาจนี เพื่อรับใชMสังคม....พลังขับเคล่ือนประเทศไทยสูP ยุค 4.0 รัตน กุล กาญ จน ะพ รกุล , จินตนา แยMมละมลุ (2560) “กฎการเขียนพินอิน” 0.6 นางสาวจิราพร จิ ร า พ ร ป า ส า จ ะ (2563) วารสารสหวิทยาการศาสตรIและการส่ือสาร. ป7 ปาสาจะ การศึกษาความเขMาใจในการ ที่ 3 ฉบับที่ 1, มกราคม-เมษายน 2563, หนMา 68-82. (TCI กลุมP ที่ 2) แปลคำบอกทิศทาง “上 ” (Shang) จ าก ภ าษ าจี น เปjนภาษาไทยของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนช้ันป7ที่ 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ นครราชสมี า จิราพร ปาสาจะ,ธีรวัฒนI การ เอ ก ส าร ป ร ะ ชุ ม วิ ช าก าร แ ล ะ น ำเส น อ โส ภ า (2560) “ก า ร ศึ ก ษ า ผลงานวิจัยระดับชาติคร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัย ความหมายแฝงทางภาษาและ เพ่ือรับใชMสังคม....พลังขับเคลื่อนประเทศไทยสPู ยุค 4.0 วัฒนธรรมของ “ไกP” ผPาน สำนวนสภุ าษิตจนี ” นายวรยศ ชน่ื สบาย วรยศ ช่ืนสบ าย วัชโรบ ล พระมหาสมัคร มหาวีโร (บรรณ าธิการ), ม า ก พั น ธI แ ล ะ Huang วารสารมนุษยศาสตรI (JOHU.MBU) คณะ Wanting (2562). การศึกษา มนุษยศาสตรI มหาวิทยาลัย มหามกุฏราช ประเภทการแปลชื่ออาหาร วิท ยาลัย, ป7 ท่ี 11 ฉบั บ ท่ี 2 กรกฎ าคม- ไทยเปนj ภาษาจีน ธันวาคม 2562. จินตนา แยMมละมุล,วรยศ ช่ืน วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรม ส บ าย (2564) ก ารพั ฒ น า ทMองถิ่น, ป7ที่ 7 ฉบับที่ 2. กุมภาพันธI พ.ศ. ความสามารถในการอPานป•าย 2564, หนMา 167-180 (TCI กลPุมท่ี 2) สั ญ ลั ก ษ ณI ภ า ษ า จี น ข อ ง นักศึกษาช้ันป7ที่ 2 สาขาวิชา ภ าษ าจีน โด ยใชMสื่อที่ เปj น ชุดฝšกภาษาจนี Miss Huang Wanting วรยศ ชื่นสบ าย วัชโรบ ล พระมหาสมัคร มหาวีโร (บรรณ าธิการ), ม า ก พั น ธI แ ล ะ Huang วารสารมนุษยศาสตรI (JOHU.MBU) คณะ Wanting (2562). มนุษยศาสตรI มหาวิทยาลัย มหามกุฏราช การศึกษาประเภทการแปลชื่อ วิท ยาลัย, ป7 ที่ 11 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎ าคม- อาหารไทยเปนj ภาษาจีน ธันวาคม 2562.
82 นายธีรวัฒน& ธีรวัฒนI การโสภา, ปานดวงใจ วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรม การโสภา บุญจนาวิโรจนI (2564) การ ทMองถน่ิ , ป7ท่ี 7ฉบบั ท2่ี , กมุ ภาพันธI 2564, พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิการใชM หนาM 227-239 (TCI กลุPมที่ 2) “几” และ “多少 ”ของนั กศึกษ าช้ัน ป7 ที่ 2 ส า ข า วิ ช า ภ า ษ า จี น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ นครราชสีมา โดยใชMชุดฝšก ทกั ษะ จิราพร ปาสาจะ,ธีรวัฒนI การ เอกสารประชมุ วิชาการและนำเสนอ โส ภ า (2560) “ก า ร ศึ ก ษ า ผลงานวิจัยระดบั ชาตคิ รั้งที่ 7 มหาวิทยาลยั ความหมายแฝงทางภาษาและ เพ่อื รบั ใชMสงั คม....พลังขับเคล่ือนประเทศไทยสPู ยุค 4.0 วัฒนธรรมของ “ไกP” ผPาน สำนวนสภุ าษิตจีน” ขอM มูล ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2564
Search