6. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื งานฝึกฝมี อื รหสั 2100-1003 หนว่ ยที่ 6 2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูแ้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยที่ 6 3. ใบงานที่ 6/เครอื่ งมือ วสั ดุอปุ กรณ์ในการปฏิบตั ิงาน 4. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลัย ศูนยว์ ทิ ยบรกิ าร ห้อง Internet 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 1. ผลการปฏิบัติตามใบงานที่ 6 งานขึ้นรูป (ค้อนเดนิ สายไฟ) 2. ผลจากการทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 6 3. ผลจากการทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 6 ประสาน คงจันทร์. (2556). งานฝกึ ฝมี ือ 1. นนทบรุ ี: ศูนยห์ นังสือเมืองไทย 8. การวัดผลและประเมินผล 8.1 เครื่องมอื ประเมิน กอ่ นเรยี น 1) ใชส้ มุดบันทกึ เวลาเรยี นฯ ขานชอื่ ผเู้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา 2) ใช้แบบสงั เกตความพร้อมในการเรยี น ประเมินความพร้อม เชน่ มเี ครอื่ งมอื หนังสอื สมดุ ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้ ขณะเรยี น 1) ใช้แบบสังเกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรับผดิ ชอบ ตอ่ การปฏบิ ัตงิ าน 8.2 เกณฑ์การประเมิน หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลังการเรยี นรผู้ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50% 2) ภาคปฏิบัติ ประเมนิ การฝกึ ปฏิบัติตามใบงานท่ี 6 ส่งงานตามขอ้ กาหนด 9. การขับเคลื่อนปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง สมรรถนะ น้อมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยบารุงรักษาอุปกรณ์ - วัสดุ จุดประสงคท์ ่ัวไป จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม/ ผลกระทบ พฤตกิ รรมบ่งชี้ สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดล้อม ประยุกตใ์ ชป้ รชั ญา 1.บารงุ รักษาอุปกรณ์ - วัสดุ ของเศรษฐกิจ 2.มคี วามอดทนในการ พอเพียงดา้ นมี ปฏิบตั งิ าน เหตผุ ลในการ 3.การเรียนรโู้ ดยใช้เง่อื นไข ดารงชวี ิต สุภาพและประหยัด
10. บนั ทึกหลงั การสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................... ......... ......................................................................................................................... .................................................... 10.2 ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... .................. 10.3 แนวทางการแก้ปัญหา ..................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ............................................... (นายชุติเทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ์) ครผู ูส้ อน
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 หน่วยท่ี 7 ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมือ รหัส 20100–1003 เวลาเรยี นรวม 108 คาบ ชอ่ื หน่วย งานเจาะ สอนสัปดาห์ท่ี 7/18 ช่อื เรอ่ื ง งานเจาะ จานวน 6 คาบ หัวข้อเรื่อง 7.1เคร่ืองเจาะ 7.2ชนดิ ของเครื่องเจาะ 7.3ดอกสวา่ น 7.4การจับชิ้นงานเจาะ 7.5การเลอื กใช้ความเร็วตัด 7.6การระวงั รกั ษาและความปลอดภัยในงานเจาะ - แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 7 - ใบงานท่ี 7 งานตกแต่งและประกอบช้นิ งาน 1. สาระสาคญั การประกอบช้ินส่วน เคร่ืองมือ ผลิตภัณฑ์ สะพาน งานโครงสร้างส่วนใหญ่มีชิ้นส่วนตั้งแต่ 2 ช้ิน ประกอบกัน โดยการย้าหมุด ยึดด้วยสกรู ยึดด้วยตะปูเกลียว แต่ก่อนท่ีจะประกอบกันจะต้องทาให้เป็นรู ด้วย การเจาะรู เคร่อื งจักรที่ใช้ในงาน ไดแ้ ก่ เครอ่ื งเจาะและเครอ่ื งมอื ที่ทาใหเ้ กิดรู คอื ดอกสวา่ น 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับงานเจาะ 2. ตกแต่งและประกอบช้นิ งานโลหะ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงค์ทวั่ ไป - ด้านความรู้ 1. อธิบายลักษณะของเครอ่ื งเจาะ 2. บอกชนิดของเคร่ืองเจาะ 3. เลือกขนาดและชนิดของดอกสวา่ นใหเ้ หมาะสมกับงาน 4. บอกวิธีการจับชน้ิ งานเจาะอย่างถกู ต้องและปลอดภยั 5. เลอื กใช้ความเร็วตัดทเี่ หมาะสม 6. อธบิ ายวิธกี ารระวังรกั ษาใหเ้ กิดความปลอดภยั ในงานเจาะ - ดา้ นทักษะ 1. ตะไบตกแต่งดา้ มค้อนเดินสายไฟ 2. ตะไบลิม่ 3. ประกอบด้ามค้อนเดนิ สายไฟ
4. ทาความสะอาดบรเิ วณพืน้ ท่ีปฏบิ ัติงาน 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม - ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินัย มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มคี วามซอ่ื สัตย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทด่ี ี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1เครื่องเจาะ เครื่องเจาะ (Drilling Machines) เปน็ เคร่ืองจกั รกลที่อาศัยแรงหมนุ จากมอเตอร์ไฟฟาู สง่ กาลงั ดว้ ยระบบสายพานหรือระบบเฟืองไปยงั แกนเพลา ซ่งึ ประกอบอยู่กับหวั จับดอกสว่าน ใชจ้ บั ยึดดอกสวา่ นโดย ดอกสวา่ นหมนุ รอบแกนเพ่ือใหค้ มตดั ของดอกสวา่ นตดั เฉือนเนอื้ วัสดุ เครอื่ งเจาะมีหลายชนดิ และหลายขนาด แต่ในงานฝกึ ฝมี ือนจ้ี ะขอกลา่ วถึงเครอ่ื งเจาะแบบต้ังโต๊ะและเคร่ืองเจาะแบบต้ังพื้น ซึ่งเหมาะสาหรับใชใ้ นการ เจาะ 4.2ชนิดของเครื่องเจาะ 4.2.1 เครื่องเจาะตัง้ โตะ๊ 4.2.2 เคร่อื งเจาะตัง้ พื้น 4.2.3 เครอ่ื งเจาะรศั มี 4.3ดอกสว่าน ดอกสว่านมีรูปรา่ งทรงกระบอกกลม มลี กั ษณะเปน็ คมเลอ้ื ย มีร่องสาหรับคายเศษ โลหะ ทาจากเหลก็ เป็นเครอ่ื งมือประเภทเหลก็ กลา้ คารบ์ อนและเหล็กผสมสงู ประกอบด้วยสว่ นสาคญั ดังนี้ กา้ น ลาตวั ปลายจิก หนา้ คมตดั ผวิ ฟรี คมขวาง สนั คมตดั ก่นั รอ่ งคายเศษ ลบั คมตดั ลกั ษณะรูปร่างและสว่ นตา่ ง ๆ ของดอกสวา่ น 4.4การจับชน้ิ งานเจาะ ในการเจาะรูชิ้นงานน้ัน ช้ินงานจะต้องถูกจับยึดให้ม่ันคง เพื่อให้ได้รูเจาะตรงตาแหน่งตาม ต้องการ และเป็นการปูองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงานเจาะรู ช้ินงานท่ีใช้ในการเจาะรูมีรูปร่าง ลักษณะต่างกนั ในการจับยึดชิน้ งานแต่ละรปู ร่าง จะมีเทคนคิ วธิ ีที่แตกต่างกันออกไป 4.4.1 งานรปู ร่างเป็นเหล่ียม 4.4.2 งานรูปร่างทรงกระบอก 4.5การเลอื กใช้ความเร็วตัด ในการเจาะรโู ดยทว่ั ไปตอ้ งคานึงถึงความเร็วตัด ความเร็วรอบ และการปูอนงาน ต้องมีความสัมพันธ์ กนั และต้องเลือกดอกสวา่ นรวมทัง้ วสั ดทุ จ่ี ะใชเ้ จาะรูให้เหมาะสม สตู รท่ีใชใ้ นการคานวณหาความเรว็ รอบมีดังนี้
สูตร ความเรว็ รอบ (N) = 1000ความเร็วตดั (V) ความโตดอกสวา่ น(D) 4.6การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในงานเจาะ 1. ขณะทาการเจาะอยา่ กดให้ดอกสวา่ นเลยลงไปถูกโต๊ะงาน ควรหาไม้หรือวัสดุอ่ืน ๆ มารองหรือ อาจเจาะใหต้ รงกบั รูของโต๊ะงานทมี่ ไี ว้ 2. อยา่ ใชแ้ กนหมนุ เป็นที่อดั หรอื กดช้ินงาน 3. ระวงั อย่าให้โตะ๊ งานเลื่อนตกลงมาขณะคลายตัวล็อก เพราะจะทาใหเ้ กิดการแตกหักได้ ฯลฯ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 7 คาบท่ี 37–42/108) ข้ันเตรยี ม 1. ครขู านชื่อผเู้ รียน 2. ครทู บทวนเน้ือหาและให้ข้อมลู ย้อนกลบั เก่ยี วกบั การลับดอกสวา่ น ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรยี น 3. ครใู หน้ ักเรียนทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยท่ี 7 4. ครตู ั้งคาถามเพอื่ นาเขา้ สู่บทเรียนเรือ่ ง งานเจาะ 5. นักเรียนตอบคาถามท่ีครถู าม ขนั้ เรยี นรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเน้อื หาเกย่ี วกับงานเจาะ 7. นักเรยี นจดบนั ทึกสาระสาคญั ทค่ี รูอธบิ าย 8. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 7 9. ครูสาธติ การเจาะและให้นกั เรียนปฏบิ ัติงานตามใบงานท่ี 7 ขัน้ สรปุ 10. ครูสรุปเนื้อหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และแนวทางการแก้ไขปัญหาทั้งทฤษฎีและปฏิบตั ิ 11. ครูใหน้ ักเรยี นทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 7 6. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สืองานฝึกฝีมือ รหสั 2100-1003 หน่วยที่ 7 2. แบบประเมินผลการเรยี นรู้และแบบประเมินพฤติกรรม หนว่ ยที่ 7 3. ใบงานที่ 7/เครอื่ งมอื วสั ดุอุปกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน 4. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลยั ศูนยว์ ทิ ยบริการ ห้อง Internet 7. หลักฐานการเรยี นรู้ ผลการปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ 7 การทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 7 และจากการทดสอบหลังเรียน ประสาน คงจันทร.์ (2556). งานฝกึ ฝมี อื 1. นนทบรุ ี: ศูนยห์ นังสอื เมืองไทย. 8. การวัดผลและประเมินผล 8.1 เคร่ืองมือประเมนิ ก่อนเรยี น 1) ใชส้ มดุ บนั ทึกเวลาเรียนฯ ขานชื่อผเู้ รยี นและตรวจการตรงตอ่ เวลา 2) ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรยี น ประเมนิ ความพร้อม เช่น มหี นงั สือ สมุด
ปากกา การแตง่ กาย เปน็ ตน้ ขณะเรยี น 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผดิ ชอบ ต่อการปฏบิ ัตงิ าน 8.2 เกณฑก์ ารประเมนิ หลังเรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรผู้ า่ นเกณฑ์การประเมิน 50% 2) ภาคปฏบิ ัติ ประเมนิ การฝึกปฏิบัตติ ามใบงานที่ 7 ส่งงานตามขอ้ กาหนด 9. การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สมรรถนะ นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารงุ รักษาอุปกรณ์ - วัสดุหลักความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน จดุ ประสงคท์ ั่วไป จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งช้ี สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดล้อม ประยกุ ต์ใชป้ รัชญา 1.บารงุ รักษาอุปกรณ์ - วัสดุ ของเศรษฐกจิ หลักความปลอดภัยในการ พอเพยี งด้านมี ปฏิบตั งิ าน เหตผุ ลในการ 2.มีความอดทนในการ ดารงชวี ติ ปฏิบตั ิงาน 3.การเรียนร้โู ดยใชเ้ งื่อนไข สภุ าพและประหยัด
10. บันทกึ หลงั การสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... ....................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ......................................................... .................................................................................................................. .. 10.2 ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่พี บ .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 10.3 แนวทางการแก้ปัญหา .................................................................................................................................................................. ............ ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ............................................... (นายชุตเิ ทพ มาดีตีระเทวาพงษ์) ครผู ูส้ อน
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 หน่วยที่ 8 ช่ือวิชา งานฝึกฝีมอื รหัส 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ช่อื หน่วย งานเลอื่ ยและงานสกดั สอนสัปดาหท์ ่ี 8/18 ชอื่ เรอ่ื ง งานเลอ่ื ยและงานสกัด จานวน 6 คาบ หัวข้อเรอื่ ง 8.1งานเลื่อย 8.2การเลือกใช้ใบเลือ่ ย 8.3การประกอบใบเลื่อย 8.4การปฏิบตั ิงานเลื่อย 8.5งานสกดั - แบบฝึกหดั หน่วยที่ 8 - ใบงานที่ 8 งานตะไบปรบั ผิวซีแคลมป์ 1. สาระสาคัญ งานเล่ือยและงานสกัดเป็นงานท่ีสาคัญอีกงานหน่ึง เน่ืองจากการทาผลิตภัณฑ์ในแต่ละชิ้นน้ันจะต้องมี การนาวัตถุดิบมาทาให้มีขนาดใกล้เคียงกับขนาดท่ีต้องการและนาไปขึ้นรูปต่อไป ซ่ึงจะต้องทางานได้รวดเร็ว และสูญเสียวัสดุน้อยที่สดุ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับงานเลอื่ ยและงานสกัด 2. ปรับผิวช้นิ งานโลหะตามแบบ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป - ดา้ นความรู้ 1. บอกลักษณะงานเลอ่ื ย 2. เลอื กใชใ้ บเลื่อยตามชนดิ ของวสั ดุ 3. อธิบายการประกอบใบเล่ือย 4. บอกลกั ษณะงานสกดั - ด้านทักษะ 1. เตรียมชน้ิ งานตะไบ 2. ตะไบปรบั ผิวชิ้นงานซแี คลมป์ 3. ปฏบิ ัติงานตะไบอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย 4. ตรวจสอบผิวงานและความฉาก 5. ทาความสะอาดบรเิ วณพนื้ ที่ปฏบิ ัติงาน 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตรงตอ่ เวลา มวี นิ ัย มคี วามรบั ผิดชอบ ละเอียดรอบคอบ สนใจใฝุรู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มีเหตุผล ประหยัด และปฏิบตั ิตนในแนวทางทีด่ ี 4. สาระการเรียนรู้
4.1งานเล่อื ย งานเล่ือย (Sawing) คือ การใช้เคร่ืองมือสาหรับตัดโลหะ ท่ีมีคมเล็ก ๆ คล้ายคมลิ่มเรียงตัวซ้อน กันเป็นแถว ไปตามความยาวของใบเลื่อย เพ่ือตัดเฉือนเน้ือวัสดุให้ขาดออกจากกัน และนาไปข้ึนรูปให้เป็น ผลิตภัณฑ์ตอ่ ไป สว่ นประกอบของเลื่อย จะประกอบดว้ ยส่วนสาคญั ดงั นี้ 4.1.1 โครงเล่ือย (Frame) 4.1.2 ใบเลอ่ื ย (Blade) 4.1.3 ฟนั เล่อื ย 4.2การเลอื กใช้ใบเลอ่ื ย 1. ชิ้นงานที่มีความกว้างหรือช่วงตัดหนา ให้เลือกใบเลื่อยชนิดฟันหยาบส่วนชิ้นงานบาง ๆ ใหเ้ ลอื กใช้ชนดิ ฟันละเอียด 2. ชิ้นงานทเ่ี ปน็ วัสดุออ่ น ให้ใช้ใบเลือ่ ยชนิดฟันหยาบ 3. ชนิ้ งานที่เป็นวัสดแุ ขง็ ควรเลอื กใช้ชนดิ ฟันละเอียด 4.3การประกอบใบเล่ือย การใชเ้ ลอ่ื ยมือ มีความจาเป็นจะตอ้ งทราบถึงวธิ กี ารใส่ใบเล่ือยเขา้ กบั โครงเลอื่ ยอย่างถูกต้อง เพราะขนาดของฟันเล่อื ยจะต้องเหมาะสมกับวสั ดงุ าน เมือ่ นาใบเลอ่ื ยมาใส่กบั โครงเลื่อยแลว้ ตอ้ งขันใหต้ ึงพอดี และขนาดความยาวของใบเล่ือย กค็ วรต้องปรบั ให้พอดีกบั โครงเล่อื ยเช่นเดียวกนั 4.4การปฏบิ ัติงานเลอ่ื ย การปฏบิ ตั ิการเล่อื ยเพอื่ ตัดชิ้นงานใหม้ รี ูปรา่ งและขนาดตามความตอ้ งการน้ัน ตอ้ งมีเทคนิควิธีการ ที่ควรต้องศึกษาขนั้ ตอนต่าง ๆ เพอ่ื ให้สามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ี 1. ก่อนลงมอื เล่อื ยงานจะต้องทาการรา่ งแบบหรือขีดหมายแนวเลอื่ ย 2. จบั ยดึ ช้นิ งานดว้ ยปากกาจบั งาน โดยให้แนวท่ีจะเล่ือยอยู่ในแนวด่ิงและใกล้กับปากของปากกา มากทส่ี ดุ ถ้าช้ินงานเปน็ แผ่นบาง ๆ ควรใชแ้ ผ่นไม้ประกบชิ้นงานกอ่ นทาการเลอ่ื ย 3. ใช้ตะไบสามเหล่ียมตะไบเส้นแนวเลื่อย เพ่ือบากคลองเลื่อยให้เป็นร่อง เป็นการบังคับไม่ให้ ใบเลอ่ื ยลื่นไถลออกจากเส้นรา่ งแบบ 4. ออกแรงกดเบา ๆ เม่ือเริ่มเคลื่อนใบเลื่อยไปข้างหน้า และตั้งมุมเลื่อยไปข้างหน้ามุมยกขึ้น ประมาณ 10 องศากบั แนวระดบั 5. ใช้ความเร็วในการเล่อื ยประมาณ 30–40 คร้ัง/นาที และไมต่ ้องออกแรงกดขณะดึงเลือ่ ยกลับ 6. เม่ือชนิ้ งานใกลจ้ ะขาดจากกนั ใหล้ ดแรงกดและความเรว็ ในการเล่อื ยลง 7. เม่ือเลิกการใช้งานเลอื่ ย ให้คลายนอตหางปลาปรับใบเลื่อยใหห้ ย่อน 4.5งานสกดั สกัดเป็นเครื่องมือมีคม ใช้ในการข้ึนรูปงานด้วยวิธีการตัดเฉือนเน้ือวัสดุใช้งานได้สองลักษณะ คือ ลาตัวสกัดทามุมตั้งฉากกับชิ้นงานคมสกัดจะตัดเฉือนเนื้อวัสดุให้ขาดออกจากกัน และถ้าลาตัวสกัดเอียงทามุม แทรกกบั งานประมาณ 30 – 40 องศา คมสกัดจะตัดเฉือนเนื้อวสั ดใุ นลกั ษณะถากเพอ่ื ลดขนาดเซาะร่อง
ส่วนประกอบของสกัด 4.5.1 ส่วนประกอบของสกดั 4.5.2 ชนดิ ของสกัด 4.5.3 วธิ ีการสกดั 4.5.4 การบารุงรักษาสกัด 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 8 คาบที่ 43–48/108) ขนั้ เตรยี ม 1. ครขู านช่อื ผเู้ รยี น 2. ครทู บทวนเนื้อหาที่เรียนผ่านมาและใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั เกย่ี วกับงานเจาะ ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรยี น 3. ครใู ห้นกั เรียนทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยท่ี 8 4. ครูตัง้ คาถามเพ่ือนาเข้าส่บู ทเรยี นเร่ือง งานเล่ือยและงานสกดั 5. นักเรยี นตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเนื้อหาเก่ยี วกบั งานเลอ่ื ยและงานสกดั 7. นักเรียนจดบันทกึ สาระสาคญั ทีค่ รูอธิบาย 8. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 8 9. ครูสาธติ การตะไบปรบั ผิวซแี คลมป์และให้นักเรยี นปฏบิ ัติงานตามใบงานท่ี 8 ขั้นสรปุ 10. ครูสรุปเนื้อหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และแนวทางการแก้ไขปญั หาท้งั ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ 11. ครูให้นกั เรยี นทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 8 6. สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสืองานฝึกฝมี ือ รหัส 2100-1003 หนว่ ยท่ี 8 2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยท่ี 8 3. ใบงานท่ี 8/เคร่ืองมอื วัสดุอุปกรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. ห้องสมุดวทิ ยาลัย ศูนยว์ ิทยบรกิ าร หอ้ ง Internet 7. หลักฐานการเรยี นรู้ ผลการปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 8 การทาแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 8 และจากการทดสอบหลังเรียน ประสาน คงจันทร์. (2556). งานฝกึ ฝีมอื 1. นนทบรุ ี: ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เครื่องมือประเมนิ ก่อนเรียน 1) ใชส้ มุดบันทึกเวลาเรียนฯ ขานชื่อผู้เรียนและตรวจการตรงต่อเวลา 2) ใช้แบบสงั เกตความพร้อมในการเรยี น ประเมินความพรอ้ ม เช่น มหี นังสอื สมดุ ปากกา การแต่งกาย เป็นต้น ขณะเรียน 1) ใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรม สังเกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝรุ ู้ ความรับผิดชอบ ต่อการปฏิบตั ิงาน
8.2 เกณฑก์ ารประเมิน หลังเรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรยี นรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50% 2) ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมนิ การฝึกปฏิบัติตามใบงานท่ี 8 ส่งงานตามขอ้ กาหนด 9. การขับเคลอื่ นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สมรรถนะ นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยบารุงรกั ษาอุปกรณ์ - วสั ดุ จุดประสงคท์ ั่วไป จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม/ ผลกระทบ พฤตกิ รรมบ่งช้ี สังคม เศรษฐกจิ วฒั นธรรม สง่ิ แวดล้อม ประยุกต์ใช้ปรชั ญา 1.บารุงรกั ษาอปุ กรณ์ - วัสดุ ของเศรษฐกจิ 2.มีความอดทนในการ พอเพยี งด้านมี ปฏบิ ัติงาน เหตุผลในการ 3.การเรยี นรู้โดยใช้เงือ่ นไข ดารงชีวติ สุภาพและประหยัด
10. บนั ทกึ หลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ....................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่พี บ ....................................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ 10.3 แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ............................................... (นายชุติเทพ มาดีตีระเทวาพงษ์) ครูผสู้ อน
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 9 หนว่ ยท่ี 9 ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมือ รหสั 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย งานตกแตง่ และประกอบ สอนสัปดาห์ที่ 9/18 ช่ือเรอื่ ง งานตกแต่งและประกอบ จานวน 6 คาบ หวั ข้อเรอื่ ง 9.1 งานประกอบมีลกั ษณะการสวม 9.2 การประกอบชนิ้ ส่วนให้เปน็ ผลิตภัณฑ์ - แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 9 - ใบงานที่ 9 งานตะไบปรบั ขนาด 1. สาระสาคัญ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดมีส่วนประกอบไม่เท่ากัน บางชนิดมีเพียงช้ินเดียว บางชนิดมีส่วนประกอบตั้งแต่ สองชิ้นขึ้นไป ดังนั้นการอ่านภาพประกอบและการปรับผิวงานประกอบ เป็นสิ่งสาคัญท่ีนักเรียนจะต้องศึกษา และฝึกทักษะการตะไบปรบั ผิวงานประกอบ เพอ่ื ใหไ้ ด้ผวิ งานท่เี รียบ ไดฉ้ าก และไดข้ นาดทก่ี าหนด 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั งานตกแตง่ และประกอบช้ินสว่ น 2. ปรับขนาดชน้ิ งานโลหะตามแบบ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป - ด้านความรู้ 1. อธบิ ายงานประกอบลักษณะการสวม 2. อธบิ ายข้ันตอนการประกอบช้นิ ส่วนใหเ้ ปน็ ผลติ ภัณฑ์ 3. อธิบายวิธกี ารตรวจสอบช้ินงานสาเร็จ - ด้านทกั ษะ 1. ตะไบปรับขนาดช้นิ งานซแี คลมป์ 2. ปฏบิ ตั ิงานตะไบได้อยา่ งถูกต้องและปลอดภัย 3. ตรวจสอบผวิ งาน ความฉาก และขนาดตามท่ีกาหนด 4. ทาความสะอาดบรเิ วณพื้นทป่ี ฏิบตั งิ าน 3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝุรู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มเี หตุผล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางทีด่ ี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 งานประกอบมีลักษณะการสวม
ในการประกอบงานเป็นลักษณะงานสวม มีความจาเป็นที่จะต้องปรับงานประกอบเป็น ชุด โดยคานึงถึงค่าพิกัดความเผื่อของช้ินส่วนต่าง ๆ เพ่ือการปรับเข้าหากันทีละชุดไม่ให้มีปัญหายุ่งยากภายหลังที่ ชิน้ ส่วนชารุดเสยี หายหรือสึกหรอ และทาการเปลี่ยนช้ินส่วนที่ชารุดเสียหายได้ไม่ยุ่งยากเสียเวลา ดังนั้นในการ ผลิตชิ้นส่วนแม้จะยินยอมให้มีการผิดพลาดได้บ้าง แต่ต้องอยู่ในระยะท่ียังใช้งานได้ ซ่ึงค่าผิดพลาดนี้เรียกว่า “คา่ พิกัดความเผอ่ื ” น่นั เอง ตามมาตรฐานสากลของสมาคมประเทศอุตสาหกรรมทั่วโลก ได้กาหนดมาตรฐานของงาน สวมประกอบไวด้ งั น้ี 4.1.1 คานยิ ามของงานสวมประกอบ 1. เพลา คอื ชิน้ ส่วนมีรปู ร่างกลมยาวทกุ ชนิดซ่ึงสวมอยใู่ นรูคว้าน 2. ขนาดกาหนด คอื ขนาดของช้ินงานท่ีกาหนดในแบบงานและสาหรบั ใช้ในการคานวณ 3. พิกัดความเผ่ือ คือ ค่าความคลาดเคลื่อนของชิ้นงาน ซ่ึงเกิดจากการกระทาที่ยอมให้ได้ แตค่ า่ ต้องอยภู่ ายใตพ้ กิ ัดตามคณุ ภาพและมาตรฐานของงาน โดยคา่ น้มี สี องขนาด คอื ขนาดเล็กสดุ และโตสุด 4.1.2 ชนิดของงานสวมประกอบ ในงานสวมประกอบมีความจาเป็นในการประกอบชิ้นงานในลักษณะงานสวมที่แตกต่างกัน ออกไป เพ่ือใหง้ านมคี วามเหมาะสมของระยะคลอน ระยะอัด และระยะพอดี งานสวมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ งานสวมอดั งานสวมพอดแี ละงานสวมคลอน 4.2 การประกอบช้นิ ส่วนให้เปน็ ผลิตภัณฑ์ 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 9 คาบท่ี 49–54/108) ขน้ั เตรยี ม 1. ครขู านช่ือผูเ้ รียน 2. ครูทบทวนเนื้อหาทเ่ี รยี นผ่านมาและใหข้ อ้ มลู ย้อนกลบั เกี่ยวกับงานเล่อื ยและงานสกัด ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น 3. ครใู หน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรยี น หน่วยท่ี 9 4. ครตู ั้งคาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรยี นเรอ่ื ง การประกอบช้ินสว่ นใหเ้ ปน็ ผลิตภณั ฑ์ 5. นกั เรียนตอบคาถามท่คี รถู าม ขนั้ เรียนรู้ 6. ครอู ธิบาย ถาม-ตอบเนือ้ หาเกยี่ วกับงานตกแต่งและประกอบชน้ิ ส่วน 7. นกั เรียนจดบนั ทกึ สาระสาคัญทค่ี รอู ธิบาย 8. ครใู ห้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 9 9. ครสู าธิตการตะไบปรับขนาดและใหน้ ักเรียนปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 9 ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดข้ึน และแนวทางการแกไ้ ขปญั หาทงั้ ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ 11. ครใู หน้ ักเรียนทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 9 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสืองานฝกึ ฝีมอื รหัส 2100-1003 หนว่ ยท่ี 9 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรแู้ ละแบบประเมินพฤติกรรม หนว่ ยท่ี 9 3. ใบงานที่ 9/เครือ่ งมอื วัสดุอปุ กรณ์ในการปฏิบัตงิ าน 4. หอ้ งสมุดวิทยาลัย ศูนย์วิทยบรกิ าร ห้อง Internet
7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ผลการปฏบิ ตั ติ ามใบงานท่ี 9 การทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 9 และจากการทดสอบหลงั เรยี น ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝกึ ฝมี อื 1. นนทบุรี: ศูนย์หนงั สือเมืองไทย 8. การวัดผลและประเมนิ ผล 8.1 เคร่ืองมือประเมนิ กอ่ นเรยี น 1) ใชส้ มุดบนั ทึกเวลาเรยี นฯ ขานชื่อผ้เู รยี นและตรวจการตรงต่อเวลา 2) ใช้แบบสังเกตความพร้อมในการเรยี น ประเมินความพรอ้ ม เช่น มหี นังสือ สมดุ ปากกา การแต่งกาย เปน็ ต้น ขณะเรยี น 1) ใช้แบบสงั เกตพฤติกรรม สังเกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ ต่อการปฏิบัตงิ าน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลังการเรียนรผู้ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50% 2) ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมนิ การฝึกปฏิบตั ิตามใบงานที่ 9 ส่งงานตามข้อกาหนด 9. การขบั เคล่ือนปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สมรรถนะ น้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารุงรักษาอุปกรณ์ - วัสดุ จดุ ประสงคท์ ่ัวไป จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม/ ผลกระทบ พฤตกิ รรมบ่งชี้ สงั คม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ประยุกตใ์ ชป้ รัชญา 1.บารงุ รกั ษาอุปกรณ์ - วัสดุ ของเศรษฐกิจ 2.มีความอดทนในการ พอเพียงด้านมี ปฏบิ ตั ิงาน เหตุผลในการ 3.การเรียนรโู้ ดยใชเ้ งอ่ื นไข ดารงชีวิต สุภาพและประหยัด
10. บันทึกหลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................... ................................................................................................... ...... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................... ............................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................ ........................................................................................... .................. 10.3 แนวทางการแก้ปญั หา ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................. ................................ ลงชือ่ ............................................... (นายชตุ เิ ทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ์) ครูผู้สอน
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10 หนว่ ยที่ 10 ช่อื วิชา งานฝกึ ฝีมอื รหสั 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชือ่ หน่วย งานทาเกลียว สอนสปั ดาห์ที่ 10/18 ชอ่ื เร่ือง งานทาเกลยี ว จานวน 6 คาบ หัวข้อเร่ือง 10.1 ชนดิ งานทาเกลยี ว 10.2 การทาเกลียวด้วยมอื 10.3 เคร่อื งมือทาเกลียว 10.4 การทาเกลยี วนอก 10.5 การทาเกลียวใน - แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 10 - ใบงานที่ 10 งานร่างแบบ เจาะ เลอ่ื ยและสกดั 1. สาระสาคัญ การทาเกลียวด้วยมือ เป็นการตัดเกลียวขึ้นงานท่ีเป็นรูปทรงกระบอกทาให้เกิดร่องลาดเอียงมีความลึก สม่าเสมอ พันไปรอบแท่งทรงกระบอก ซ่ึงร่องท่ีเกิดข้ึนเรียกว่า เกลียว ร่องเกลียวที่เกิดข้ึนภายนอกแท่ง ทรงกระบอกเรียกว่า เกลียวนอก ส่วนร่องเกลียวที่เกิดขึ้นภายในรูปทรงกระบอกเรียกว่า เกลียวใน การทา เกลียวนอกและเกลียวในนีเ้ พ่อื ใช้สาหรับยึดชน้ิ งานสองชนิ้ ใหต้ ิดกนั 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั งานทาเกลยี ว 2. รา่ งแบบ เจาะ เลื่อยและสกัดชิ้นงานโลหะตามแบบ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป - ด้านความรู้ 1. อธบิ ายลักษณะชนดิ ของงานทาเกลยี ว 2. บอกวธิ ีการทาเกลียวด้วยมือ 3. อธบิ ายวิธกี ารใช้เคร่ืองมือทาเกลยี ว 4. อธิบายขั้นตอนการทาเกลียวนอก 5. อธบิ ายข้ันตอนการทาเกลียวใน - ด้านทักษะ 1. รา่ งแบบและนาศูนย์ 2. เจาะรตู ามตาแหน่งท่กี าหนด 3. เล่ือยชน้ิ งานซแี คลมป์ 4. สกัดช้นิ งานซีแคลมป์ 5. ปฏิบตั ิงานอย่างปลอดภยั
6. ทาความสะอาดบรเิ วณพ้นื ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม - ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงตอ่ เวลา มวี นิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ สนใจใฝุรู้ มีความซ่อื สตั ย์ มีเหตุผล ประหยัด และปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทด่ี ี 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ชนิดงานทาเกลียว เกลียวโดยทั่วไปแบ่งออกเป็นเกลียวนอกและเกลียวใน ซ่ึงจะต้องทาเกลียวด้วยมือ ส่วนการทา เกลียวด้วยเครื่องมือกลและการขึ้นรูปเกลียวด้วยวิธีการต่าง ๆ น้ัน สามารถทาเกลียวได้คือ การรีด อัด เกลียว การตัดเกลยี วดว้ ยเคร่อื งกดั การกลึงเกลียวด้วยเครอื่ งกลึง การหลอ่ เกลยี วและการทาเกลียวด้วยมือ 4.2 การทาเกลยี วด้วยมอื การทาเกลียวเพ่อื นามาใชง้ านน้ัน สามารถทาได้หลายวิธี แต่ในที่น้ีจะกล่าวถึงการทาเกลียวด้วย มือ เป็นวิธีที่ทาเกลียวได้ง่าย รวดเร็ว ซึ่งแบ่งได้ 2 แบบ คือ การทาเกลียวใน เป็นการทาให้เกิดร่องเกลียว ภายในรกู ลมและการทาเกลียวนอก เปน็ การทาให้เกิดร่องเกลียวข้ึนบนผิวนอกแท่งทรงกระบอก 4.3 เครอื่ งมือทาเกลียว 1. เคร่อื งมือสาหรบั ใช้ทาเกลียวใน (Tap) ซึ่งปกติ 1 ชุด จะประกอบดว้ ยดอกต๊าป 3 ตวั 2. เคร่อื งมือสาหรบั ใช้ทาเกลียวนอก (Die) ซึง่ ปกติในแตล่ ะขนาดเกลยี วจะมี 1 ตัว 4.4 การทาเกลยี วนอก ดาย (Die) เปน็ เครือ่ งมือที่ใช้สาหรับทาเกลียวนอก มีลักษณะกลมหรือเป็นแท่งเหล่ียม มีรูอยู่ตรง กลางมีร่องเกลียวเป็นคมตัด สามารถตัดหรือทาเกลียวบนชิ้นงานกลม มี 2 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะกลม และ ลกั ษณะเหลย่ี ม ซง่ึ เครือ่ งมือทาเกลียวนอกนี้ มี 2 แบบ คือ 10.4.1 แบบตายตัวหรอื แบบไม่ 10.4.2 แบบปรบั ไดห้ รอื แบบผ่า 10.4.3 วธิ ีการทาเกลยี วนอก 4.5 การทาเกลยี วใน ต๊าป (Tap) เป็นเครื่องมือสาหรับทาเกลียวใน ทาด้วยเหล็กเครื่องมือคุณภาพสูง รูปร่างเป็นแท่ง กลมมฟี ันเกลยี วรอบตัว และรอบตัวจะมีร่องอยปู่ ระมาณ 3 – 4 รอ่ ง ใชส้ าหรับคายเศษโลหะ ท่ีร่องเกลียวจะมี มุมตัด เพ่ือใช้ตัดโลหะให้เกิดเป็นเกลียวตามท่ีต้องการ ท่ีปลายอีกด้านหนึ่งจะเป็นส่ีเหล่ียมสาหรับจับด้วย ด้ามตา๊ ปเพ่อื หมุนตา๊ ปเกลยี ว ตา๊ ป 1 ชดุ จะมดี ้วยกนั 3 ดอก ได้แก่ ต๊าปตวั นา ต๊าปตัวตาม ต๊าปตวั สุดท้าย ลกั ษณะของดอกตา๊ ปทงั้ 3 ดอก
4.5.1 ดา้ มจับต๊าป ในการทาเกลียวในจะต้องใชด้ า้ มต๊าปเพื่อจบั ดอกตา๊ ปและหมุนดอกต๊าปให้เฉือนกินงาน เพ่ือได้เกลยี ว ด้ามจับตา๊ ปทีใ่ ช้ทว่ั ไปมี 2 แบบ ได้แก่ ด้ามจับต๊าปสาหรับจับดอกต๊าปขนาดเล็กในการทาเกลียว ในท่ีมขี นาดเลก็ และด้ามจบั ตา๊ ปแบบธรรมดา ใช้สาหรับจบั ดอกต๊าป ต้งั แต่ขนาดเลก็ จนถงึ ขนาดใหญ่ ลักษณะของด้ามจบั ต๊าปแบบตา่ ง ๆ 4.5.2 วธิ กี ารตัดเกลยี วใน 4.5.3 ขอ้ ควรปฏิบัติ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 10 คาบที่ 55–60/108) ขั้นเตรียม 1. ครขู านช่ือผเู้ รียน 2. ครทู บทวนเน้ือหาทเี่ รียนผ่านมาและใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั เกย่ี วกับงานตกแตง่ และประกอบ ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น 3. ครูให้นกั เรียนทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยที่ 10 4. ครตู ง้ั คาถามเพอ่ื นาเข้าสบู่ ทเรียนเรือ่ ง งานทาเกลียว ขัน้ เรยี นรู้ 5. ครูอธบิ าย ถาม-ตอบเน้ือหาเกี่ยวกบั งานทาเกลยี ว 6. นักเรยี นจดบนั ทกึ สาระสาคัญที่ครอู ธบิ าย 7. ครูให้นักเรียนทาแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 10 8. ครูสาธติ การรา่ งแบบ เจาะ เลอ่ื ยและสกดั ช้นิ งานโลหะและใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัตงิ าน ข้นั สรปุ 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และแนวทางการแก้ไขปญั หาท้งั ทฤษฎีและปฏิบตั แิ ละใหน้ ักเรียนทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 10 6. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื งานฝึกฝีมือ รหสั 2100-1003 หนว่ ยที่ 10 2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หนว่ ยท่ี 10 3. ใบงานที่ 10/เคร่ืองมือ วัสดอุ ปุ กรณ์ในการปฏบิ ัตงิ าน 4. ห้องสมดุ วิทยาลัย ศนู ยว์ ทิ ยบริการ ห้อง Internet 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เคร่ืองมือประเมิน กอ่ นเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานชื่อผเู้ รยี นและตรวจการตรงต่อเวลา
2) ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมินความพร้อม เชน่ มหี นังสือ สมดุ ปากกา การแตง่ กาย เปน็ ต้น ขณะเรยี น 1) ใช้แบบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ ตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ หลงั เรยี น 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรียนรู้ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ 50% 2) ภาคปฏิบตั ิ ประเมนิ การฝกึ ปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 10 สง่ งานตามข้อกาหนด 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ ผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 10 การทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 10 และจากการทดสอบหลงั เรียน ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝกึ ฝมี อื 1. นนทบุรี: ศนู ย์หนังสือเมืองไทย 8. การวดั ผลและประเมินผล 8.1 เคร่อื งมือประเมิน กอ่ นเรียน 1) ใชส้ มดุ บันทึกเวลาเรียนฯ ขานช่ือผ้เู รยี นและตรวจการตรงตอ่ เวลา 2) ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมนิ ความพร้อม เชน่ มีหนงั สือ สมุด ปากกา การแตง่ กาย เป็นต้น ขณะเรยี น 1) ใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝรุ ู้ ความรบั ผดิ ชอบ ต่อการปฏิบัติงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรยี นรผู้ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 50% 2) ภาคปฏบิ ัติ ประเมนิ การฝกึ ปฏิบัตติ ามใบงานที่ 10 สง่ งานตามขอ้ กาหนด 9. การขับเคลือ่ นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สมรรถนะ นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารุงรักษาอุปกรณ์ - วสั ดุ จดุ ประสงค์ทั่วไป จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งช้ี สงั คม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม สง่ิ แวดล้อม ประยกุ ต์ใช้ปรชั ญา 1.บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ - วัสดุ ของเศรษฐกิจ 2.มีความอดทนในการ พอเพียงดา้ นมี ปฏิบตั ิงาน เหตุผลในการ 3.การเรยี นร้โู ดยใชเ้ ง่ือนไข ดารงชีวิต สภุ าพและประหยัด
10. บนั ทึกหลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ .......................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ 10.2 ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ .......................................................................................................................................... .................................... ............................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 10.3 แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ...................................................... ลงชือ่ ............................................... (นายชุติเทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ์) ครูผู้สอน
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 หน่วยที่ 11 ช่ือวิชา งานฝึกฝีมอื รหสั 20100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย งานหลอ่ เบื้องต้นสอน สัปดาหท์ ่ี 11/18 ช่อื เรอ่ื ง งานหล่อเบอ้ื งต้น จานวน 6 คาบ หัวข้อเรอ่ื ง 11.1 หลกั การของการหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหล่อ 11.2 เครื่องมือและอปุ กรณ์พนื้ ฐาน 11.3 กระสวน 11.4 ระบบจ่ายนา้ โลหะ 11.5 การหลอ่ โดยใชท้ รายทาแบบหล่อ - แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 11 - ใบงานท่ี 11 งานข้ึนรปู และเจาะรู 1. สาระสาคญั การหล่อ (Casting) คือ การข้ึนรูปโลหะโดยนาโลหะมาหลอมเหลว แล้วเทหรือฉีดเข้าสู่แบบหล่อ (Mould) หรือแม่พิมพ์ (Die) เมื่อโลหะแข็งตัวก็จะได้ชิ้นงานที่มีรูปร่างตามต้องการ กรรมวิธีการหล่อน้ัน มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและท่ีนิยมใช้กันในปัจจุบันมีอยู่หลายวิธี เช่น การหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหล่อ (Sand Casting) การหล่อโดยใช้โลหะทนความร้อนในการทาแบบหล่อ (Gravity Die Casting) การหล่อโดยใช้แบบ หล่อที่ทาด้วยโลหะและมีการใช้ความดันช่วยในการฉีดโลหะหลอมเหลวให้ไหลเข้าไปแบบ (High Pressure Die Casting) เปน็ ต้น 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความร้เู กีย่ วกบั งานหลอ่ เบ้อื งต้น 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงค์ท่วั ไป - ดา้ นความรู้ 1. อธบิ ายหลักการของการหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหลอ่ 2. บอกชอื่ และหน้าท่ีของเครือ่ งมือและอุปกรณใ์ นการทาแบบหลอ่ ทราย 3. อธิบายคณุ ลักษณะของกระสวน 4. อธบิ ายขอ้ แตกตา่ งของกระสวนแบบช้ินเดยี วและกระสวนแยกชน้ิ 5. อธบิ ายสว่ นประกอบของระบบจ่ายน้าโลหะ 6. อธิบายขน้ั ตอนการหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหลอ่ - ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตรงตอ่ เวลา มีวินยั มคี วามรบั ผิดชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝรุ ู้ มีความซ่ือสตั ย์ มเี หตุผล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางทด่ี ี
4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 หลกั การของการหล่อโดยใชท้ รายทาแบบหล่อ การหล่อโดยใชท้ รายทาแบบหล่อ เป็นกรรมวธิ ขี นึ้ รูปช้ินงานโดยนาชิ้นงานจริงมาทาแบบจาลอง หรอื กระสวน กระสวนนีจ้ ะนามาฝังลงในทรายหล่อแล้วอัดให้แน่น จากนั้นก็ดึงแบบจาลองน้ีออกจากทรายซึ่งก็ จะทาให้เกดิ เป็นโพรงหรือชอ่ งว่างขนึ้ แลว้ ก็ระบบการไหลของนา้ โลหะบน ทรายหล่อน้นั เมื่อทาการเทน้าโลหะลงแบบหล่อ น้าโลหะจะถูกเทลงท่ีแอ่งเทแล้วไหลลงรูเทต่อไปยังทางเดินท่ี ออกแบบเพ่ือให้เกดิ การเตมิ เตม็ ของนา้ โลหะเขา้ สู่แมพ่ ิมพ์ไดร้ วดเรว็ ท่สี ดุ ก่อนทีน่ า้ โลหะเกิดการแข็งตัว โดยน้า โลหะจะไหลเข้าส่ทู างเข้า ก่อนเตมิ เข้าสโู่ พรงหรอื ชอ่ งวา่ งภายในซง่ึ ก็คอื ช้ินงานที่ต้องการ เม่ือน้า โลหะ เติมเต็ม ช่องว่างดงั กล่าวแล้วกจ็ ะไหลเอ่อขึ้นดา้ นบนไปยงั รลู น้ ซงึ่ สร้างไว้ให้น้าโลหะสามารถไหลเข้า ไปเติมเต็มช่องว่าง ภายในไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ เพราะนา้ โลหะจะหดตัวไดข้ ณะเริ่มแขง็ ตวั เมือ่ น้าโลหะแข็งตัว ภายในโพรงแล้วก็รื้อเอา ทรายออกกจ็ ะไดช้ น้ิ งานหลอ่ ท่มี ีขนาดใกลเ้ คียงกับแบบจาลองหรือกระสวนนน้ั เบา้ เท แอง่ เท รูเท รูลน้ หีบบน ทางวงิ่ โพรงแบบ บอ่ พกั นา้ โลหะ ทางเขา้ กระดานรองหบี ทรายหลอ่ หีบลา่ ง ไสแ้ บบ 4.2 เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์พื้นฐาน เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์พน้ื ฐานทีม่ คี วามจาเป็นสาหรับการทาแบบหล่อทรายช้ืน แสดงดังตัวอย่าง ในรูป
ก) ข) ค) ง) จ) ฉ) ช) ซ) ฌ) เครื่องมือและอุปกรณ์พ้ืนฐานในการทาแบบหล่อทรายชื้น ประกอบด้วย ก) ตะแกรงร่อนทราย ข) ค้อนกระท้งุ ทรายหรืออดั ทราย ค) เกรียงแต่งผิวและแบบหล่อ ง) ทรายหล่อ จ) พลั่วตักทรายหล่อ ฉ) ใบตัด ทางเขา้ ช) หบี ลมเปุาผงฝุน ซ) เกรยี งปาดผวิ และ ฌ) หีบหลอ่ เปน็ ตน้ 4.3 กระสวน กระสวน (Pattern) หรือแบบจาลอง หมายถึง แบบที่ทาเท่าขนาดของจริงโดยมีเผ่ือขนาด เพ่ิมเติมให้โตข้ึน เพื่อชดเชยการหดตัวและเผื่อการกลึงหรือไสออก เพ่ือให้ได้ชิ้นส่วนท่ีมีขนาดตามต้องการภาย หลังจากการหล่อ การทาแบบจาลองจัดว่าเป็นงานขั้นเร่ิมแรกของงานหล่อ ซ่ึงจะต้องจัดทาข้ึนมาก่อนจาก ช้ินส่วนจริง หรือจากแบบส่ังงาน ดังนั้น การทาแบบจาลองจึงมีความสาคัญมาก เพ่ือที่จะได้ช้ินงานหล่อที่มี คณุ ภาพดี สามารถใช้งานไดง้ ่ายและสะดวก สิ้นเปลอื งแรงงานในการทาแบบหล่อน้อย มีอายุการใช้งานท่ีคุ้มค่า ซ่ึงต้องการการออกแบบและวางแผนวิธีการทาแบบหล่อท่ีดี ในการสร้างแบบจาลองน้ัน จะต้องพิจารณาถึง ปัจจัยต่าง ๆ ดังน้ี คือ จานวนช้ินงานหล่อท่ีต้องการ วัสดุในการทาแบบหล่อที่จะใช้ลักษณะกรรมวิธีในการทา แบบหล่อ ความหนาของช้ินงานหล่อ ความเรยี บของผวิ และความแนน่ อนของขนาดช้ินงานหลอ่ เป็นตน้ ชนดิ ของกระสวน มีกระสวนแบบช้นิ เดยี ว และกระสวนแบบแยกช้ินหรอื กระสวน 2 ชนิ้ 4.4 ระบบจา่ ยน้าโลหะ ระบบจา่ ยน้าโลหะ หมายถึง ระบบทางไหลของน้าโลหะที่สร้างขน้ึ เพ่ือจ่ายน้าโลหะไปสแู่ บบ หลอ่ และทาใหช้ ิน้ งานหล่อมีความสมบรู ณ์ ประกอบดว้ ยแอ่งเท รูเท รูว่งิ แอง่ พักนา้ โลหะ ทางเขา้ รูล้น 4.5 การหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหล่อ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ี่ 11 คาบท่ี 61–66/108) ข้นั เตรียม 1. ครขู านช่ือผเู้ รยี น 2. ครูทบทวนเน้ือหาทเี่ รียนผ่านมาและใหข้ ้อมูลย้อนกลับเกย่ี วกับงานทาเกลยี ว ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น 3. ครูให้นกั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 11 4. ครูตงั้ คาถามเพือ่ นาเข้าสู่บทเรียนเรอ่ื ง งานหล่อ ขนั้ เรียนรู้
5. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเนอ้ื หาเกีย่ วกบั งานหล่อเบือ้ งต้น 6. นกั เรียนจดบนั ทกึ สาระสาคัญที่ครอู ธิบาย 7. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 11 8. ครสู าธิตการงานขนึ้ รูปและเจาะรูซีแคลมปแ์ ละให้นักเรียนปฏิบัตงิ านตามใบงานที่ 11 ข้ันสรปุ 10. ครูสรุปเนื้อหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และแนวทางการแกไ้ ขปญั หาทง้ั ทฤษฎีและปฏิบัตแิ ละให้นักเรยี นทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 11 6. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื งานฝกึ ฝมี อื รหสั 2100-1003 หน่วยท่ี 11 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 11 3. ใบงานท่ี 11/เครอื่ งมือ วสั ดุอปุ กรณใ์ นการปฏิบัติงาน 4. หอ้ งสมุดวทิ ยาลัย ศนู ยว์ ิทยบริการ ห้อง Internet 7. หลักฐานการเรียนรู้ ผลการปฏบิ ตั ติ ามใบงานท่ี 11 การทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 11 และจากการทดสอบหลงั เรียน ประสาน คงจันทร์. (2556). งานฝึกฝีมือ 1. นนทบุรี: ศูนยห์ นงั สอื เมืองไทย 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เครือ่ งมือประเมิน ก่อนเรยี น 1) ใชส้ มดุ บันทึกเวลาเรียนฯ ขานช่ือผู้เรียนและตรวจการตรงตอ่ เวลา 2) ใชแ้ บบสังเกตความพร้อมในการเรยี น ประเมินความพร้อม เช่น มหี นังสือ สมดุ ปากกา การแตง่ กาย เป็นต้น ขณะเรยี น 1) ใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรม สังเกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝรุ ู้ ความรับผิดชอบ ต่อการปฏบิ ตั งิ าน 8.2 เกณฑก์ ารประเมนิ หลังเรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน 50% 2) ภาคปฏิบัติ ประเมนิ การฝึกปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 11 สง่ งานตามข้อกาหนด 9. การขบั เคลอื่ นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สมรรถนะ น้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยบารงุ รกั ษาอุปกรณ์ - วสั ดุ จดุ ประสงคท์ ่ัวไป จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม/ ผลกระทบ พฤติกรรมบ่งชี้ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สง่ิ แวดล้อม ประยุกต์ใช้ปรชั ญา 1.บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ - วัสดุ ของเศรษฐกิจ 2.มคี วามอดทนในการ พอเพียงดา้ นมี ปฏิบัติงาน เหตผุ ลในการ 3.การเรยี นรู้โดยใชเ้ งอ่ื นไข ดารงชวี ิต สุภาพและประหยัด
10. บนั ทึกหลังการสอน 10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................ ................................. 10.2 ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ....................................................................................................................................................................... ....... ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................. ................. .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................ 10.3 แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................... (นายชุตเิ ทพ มาดีตรี ะเทวาพงษ)์ ครูผ้สู อน
Search