รายงานวชิ าสังคมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม ส( 31101) จดั ทำโดย นำย วนั โชค ใช้ทรัพย์สถำพร ม 4/1 เลขท่ี 17 ระดบั มธั ยมศกึ ษำปี ที่ 4
ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 1. พระพทุ ธศาสนามีพระธรรมวนิ ัยเป็ นธรรมนูญ หรือกฎหมายสูงสุด พระธรรม คือ คาสอนที่ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง พระวนิ ยั คือ คาสงั่ อนั เป็นขอ้ ปฏิบตั ิที่พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิข้ึนเม่ือ รวมกนั เรียกวา่ พระธรรมวนิ ยั ซ่ึงมีความสาคญั ขนาดที่พระพทุ ธเจา้ ทรงมอบใหเ้ ป็นพระศาสดา แทนพระองค์ ก่อนท่ีพระองคจ์ ะปรินิพพานเพียงเลก็ นอ้ ย 2. มกี ารกาหนดลกั ษณะของศาสนาไวเ้ รียบร้อย ไม่ปล่อยใหเ้ ป็นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของ พระพทุ ธศาสนาคือสายกลาง ไม่ซา้ ยสุด ไม่ขวาสุด ทางสายกลางน้ีเป็นครรลอง 3. พระพทุ ธศาสนา มคี วามเสมอภาคภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั บุคคลที่เป็นวรรณะกษตั ริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรมาแต่เดิม รวมท้งั คนวรรณะต่ากวา่ น้นั เช่นพวกจณั ฑาล พวกปุกกสุ ะคน เกบ็ ขยะ และพวกทาส เม่ือเขา้ มาอุปสมบทในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งถูกตอ้ งแลว้ มีความเท่าเทียม กนั 4. พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา มีสิทธิ เสรีภาพภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั เช่นในฐานะภิกษุเจา้ ถิ่น จะมีสิทธิไดร้ ับของแจกก่อนภิกษุอาคนั ตุกะ ภิกษุท่ีจาพรรษาอยดู่ ว้ ยกนั มีสิทธิไดร้ ับของแจก ตามลาดบั พรรษา มีสิทธิรับกฐิน และไดร้ ับอานิสงส์กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดู หนาวเท่าเทียม 5. มีการแบ่งอานาจ พระเถระผใู้ หญ่ทาหนา้ ที่บริหารปกครองหม่คู ณะ การบญั ญตั ิพระวนิ ยั พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิเอง เช่นมีภิกษผุ ทู้ าผดิ มาสอบสวนแลว้ จึงทรงบญั ญตั ิพระวนิ ยั ส่วนการ ตดั สินคดีตามพระวนิ ยั ทรงบญั ญตั ิแลว้ เป็นหนา้ ท่ีของพระวินยั ธรรมซ่ึงเท่ากบั ศาล 6. พระพทุ ธศาสนามหี ลกั เสียงข้างมาก คือ ใชเ้ สียงขา้ งมาก เป็นเกณฑต์ ดั สิน เรียกวา่ วธิ ีเยภุยยสิกา การตดั สินโดยใช้ เสียงขา้ งมาก ฝ่ ายใดไดร้ ับเสียงขา้ งมากสนบั สนุน ฝ่ ายน้นั เป็นฝ่ ายชนะคดี
หลกั การพระพทุ ธศาสนากบั หลกั การวทิ ยาศาสตร์ หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั การของวทิ ยาศาสตร์มีท้งั ส่วนท่ีสอดคลอ้ ง และส่วนที่ แตกต่างกนั ดงั ต่อไปน้ี ความสอดคล้องกนั ของหลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั การ วทิ ยาศาสตร์ 1. ในดา้ นความเชื่อ (Confidence) หลกั การวทิ ยาศาสตร์ ถือหลกั วา่ จะเช่ืออะไรน้นั จะตอ้ มีการพิสูจน์ใหเ้ ห็นจริงไดเ้ สียก่อน วทิ ยาศาสตร์เช่ือในเหตุผล ไม่เชื่ออะไรลอย ๆ และ ตอ้ งมีหลกั ฐานมายนื ยนั และวิทยาศาสตร์อาศยั ปัญญาและเหตุผลเป็นตวั ตดั สินความ หลกั การทางพระพทุ ธศาสนา มีหลกั ความเช่ือเช่นเดียวกบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ ไม่ไดส้ อนให้ มนุษยเ์ ชื่อและศรัทธาอยา่ งงมงายในอิทธิปาฏิหาริย์ และอาเทศนาปาฏิหาริย์ แต่สอนให้ ศรัทธาในอนุสาสนีปาฏิหาริย์ ที่จะก่อใหเ้ กิดปัญญาในการแกท้ ุกขแ์ กป้ ัญหาชีวติ สอนให้ มนุษยน์ าเอาหลกั ศรัทธาโยงไปหาการพสิ ูจน์ดว้ ยประสบการณ์ ดว้ ยปัญญา และดว้ ยการ ปฏิบตั ิ ดงั หลกั ของความเช่ือใน “กาลามสูตร” คืออยา่ เช่ือ เพียงเพราะใหฟ้ ังตามกนั มา อยา่ เชื่อ เพยี งเพราะไดเ้ รียนตามกนั มา 2. ในดา้ นความรู้ (Wisdom) ท้งั หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์และหลกั การของพระพทุ ธศาสนา ยอมรับความรู้ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์ หมายถึง การท่ีตา หู จมูก ลิ้น กาย ไดป้ ระสบกบั ความรู้สึกนึกคิด เช่น รู้สึกดีใจ รู้สึกอยากได้ เป็นตน้ วทิ ยาศาสตร์เริ่มตน้ จากประสบการณ์ คือ จากการท่ีไดพ้ บเห็นสิ่งต่าง ๆ แลว้ เกิดความอยากรู้อยากเห็นกแ็ สวงหาคาอธิบาย วทิ ยาศาสตร์ไม่เชื่อหรือยดึ ถืออะไรล่วงหนา้ อยา่ งตายตวั แต่จะอาศยั การทดสอบดว้ ย ประสบการณ์สืบสาวไปเรื่อย ๆ จะไม่อา้ งอิงถึงส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิใด ๆ
การคดิ ตามนัยแห่งพระพทุ ธศาสนากบั การคดิ แบบ วทิ ยาศาสตร์ กำรคดิ ตำมนยั แหง่ พระพทุ ธศำสนำ กำรคดิ ตำมนยั แหง่ พระพทุ ธศำสนำ เป็นกำรศกึ ษำถงึ วธิ ีกำรแก้ปัญหำตำมแนวพระพทุ ธศำสนำ ทีเ่ รียกวำ่ วิธีกำรแก้ปัญหำแบบอริยสจั มดี งั นีค้ อื 1. ขนั้ กำหนดรู้ทกุ ข์ กำรกำหนดรู้ทกุ ข์หรือกำรกำหนดปัญหำวำ่ คอื อะไร มีขอบเขตของปัญหำ แคไ่ หน หน้ำทที่ ีค่ วรทำในขนั้ แรกคอื ให้เผชิญหน้ำกบั ปัญหำ แล้วกำหนดรู้สภำพและขอบเขต ของปัญหำนนั้ ให้ได้ ข้อสำคญั คือ อย่ำหลบปัญหำหรือคดิ วำ่ ปัญหำจะหมดไปเองโดยทีเ่ รำไม่ ต้องทำอะไร 2. ขนั้ สบื สำวสมทุ ยั ได้แก่เหตขุ องทกุ ข์หรือสำเหตขุ องปัญหำ แล้วกำจดั ให้หมดไป ขนั้ นี ้ เหมือนกบั หมอวินิจฉยั สมฏุ ฐำนของโรคก่อนลงมือรักษำ ตวั อย่ำงสำเหตขุ องปัญหำท่ี พระพทุ ธเจ้ำแสดงไว้คือ ตณั หำ ได้แก่ กำมตณั หำ ภวตณั หำ และวภิ วตณั หำ 3. ขนั้ นิโรธ ได้แกค่ วำมดบั ทกุ ข์ หรือสภำพที่ไร้ปัญหำ ซงึ่ ทำให้สำเร็จเป็นจริงขนึ ้ มำ ในขนั้ นี ้ ต้องตงั้ สมมตฐิ ำนวำ่ สภำพไร้ปัญหำนนั้ คอื อะไร เข้ำถงึ ได้หรือไม่ โดยวธิ ีใด ตวั อย่ำงเชน่ นิพพำน คอื กำรดบั ทกุ ข์ทงั้ ปวงเป็นส่ิงท่เี รำสำมำรถบรรลถุ งึ ได้ในชำตินีด้ ้วยกำรเจริญสตพิ ฒั นำ ปัญญำเพ่ือตดั อวชิ ชำ และดบั ตณั หำ 4. ขนั้ เจริญมรรค ได้แก่ ทำงดบั ทกุ ข์ หรือวธิ ีแก้ปัญหำ
วทิ ยาศาสตร์ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ มีข้นั ตอนดงั น้ี 1. การกาหนดปัญหาใหถ้ กู ตอ้ ง ในข้นั น้ีนกั วทิ ยาศาสตร์กาหนดขอบเขตของปัญหาใหช้ ดั เจน วา่ ปัญหาอยตู่ รงไหน ปัญหาน้นั น่าจะมีสาเหตุมาจากอะไร 2. การต้งั สมมติฐาน นกั วทิ ยาศาสตร์ใชข้ อ้ มลู เท่าท่ีมีอยใู่ นขณะน้นั เป็นฐานในการ ต้งั สมมติฐานเพอื่ ใชอ้ ธิบายถึงสาเหตุของปัญหาและเสนอคาตอบหรือทางออกสาหรับปัญหาน้นั 3. การสงั เกตและการทดลอง เป็นข้นั ตอนสาคญั ท่ีสุดของการศึกษาหาความจริงทาง วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตเป็นการรวบรวมขอ้ มูลมาเป็นเคร่ืองมือสนบั สนุนทฤษฎีที่อธิบาย ปรากฏการณ์ 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการสงั เกตและทดลองมีจานวนมาก นกั วทิ ยาศาสตร์ตอ้ งพิจารณาแยกแยะขอ้ มูลเหล่าน้นั พร้อมจดั ระเบียบขอ้ มลู เขา้ เป็นหมวดหมู่ และหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลต่าง 5. การสรุปผล ในการสรุปผลของการศึกษาคน้ ควา้ นกั วทิ ยาศาสตร์อาจใชภ้ าษาธรรมดา เขียนกฎหรือหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ออกมา บางคร้ังนกั วทิ ยาศาสตร์จาเป็นตอ้ งสรุปผลดว้ ย คณิตศาสตร์
พระพทุ ธศาสนาเป็ นศาสตร์แห่งการศึกษา แบง่ ระดบั อยำ่ งกว้ำง ๆ มี 2 ประกำรคือ 1. กำรศกึ ษำระดบั โลกิยะ มีควำมมงุ่ หมำยเพ่ือดำรงชีวิตในทำงโลก 2. กำรศกึ ษำระดบั โลกตุ ระ มีควำมมงุ่ หมำยเพื่อดำรงชีวติ เหนือกระแสโลก ในกำรศกึ ษำหรือกำรพฒั นำตำมหลกั พระพทุ ธศำสนำ นนั้ พระพทุ ธเจ้ำสอนให้คนได้พฒั นำ อยู่ 4 ด้ำน คอื ด้ำนร่ำงกำย ด้ำนศลี ด้ำนจิตใจ และด้ำนสตปิ ัญญำ โดยมจี ดุ มงุ่ หมำยให้มนษุ ย์เป็นทงั้ คนดี และคนเก่ง มใิ ช่เป็ นคนดีแตโ่ ง่ หรือเป็ นคนเก่งแตโ่ กง กำรจะสอนให้มนษุ ย์เป็นคนดีและคนเกง่ นนั้ จะต้องมี หลกั ในกำรศกึ ษำที่ถกู ต้องเหมำะสม ซงึ่ ในกำรพฒั นำมนษุ ย์นนั้ พระพทุ ธศำสนำมงุ่ สร้ำงมนษุ ย์ให้เป็นคนดี ก่อน แล้วจงึ คอ่ ยสร้ำงควำมเก่งทีหลงั นนั่ คือสอนให้คนเรำมีคณุ ธรรม ควำมดีงำมก่อนแล้วจงึ ให้มคี วำมรู้ ควำมเข้ำใจหรือสติปัญญำภำยหลงั ดงั นนั้ หลกั ในกำรศกึ ษำของพระพทุ ธศำสนำ นนั้ จะมี ลำดบั ขนั้ ตอนกำรศกึ ษำ โดยเร่ิมจำก สี ลสิกขำ ตอ่ ด้วยจิตตสกิ ขำและขนั้ ตอนสดุ ท้ำยคือ ปัญญำสิกขำ ซงึ่ ขนั้ ตอนกำรศกึ ษำทงั้ 3 นี ้ รวมเรียกวำ่ \"ไตรสิกขำ\" ซง่ึ มีควำมหมำยดงั นี ้ 1. สลี สกิ ขำ กำรฝึกศกึ ษำในด้ำนควำมประพฤติทำงกำย วำจำ และอำชีพ ให้มีชีวิต สจุ ริตและเกือ้ กลู (Training in Higher Morality) 2. จิตตสิกขำ กำรฝึกศกึ ษำด้ำนสมำธิ หรือพฒั นำจิตใจให้เจริญได้ท่ี (Training in Higher Mentality หรือ Concentration) 3. ปัญญำสกิ ขำ กำรฝึกศกึ ษำใน ปัญญำสงู ขนึ ้ ไป ให้รู้คิดเข้ำใจมองเห็นตำม เป็นจริง (Training in Higher Wisdom)
พระพทุ ธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจยั และวธิ ีการ แก้ปัญหา พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตปุ ัจจยั หลกั ของเหตปุ ัจจยั หรือหลกั ความเป็นเหตุเป็นผล ซ่ึงเป็นหลกั ของเหตุปัจจยั ที่อิงอาศยั ซ่ึงกนั และกนั ท่ีเรียกวา่ \"กฎปฏิจจสมุปบาท\" ซ่ึงมีสาระโดยยอ่ ดงั น้ี \"เมื่ออนั น้ีมี อนั น้ีจึงมี เมื่ออนั น้ีไม่มี อนั น้ีกไ็ ม่มี เพราะอนั น้ีเกิด อนั น้ีจึงเกิด เพราะอนั น้ีดบั อนั น้ี จึงดบั \"น่ีเป็นหลกั ความจริงพ้ืนฐาน วา่ ส่ิงหน่ึงส่ิงใดจะเกิดข้ึนมาลอย ๆ ไม่ได้ หรือใน ชีวติ ประจาวนั ของเรา \"ปัญหา\"ท่ีเกิดข้ึนกบั ตวั เราจะเป็นปัญหาลอย ๆ ไม่ได้ จะตอ้ งมีเหตุปัจจยั หลายเหตุที่ก่อใหเ้ กิดปัญหาข้ึนมา คาวา่ \"เหตุปัจจยั \" พทุ ธศาสนาถือวา่ ส่ิงที่ทาใหผ้ ลเกิดข้ึนไม่ใช่เหตุอยา่ งเดียว ตอ้ งมี ปัจจยั ต่าง ๆ ดว้ ยเม่ือมีปัจจยั หลายปัจจยั ผลกเ็ กิดข้ึน ความสมั พนั ธ์ของเหตุปัจจยั เช่น ปัญหาการ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่า ซ่ึงเป็นผลท่ีเกิดจากการเรียนของนกั เรียน มีเหตุปัจจยั หลายเหตุ ปัจจยั ที่ก่อใหเ้ กิดการเรียนออ่ น เช่น ปัจจยั จากครูผสู้ อน ปัจจยั จากหลกั สูตรปัจจยั จาก กระบวนการเรียนการสอนปัจจยั จากการวดั ผลประเมินผล ปัจจยั จากตวั ของนกั เรียนเอง เป็นตน้ ความสมั พนั ธ์ของเหตุปัจจยั หรือหลกั ปฏิจจสมุปบาท แสดงใหเ้ ห็นอาการของส่ิงท้งั หลาย สมั พนั ธ์เน่ืองอาศยั เป็นเหตุปัจจยั ต่อกนั อยา่ งเป็นกระแส ในภาวะท่ีเป็นกระแสน้ี ขยาย ความหมายออกไปใหเ้ ห็นแง่ต่าง หลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนาของพระพทุ ธศาสนาที่เนน้ ความสมั พนั ธ์ของเหตุปัจจยั มี มากมาย ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงหลกั คาสอน 2 เร่ือง คือ ปฏิจจสมุปบาท และอริยสจั 4 ปฏิจจสมุปบาท คือ การที่สิ่งท้งั หลายอาศยั ซ่ึงกนั และกนั เกิดข้ึน เป็นกฎธรรมชาติท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบ การท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบกฎน้ีน่ีเอง พระองคจ์ ึงไดช้ ื่อวา่ พระสัมมาสัมพุทธ เจ้า กฏปฏิจจสมุปบาท เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กฏอิทัปปัจจยตา ซ่ึงกค็ ือ กฏแห่งความเป็นเหตุ เป็นผลของกนั และกนั นน่ั เอง
กฏปฏิจจสมุปบาท คือ กฏแห่งเหตุผลที่วา่ ถ้าส่ิงนีม้ ี ส่ิงน้ันกม็ ี ถ้าส่ิงนีด้ ับ สิ่งนั้นก้ ดับ ปฏิจจสมุปบาทมีองคป์ ระกอบ 12 ประการ คือ 1) อวชิ ชา คือ ความไม่รู้จริงของชีวติ ไม่รู้แจง้ ในอริยสจั 4 ไม่รู้เท่าทนั ตามสภาพท่ีเป็นจริง 2) สังขาร คือ ความคิดปรุงแต่ง หรือเจตนาท้งั ท่ีเป็นกศุ ลและอกศุ ล 3) วญิ ญาณ คือ ความรับรู้ต่ออารมณ์ต่างๆ เช่น เห็น ไดย้ นิ ไดก้ ล่ิน รู้รส รู้สมั ผสั 4) นามรูป คือ ความมีอยใู่ นรูปธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ กายกบั จิต 5) สฬายตนะ คือ ตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ 6) ผสั สะ คือ การถกู ตอ้ งสมั ผสั หรือการกระทบ 7) เวทนา คือ ความรู้สึกวา่ เป็นสุข ทุกข์ หรืออเุ บกขา 8) ตณั หา คือ ความทะเยอทะยานอยากหรือความตอ้ งการในส่ิงที่อานวยความสุขเวทนา และ ความดิ้นรนหลีกหนีในสิ่งที่ก่อทุกขเวทนา 9) อปุ าทาน คือ ความยดึ มน่ั ถือมน่ั ในตวั ตน 10) ภพ คือ พฤติกรรมท่ีแสดงออกเพ่อื สนองอุปาทานน้นั ๆ เพ่ือใหไ้ ดม้ าและใหเ้ ป้ นไปตาม ความยดึ มน่ั ถือมนั่ 11) ชาติ คือ ความเกิด ความตระหนกั ในตวั ตน ตระหนกั ในพฤติกรรมของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อปุ ายาสะ คือ ความแก่ ความตาย ความ โศกเศร้า ความคร่าครวญ ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ และความคบั แคน้ ใจหรือความ กลดั กลุ่มใจ องคป์ ระกอบท้งั 12 ประเภทน้ี พระพทุ ธเจา้ เรียกวา่ องค์ประกอบแห่งชีวิต หรือกระบวนการ ของชีวิต ซึ่งมคี วามสัมพนั ธ์เกย่ี วเนื่องกนั ทานองปฏกิ ริ ิยาลูกโซ่ เป็นเหตุปัจจยั ต่อกนั โยงใยเป็น วงเวยี นไม่มีตน้ ไม่มีปลาย ไม่มีที่สิ้นสุด กล่าวคือองคป์ ระกอบของชีวติ ตามกฏปฏิจจสมุปบาท ดงั กล่าวน้ีเป็นสายเกิดเรียกวา่ สมทุ ยั วาร ในทางตรงกนั ขา้ ม ถา้ เราสามารถรู้เท่าทนั กระบวนการของชีวติ และกาจดั เหตุเสียได้ ผลกย็ อ่ ม สิ้นสุดลง ปฏิจจสมุปบาทดงั กล่าวน้ีเป็นสายดบั เรียกวา่ นิโรธวาร ซ่ึงมีลาดบั ความเป็นเหตุเป็น ผลของกนั และกนั
จากกฏปฏิจจสมุปบาทหรือกฎอทิ ปั ปัจจยตาทีว่ ่าอวิชชาเป็นตัวเหตขุ องทุกสิ่งทุกอย่าง อวชิ ชา คอื ความไม่รู้แจง้ ในอริยสจั 4 ดงั น้นั กฎปฏิจจสมุปบาท เมื่อกล่าวโดยสรุปแลว้ ก็ คือ อริยสัจ 4 นั่นเอง อริยสัจ หมายถึง หลกั ความจริงอนั ประเสริฐหรือหลกั ความจริงท่ีทาใหผ้ เู้ ขา้ ถึงเป็นผู้ ประเสริฐ มี 4 ประการ คือ 1) ทกุ ข์ หมายถึง ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ หรือสภาพท่ีบีบค้นั จิตใจใหท้ นไดย้ าก ทุกข์ เป็นสภาวะที่จะตอ้ งกาหนดรู้ 2) สมุทยั (ทุกขสมทุ ัย) หมายถึง ตน้ เหตุท่ีทาใหเ้ กิดทุกข์ ไดแ้ ก่ ตณั หา3 ประการ คือ กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตณั หา สมุทยั เป็นสภาวะที่จะตอ้ งละหรือทาใหห้ มดไป 3) นิโรธ (ทุกนิโรธ)หมายถึง ความดบั ทุกข์ หรือสภาวะท่ีปราศจากทุกข์ เป็นสภาวะที่ตอ้ ง ทาความเขา้ ใจใหแ้ จ่มแจง้ 4) มรรค (ทุกขนิโรธคามินีปฎิปทา) หมายถึง ทางดบั ทุกข์ หรือขอ้ ปฏิบตั ิใหถ้ ึงความดบั ทุกข์ ไดแ้ ก่ มชั ฌมิ าปฏปิ ทา หรืออริยมรรคมีองค์ 8 ซ่ึงสรุปลงในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา มรรคเป็นสภาวะท่ีต้องลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเองจึงจะไปสู่ความดับทุกข์ได้ เม่ือวเิ คราะห์ในทางกลบั กนั จากกฏที่วา่ เม่ือมีทุกข์ กต็ ้องมีความดับทุกข์ อริยสจั ค่ทู ่ี สอง (นิโรธและมรรค) กลายเป็นเหตุที่นาไปสู่ผล คือ การดบั อริยสจั คแู่ รก (ทุกขแ์ ละ สมุทยั ) อนั เป็นการยอ้ นศรอีกรอบหน่ึง จะเห็นชดั วา่ อริยสจั 4 เป็นกระบวนการที่เกี่ยวเน่ืองกนั เป็นระบบ เหตุผล คือ เม่ือมีเหตุเกิดแห่งทุกข์ (สมุทยั ) กจ็ ะทาใหเ้ กิดความทุกข์ (ทุกข)์ ในขณะเดียวกนั หากตอ้ งการสภาวะหมดทุกข์ (นิโรธ) กต็ อ้ งกาจดั เหตุเกิดแห่งทุกข์ คือตณั หาดว้ ยการปฏิบตั ิ ตามมรรค 8 (มรรค)
วธิ ีแก้ปัญหาตามแนวพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเนน้ การแกป้ ัญหาดว้ ยการกระทาของมนุษยต์ ามหลกั ของเหตุผล ไม่หวงั การ ออ้ นวอนจากปัจจยั ภายนอก เช่น เทพเจา้ รุกขเทวดา ภูตผปี ี ศาจ เป็นตน้ จะเห็นไดจ้ ากตวั อยา่ งคา สอนในคาถาธรรมบท แปลความวา่ มนุษยท์ ้งั หลายถกู ภยั คุกคามแลว้ พากนั ถึงเจา้ ป่ าเจา้ เขา เจา้ ภู ผา ตน้ ไมศ้ กั ด์ิสิทธ์ิ เป็นที่พ่ึงแต่ส่ิงเหล่าน้นั ไม่ใช่สรณะอนั เกษม เม่ือยดึ เอาส่ิงเหล่าน้นั เป็นสรณะ (ที่พ่งึ ) ยอ่ มไม่สามารถหลุดพนั จากความทุกขท์ ้งั ปวง…แต่ชน เหล่าใดมาถึงพระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะ รู้เขา้ ใจอริยสจั 4 เห็นปัญหา เหตุเกิด ของปัญหา ภาวะไร้ปัญหา และวธิ ีปฏิบตั ิใหถ้ ึงความสิ้นปัญหาจึงจะสามารถหลุดพน้ จากทุกขท์ ้งั ปวงได\"้ ดงั น้นั มนุษยต์ อ้ งแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการของมนุษยท์ ่ีเพยี รทาการดว้ ยปัญญาท่ีรู้เหตุปัจจยั หลกั กำรแก้ปัญหำตำมหลกั อริยสจั 4 นี ้มคี ณุ คำ่ เดน่ ที่สำคญั พอสรุปได้ดงั นี ้ 1. เป็นวิธีกำรแหง่ ปัญญำ ซงึ่ ดำเนินกำรแก้ไขปัญหำตำมระบบแหง่ เหตผุ ล เป็นระบบวธิ ี แบบอยำ่ ง ซงึ่ วิธีกำรแก้ปัญหำใด ๆ ก็ตำม ทจ่ี ะมีคณุ คำ่ และสมเหตผุ ล จะต้องดำเนินไปในแนว เดียวกนั เชน่ นี ้ 2. เป็นกำรแก้ปัญหำและจดั กำรกบั ชีวิตของตน ด้วยปัญญำของมนษุ ย์เอง โดยนำเอำหลกั ควำมจริงทมี่ ีอยตู่ ำมธรรมชำติมำใช้ประโยชน์ ไมต่ ้องอ้ำงอำนำจดลบนั ดำลของตวั กำรพิเศษ เหนือธรรมชำติ หรือส่งิ ศกั ด์ิสิทธ์ิใด ๆ 3. เป็นควำมจริงทเ่ี ก่ียวข้องกบั ชีวติ ของคนทกุ คน ไมว่ ำ่ มนษุ ย์จะเตลิดออกไปเก่ียวข้อง สมั พนั ธ์กบั สง่ิ ทอี่ ย่หู ำ่ งไกลตวั กว้ำงขวำงมำกมำยเพียงใดก็ตำม แตถ่ ้ำเขำยงั จะต้องมีชีวติ ของ ตนเองท่มี คี ณุ คำ่ และสมั พนั ธ์กบั สง่ิ ภำยนอกเหลำ่ นนั้ อยำ่ งมีผลดีแล้ว เขำจะต้องเกี่ยวข้องและ ใช้ประโยชน์จำกหลกั ควำมจริงนีต้ ลอดไป 4. เป็นหลกั ควำมจริงกลำง ๆ ที่ติดเนื่องอย่กู บั ชีวิต หรือเป็นเรื่องของชีวติ เองแท้ ๆ ไมว่ ำ่ มนษุ ย์ จะสร้ำงสรรค์ศิลปวิทยำกำร หรือดำเนินกิจกำรใด ๆ ขนึ ้ มำ เพ่อื แก้ปัญหำและพฒั นำควำม เป็นอยขู่ องตน และไมว่ ำ่ ศิลป-วิทยำกำร หรือกิจกำรตำ่ ง ๆ นนั้ จะเจริญขึน้ เสือ่ มลง สญู สลำย ไป หรือเกิดมีใหม่มำแทนอยำ่ งไรก็ตำม หลกั ควำมจริงนีก้ ็จะคง ยืนยงใหม่ และใช้เป็นประโยชน์ได้ตลอดทกุ เวลำ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: