Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้เสื้อผ้าสตรี

ใบความรู้เสื้อผ้าสตรี

Published by suthmmarakkati, 2021-01-30 03:37:09

Description: ใบความรู้เสื้อผ้าสตรี

Keywords: เสื้อผ้าสตรีเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

ใบความรทู้ ่ี 1.1 เรื่อง ความรเู้ กย่ี วกบั เสื้อผา้ สตรี หนว่ ยที่ 1 ช่อื หน่วย ความรู้เก่ยี วกบั เสื้อผา้ สตรี รหัส 30401 0004 วชิ า เส้ือผ้าสตรีเบือ้ งต้น จุดประสงค์การเรียนรู้ : 1. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ชนดิ ลกั ษณะเสื้อผา้ ผ้าสตรี 2. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถอธิบายชนิด ลกั ษณะเส้ือผ้าผ้าสตรีได้ 3. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้ ดูแลรักษาผ้า วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ใน การสรา้ งแบบตัดเย็บ และการใชจ้ ักรเยบ็ ผา้ เนอื้ หาสาระ : เสือ้ สตรี แบบตัดเส้ือเบ้ืองต้น ตัดเย็บแล้วจะได้เส้ือพอดีตัว แต่เส้ือต่างๆ ของผู้หญิงมิได้มีเพียงเท่าน้ันยังมี แบบเส้ือตา่ งๆ มากมายจึงควรมีความรเู้ รือ่ งแบบเสอื้ สตรี (Blouse) ชนดิ ตา่ งๆ เสื้อสตรี (Blouse) คือ เส้ือตัวเดียวหลวมปล่อยชายเส้ือยาวถึงเอวหรือยาวต่ำกว่าระดับเอว เป็น เส้ือเส้ือสำหรับสตรีและเด็กสวมใส่คู่กับกระโปรงหรือกางเกง มีการออกแบบเสื้อรูปทรงและลักษณะต่างๆ เรียกช่อื ตา่ งๆ เพอ่ื จะได้มีความเขา้ ใจตรง ชนิดและลกั ษณะเสอ้ื สตรี 1. เสื้อหลวมตัวยาวต่ำกว่าเอว (Loose Blouse) คือ เสื้อตัวเดียว หลวมพอดีตัวยาวต่ำ กว่าเอวพอทีจ่ ะใชส้ อดชายเสอื้ ไวใ้ นกระโปรงหรอื กางเกง แบบเสือ้ หลวมตัวยาวตำ่ กวา่ เอว

2. เส้ือเข้ารูปตัวยาว (Tunic Blouse) คอื เสื้อตัวเดยี วเข้ารูปท่ีตะเข็บข้างเล็กน้อยชายเส้ือ ยาว ถงึ สะโพกลา่ งอาจจะยาวกว่าหรือสั้นได้แลว้ แตก่ ารออกแบบกำหนดใช้สวมทบั กระโปรงหรือกางเกง แบบเส้ือเข้ารูปตวั ยาว 3. เส้ือตัวหลวมมาก (Smock Blouse) คือ เส้ือตัวหลวมมากกว่าปกติ ด้วยการจีบเพิ่มเน้ือที่ ผ้าบริเวณเหนืออก แนวอก แนวใต้อก หรอื ใช้ผ้าเฉลียง ทำให้ชายเส้ือมีความกว้างมาก ชายเสื้อ ชายเส้ือ สนั้ หรือยาวเทา่ ใด แลว้ แตค่ วามนิยม ใชส้ วมนอกกระโปรงหรือกางเกง แบบเสอื้ ตัวหลวมมาก

4. เส้ือต่อแนวเอว (Peplum Blouse) คือ เสื้อต่อแนวเอวตัวเสื้ออาจจะเข้ารูปหรือหลวม เล็กน้อย แต่จีบรูดเข้ารูปเอว ต่อชายเสื้อด้วยผ้าจีบรูด แทรกผ้าเฉลียงสามเหลี่ยมหรือแบบต่อเข้าขอบเสื้อ Jacket ผู้ชาย แต่ล่ะลักษณะขอบเขา้ รูปตามสะโพกบนใชส้ วมทบั นอกกระโปรงหรอื กางเกง แบบเส้อื ต่อแนวเอว 5. เส้ือสวมศีรษะ (Pullover Blouse) คือ เส้ือสวมทางศีรษะเส้ือตัวปล่อย คอกว้างหรือเปิด สาบจากคอเส้ือลึกพอท่ีจะทำให้คอเส้ือกวา้ งจนศีรษะผ่านได้ เส้ือบางชนิดทำด้วยผ้าถักจะได้เสื้อพอดตี ัวสวม และถอดทางศรี ษะคอื เส้ือที่ไมเ่ ปดิ ตลอดทั้งดา้ นหน้าและด้านหลัง แบบเสอ้ื สวมศรี ษะ 6. เส้ือเชิต้ (Shirt Blouse) คือ เสื้อตัวปล่อยหลวมพอดีตวั มีปก สาบแขน แบบเสอ้ื เชต้ิ ของ ผู้ชาย ชายเสื้อยาวแบบสวมกระโปรงทบั หรอื ทำชายเส้อื แบบ Tunic กไ็ ด้

แบบเสอื้ เชิ้ต 7. เสอ้ื สวมทับชุดตวั ใน (Bolero Jacket) คอื เสื้อสวมทบั ชุดตัวใน ชายเส้ือสัน้ เหนอื เอวเปน็ เสื้อ ชายลอยหลวมๆ แบบเสอื้ สวมทบั ชดุ ตัวใน 8. เสื้อสวมทับเปิดด้านหน้า (Cardigan Jacket) คือ เสื้อตัวปล่อยใช้สวมทับเสื้อชุดตัวในเปิด หน้าตลอด บางชนิดไม่ตดิ กระดมุ สวมทับปล่อยหลวมๆ บางแบบตัดสั้นเพียงเอว บางแบบเข้าขอบเอวเสื้อ แเจค็ เก็ตของผชู้ าย

แบบเสอ้ื สวมทับเปดิ ด้านหนา้ 9. เสอื้ กัก๊ (Vest Jacket) คือ เสื้อกก๊ั ตวั คับพอดีรปู ร่าง นยิ มสัน้ เพยี งเอว ถา้ ยาวตำ่ จากเอวอยู่ ระดับสะโพกบนหรอื สนั้ กวา่ เอวก็จะสั้นเพียงเลก็ นอ้ ยเท่าน้ันส่วนมากออกแบบเป็นเสือ้ ไม่มีแขน วงแขนกว้าง ใช้สวมทบั ชุดขา้ งในมีการออกแบบใชผ้ า้ ลักษณะตา่ งๆ เพ่ือใชป้ ระกอบการแต่งกายให้ได้หลายๆ โอกาส แบบเสอื้ ก๊ัก 10. เสื้อคลุม (Cape Jacket) คือ เส้ือคลุม สวมทับคลุมต้ังแต่ไหล่ คลุมแขนและลำตัวบาง แบบ เจาะด้านข้างให้สอดแขนลอดออกมาได้ ท่ัวๆ ไปจะมีความยาวคลุมถึงเอวหรือสะโพก เปิดด้านหน้า ตลอด

แบบเสื้อคลุม 11. เสื้อสูท (Blazer Blouse) คอื เสื้อสทู ใชส้ วมทับชั้นใน ปิดหน้า ป้ายซ้อนลึกประมาณแนว ตรงกบั จุดอกอกี ข้างหน่งึ ติดกระดุม 2 แถว บางตำราจัดเป็นเสอ้ื Jacket ชนิดหน่ึง แบบเสื้อสทู 12. เสื้อสูทแบบเทเลอร์ (Tailored Blouse) คือ เส้ือสูทแบบเทเลอร์เปิดสาบกลางตัว ดา้ นหนา้ ติดกระดมุ แถวเดยี ว นิยมตดั เขา้ ชุดกบั กระโปรงหรือกางเกง

แบบเสอื้ สทู แบบเทเลอร์ การเลือกใช้ ดูแลรกั ษาผา้ วัสดุ เคร่ืองมอื อปุ กรณใ์ นการสร้างแบบตัดเยบ็ และการใช้จักรเย็บผา้ 1. เลอื กใช้และดแู ลรกั ษาผา้ 1.1 การเลอื กใช้ผ้า การเลือกใช้ผ้ามีความจำเป็นเท่า ๆ กับการตัดเย็บเหมือนกัน สาหรับผู้ท่ีไม่ชำนาญควรเลือกผ้า ประเภทผ้าฝ้าย ผ้าลินนิ หรือผ้าเรยอนบางชนิด เพราะผ้าประเภทนไี้ ม่ค่อยเปลี่ยนแปลงรูปรา่ งง่าย ตรงกันข้าม กบั ผา้ แพร และผา้ ใยสงั เคราะห์เนือ้ บางเบาทำใหไ้ ม่สะดวกในการเยบ็ 1.1.1 ความเหมาะสมของโอกาสที่จะใช้ - เส้ือผ้ากันหนาว ผ้าท่ีควรใช้ควรเป็นผ้าเนื้อหนาทอแน่น ไม่มีช่องให้อากาศผ่านทะลุได้ง่าย เพ่ือ ป้องกันอากาศหนาวเย็นจากภายนอกไว้ ทั้งยังเก็บไอตัวให้อุ่นอยู่เสมอด้วย เช่น ผ้าขนสัตว์ ผ้าใยสังเคราะห์ ผสม ผ้าถักนติ ฯลฯ - ผ้าบาง เหมาะสำหรับตัดเส้ือผ้าฤดูร้อน อากาศสามารถถ่ายเทได้ดี ไม่ทำให้เกิดความอบอ้าว หรือ เหนอะหนะ เพราะคราบไคล เชน่ ผา้ ฝ้ายเนอ้ื บาง ผ้าลินิน ผา้ ป่าน ผา้ ไหมเน้อื บาง ผา้ เรยอน ฯลฯ - ผา้ เนือ้ หยาบ ทอห่าง ๆ ผิวสมั ผัสเป็นปุ่มปม งา่ ยต่อการถูกสะกิด ถา้ ใชไ้ ม่ระวังจะทำให้ปุ่มปมเหล่านี้ ชำรุดหลุดลุ่ยออกมา เป็นผลให้เนื้อผ้าเสียหาย ผ้าประเภทน้ีเหมาะกับแบบเส้ือลำลอง ใช้ฉาบฉวย ไม่ควร นำไปตัดเยบ็ เสอ้ื ผา้ ชดุ ทำงานประจำวนั - ผ้าท่ีมลี ายหรูหรา เหมาะกับการตดั เย็บเสือ้ ผา้ ประเภทชุดโอกาสพิเศษ ย่ิงผ้าหรหู ราเท่าใด ชุดน้ัน ๆ กต็ อ้ งใชใ้ นโอกาสหรูหรามากขึ้น ถา้ ไมค่ ำนึงถึงขอ้ น้ี อาจทำให้ดเู หมอื นวา่ มาผิดงาน - เสื้อผ้าใส่ทำงาน เคร่ืองแบบนักเรียน นักศึกษา เสื้อผ้าลำลองอยู่ในบ้าน ควรเลือกเส้ือผ้าท่ีไม่หนา เทอะทะหรือบางเบา จนเห็นเส้ือชั้นใน เช่นผ้าท่ีมีส่วนผสมของเส้นใย โพลีเอสเตอร์ 65% ฝ้าย 35% ซึ่ง หมายถึงผ้าช้ินนั้นจะสวมใส่สบาย ไม่ร้อน ไม่ยับมาก รีดแต่น้อย หรือผ้าที่บอกว่าเป็นผ้าเรยอน 100% หมายถงึ ผ้าชิ้นนน้ั เป็นเสน้ ใยเรยอนล้วน ๆ ซ่งึ ตอนซื้อมา จากร้านมักมีการตกแต่งเน้ือผ้าให้สามารถจับต้องหรอื มองดูสวยงามน่าใช้ แต่พอนามาตัดเย็บจะยับ มากเวลาซัก ถา้ ขยีไ้ ปมาไมน่ านจะขาดล่ยุ ทัง้ น้เี พราะคุณสมบัติของผ้าเรยอนเป็นเช่นนน้ั 1.1.2 ลายของผ้า

ชนดิ ของผ้าแบ่งตามลกั ษณะของลวดลายทปี่ รากฏตอ่ สายตามี 5 ชนดิ - ผ้าพืน้ - ผ้าลายเรขาคณิต - ผ้าลายธรรมชาติ - ผา้ ลายรวม - ผ้าลายจุด ภาพ ตวั อย่างผา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ ผ้าพนื้ ถ้าไม่แน่ใจว่ามีความชำนาญในการตัดเย็บ หรือผู้เริ่มหัดตัดเย็บเสื้อผ้าใหม่ ๆ ควรเลือกผ้าพื้นไม่มี ลวดลายใด ๆ เลย เพื่อความสะดวกในการตัดเยบ็ โดยไมต่ ้องคำนึงถึงลวดลายในผา้ ทจ่ี ำเป็นต้องพิจารณาใหด้ ี มฉิ ะนนั้ แลว้ จะทำใหเ้ สอ้ื ผ้าที่ตดั เยบ็ เสรจ็ แลว้ ดูไมน่ า่ สวมใส่เลย

ภาพตวั อยา่ งเสื้อผา้ ผา้ พน้ื

ผา้ ลายเรขาคณติ ด้วยสัญชาตญิ าณความรักสวยรักงามของมนษุ ยท์ ม่ี ีมาแต่กำเนิด คนเราจงึ ร้จู ักการใช้ด้าย ตา่ ง ๆ มาทอเปน็ ผา้ ในลกั ษณะท้ังผา้ ทางตั้งข้ึนหรือขวาง หรอื ผสมผสานกนั เปน็ ลวดลายจากการทอ เปน็ ลายทาง ลายตาสีเ่ หลี่ยมขนาดตา่ ง ๆ ผ้าตาหมากรกุ สาหรับผู้ทย่ี งั ไม่ชำนาญในการตัดเยบ็ ควรหลีกเล่ียงผา้ ทมี่ ีลวดลายทางซา้ ย ทางขวา หรือทางข้นึ ทาง ลง ลายตาไมส่ ม่ำเสมอ หรอื ตาสเ่ี หล่ียมใหญ่ เพราะผา้ ทีม่ ีลวดลายเหลา่ นั้นมกั มี ข้อต้องระวังและข้อพิจารณา ในการตดั เย็บมากมาย จงึ จะทาใหเ้ ส้อื ผ้าดูสวยงามมีราคาได้ 1 2 34 สมำ่ เสมอ ไมส่ ม่ำเสมอ ไม่สม่ำเสมอ แนวตัง้ ไมส่ ม่ำเสมอท้งั แนวนอน แนวนอนและแนวต้ัง ภาพตวั อย่างเส้อื ผ้าผ้าลายเรขาคณิต

ผา้ ลายธรรมชาติ ผ้าลายธรรมชาติที่ดี สามารถนำสายตาขึ้นสู่ใบหน้าได้ ลักษณะของผ้าลายธรรมชาติก็คือลายที่ ประกอบด้วยเส้นใยโค้งธรรมชาติ มักจะมลี ายดอกไม้ ใบไม้ ผ้ายลายดอกที่มีความเข้ม คมชัดมากๆ เหมาะสา หรบั แบบเส้ือโอกาสลาลองมากว่าโอกาสอ่ืนๆ ผ้าลายดอกโตๆ มักมีช่วงห่างของลายยาว ถ้านำมาตัดเย็บอาจ ต้องซ้อื ผ้ามากกวา่ การใช้ผา้ ท่มี ีช่วงห่างของลายส้ัน ผู้ฝึกหัดตัดเย็บ ถ้าต้องการผ้าท่ีมีลายดอกบ้างก็ได้ แต่ก็ควรเป็นลายดอกเล็กๆ กระจุ๋มกระจิ๋ม ไม่ใช่ ลายดอกใหญ่ชดั เจนหรือสีตัดกนั จนเกนิ ไป จะทำให้คณุ คา่ ของเส้อื ผ้าทตี่ ดั เยบ็ ด้อยคณุ คา่ ลง ภาพตัวอยา่ งเส้อื ผา้ ลายธรรมชาติ

ผ้าลายรวม เป็นผ้าท่ีมีลวดลายรวมกันระหว่างลายเรขาคณิตกับลายธรรมชาติในผ้าผืนเดียวกัน เช่น เป็นผ้าลาย ทางต้งั มลี ายดอกไมเ้ ลก็ ๆ ทอหรือพิมพ์บนลายทางเหลา่ น้ัน เปน็ ต้น ผา้ ฝ้ายทพ่ี ิมพ์ลายรวมมกั จะเป็นผ้าราคาถกู มากกวา่ ชนิดอื่นๆ แต่ลวดลายชนดิ ท่ีสามารถลวงตาให้ผ้า ผืนดมู คี า่ ข้นึ ได้ ทำให้โอกาสทจี่ ะใช้มมี ากว่าผ้าฝ้ายพมิ พล์ ายอื่นๆ ภาพตัวอยา่ งเส้อื ผา้ ลายรวม ผา้ ลายจุด เป็นลายที่ให้ความรสู้ ึกแข็งทส่ี ุดในจำนวนผ้าอนื่ ๆ ท่ีกล่าวมาท้งั หมด แต่ลวดลายจดุ บนผ้าแสดงใหเ้ ห็น ความร่าเริง เบิกบาน และอ่อนเยาว์ การที่จะนำผ้าลายจุดมาใช้ไดอ้ ย่างสวยงาม ด้วยการลดความแข็งของจุด ด้วยวิธใี ดวิธีหน่ึง ดังนี้ - ลดขนาดของจดุ จุดขนาดใหญ่ให้ความรสู้ ึกแข็งเท่านัน้ - ลดความบริสุทธขิ์ องจุด เช่น จดุ รูปหวั ใจ หรือดอกไม้เล็กๆ - ลดการตัดกันอย่างรุนแรงของสี เช่น ผ้าจุดดำบนพื้นขาว จะทำให้เกิดการตัดกัน รุนแรงกว่าผ้าจุด ขาวบนพืน้ ดำ

ภาพตัวอยา่ งเส้อื ผา้ ลายจดุ

1.1.3 ผวิ สัมผสั ของผ้า ผิวสมั ผัสของผ้าทต่ี อ้ งสมั ผัสจับต้องจรงิ ๆ ไม่สามารถมองด้วยตามีผลต่อเส้นกรอบนอกของเส้ือผ้าแบ่ง ออกเป็น - แบบทตี่ อ้ งการความนุ่มปานกลาง เช่น ผา้ ไหม ผ้าฝา้ ย - แบบท่ีตอ้ งการความแข็งออกจากตวั เชน่ ผ้าทาเปต้า หรอื ต่วนเนอื้ แข็ง - แบบทต่ี ้องการความน่มุ มาก ออ่ นสลวย เช่น ผา้ เรยอน ผ้าเครป ผ้าชีฟอง หรอื เจอรซ์ ่ี ผวิ สัมผัสของผา้ ชนิดน่มุ ปานกลาง นิยมใช้สำหรับเส้ือผ้าท่ีมีการออกแบบให้เส้นกรอบนอกปกติ ชนิด อ่อนนมุ่ มากและแขง็ มาก นิยมใช้สำหรบั เส้อื ผา้ ทม่ี ีการออกแบบใหเ้ ส้นกรอบนอกแบบพิเศษ เชน่ บานหรอื พอง มาก ๆ เปน็ ต้น การเลอื กผ้าสำหรับสวมใส่ การเลือกผ้าสำหรับสวมใส่ เพื่อพรางรูปร่างบางส่วนต้องการปิดบังและแสดงจุดเด่นที่ต้องการอวด เช่น สามารถทำให้ดูสงู ข้ึนหรือเต้ีย ควรสวมเสื้อผ้าท่ีแลดูสงู ขึ้น รูปร่างอ้วน ควรสวมเส้ือผ้าท่ีแลดูผอมลง เป็น ตน้ หลกั ทว่ั ไปในการเลอื กผ้าสำหรับสวมใส่ 1. ผ้าตา มผี ลหลายอยา่ งต่อรูปร่าง ข้ึนอยู่กบั ขนาดของตาและการตัดกันของสี ผา้ ตากวา้ งมากและสี ตัดกันมาก ทำให้ดูรูปร่างกว้างข้ึน คนรูปร่างใหญ่ควรสวมตาใหญ่ปานกลาง เพ่ือให้ดูรูปร่างเล็กลง เลือกใช้สี ด้าน และสีตัดกนั นอ้ ยที่สดุ 2. สี เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลมากที่สุด ท่ีจะทำให้ดูผอมลงหรืออ้วนขึ้น โดยท่ัวไปสสี ด สีฉูดฉาด และสีอ่อน ทาใหร้ ปู รา่ งดอู ว้ นขึ้น เลือกใชส้ ีด้าน และสีเข้ม ทำให้รูปรา่ งดผู อมลง ไม่ควรใช้สีตัดกันแบ่งรูปร่างตามขวาง ถ้าต้องการแบ่งเส้นตามขวาง ควรให้สีเดียวกัน สีสดใสและ ฉูดฉาด ทำให้ดอู ้วนกว่าความเป็นจริง สีเดียวกันแต่หม่นลงจะผอมกว่า ถ้าคนอ้วนอยากใชส้ ีสด ควรใช้ตกแต่ง ได้เพียงบางส่วนเท่านั้น สีเขา้ ทำให้ดผู อมลง สีอ่อนใหผ้ ลในทาง ตรงกันขา้ ม สีสด เชน่ แดง ส้ม เหลือง ทำให้รปู รา่ งใหญข่ ึน้ สเี ย็น เช่น นา้ เงิน เขียว ม่วง ทำใหร้ ูปรา่ งบางลง 3. ผิวสัมผัส ผ้าเน้อื หยาบ เนื้อปุย พอง ทำใหร้ ูปร่างใหญ่แต่ไม่เหมาะทีเดียวกับคนรูปรา่ งเล็ก เพราะ จะมองเหน็ แตเ่ นือ้ ผา้ เทา่ นนั้ ผา้ เนอื้ แข็งช่วยซอ่ นรูปรา่ งได้ แต่ทำใหแ้ ลดอู ้วนข้นึ ผ้าเนือ้ น่ิมทิ้งตัวได้ดี โชวส์ ดั สว่ นรปู รา่ งได้เตม็ ที่ แต่ทั้งผ้าเนอื้ แขง็ และเนื้อนิ่ม ไมเ่ หมาะกบั รปู ร่างทีม่ ที ตี่ ิ ฉะน้นั จงพยายามหลกี เล่ียงทั้งผ้าเนือ้ แขง็ และผ้าเนอ้ื นิม่ 1.2 การดูแลรกั ษาผ้า ผา้ ที่เราซื้อมาจะใช้ไดด้ ีและทนทานเพียงไร อยู่กบั ว่าเราใชอ้ ยา่ งระมัดระวังหรือไม่ เสอื้ ผา้ เคร่อื งนุ่งห่ม ทุกชนิด ถ้าใช้แล้วร้จู ักดูแลใช้อย่างระมัดระวังหรือไม่ เส้ือผา้ เคร่อื งนุ่งห่มทุกชนิด ถ้าใช้แล้วรู้จักดูแลรักษาจะ ทำใหเ้ สอื้ ผ้านั้นใช้ได้นานและคุ้มค่า การดูแลรกั ษาผา้ หมายถงึ วิธีการปฏิบตั ติ ่อผา้ โดยทำให้ผา้ สะอาดหมดจด และคงสภาพเดิมอยู่ได้นาน ซึ่งผ้าจะแลดูใหม่และน่าใช้อยู่เสมอ การดูแลรักษาผ้าอย่างถูกวิธี จึงจำเป็นและเกิดประโยชน์อย่างยิ่งแก่ เจ้าของเสอื้ ผ้านนั้ ๆ

การระวงั รักษาเสื้อผ้าในขณะสวมใส่ 1. สวมและถอดด้วยความระมดั ระวงั ถา้ เป็นเส้ือผ้าทต่ี ิดกระดุมต้องปลดกระดุมออกเสยี กอ่ นจึงถอด 2. พยายามไม่ใส่ของที่หนาหรือหนกั ในกระเป๋าเส้ือผ้า เพราะจะทำใหก้ ระเป๋าเสียรูปและขนาดเรว็ ขนึ้ 3. ไมค่ วรเอามือซกุ กระเป๋าเสือ้ ผ้าตลอดเวลา 4. ควรดงึ กระโปรงขน้ึ เล็กน้อยกอ่ นนัง่ ถา้ สวมใสก่ ระโปรงแบบพอดตี วั 5. ผูกผ้ากันเปื้อนทุกคร้ังท่ีรับประทานอาหาร และการใช้ผ้าเช็ดปากเม่ือรับประทานอาหารแบบน่ัง โต๊ะ จะช่วยกนั อาหารมิให้กระเด็นเปื้อนเสื้อผ้า 6. ก่อนนอนพัก ควรถอดเสื้อผ้าท่ีสวมออกนอกบ้านก่อน เพอื่ ป้องกันไม่ให้เส้ือผ้าเกิดรอยยับย่นหรือ เกดิ การดึงรง้ั ทำให้เส้ือผา้ ชารดุ 7. ควรปลดเขม็ กลัดทุกชนิดออกจากเสอื้ ผา้ ทกุ คร้งั การระวังรกั ษาเสือ้ ผ้าก่อนซกั 1. แขวนเสอ้ื ผ้าท่ีใช้แล้วและเปยี กเหงื่อใสไ่ ม้แขวนไวก้ ่อน ถ้าไม่ไดซ้ ักทันที จะชว่ ยใหก้ ลิ่นเหง่ือระเหย ออกจากเส้ือผ้า และทำให้เสอื้ ผา้ ไมย่ บั มาก 2. ขจัดรอยเปื้อนทนั ทที ่ีทำได้ เพราะรอยเปอ้ื นใหมข่ จดั ได้งา่ ย 3. แยกเสอ้ื ผ้าสำหรับใชป้ ระจาทชี่ ำรดุ ออกเพ่ือซอ่ มแซมกอ่ นซักจะช่วยปอ้ งกันไมใ่ ห้รอยชำรดุ กว้างขึ้น กวา่ เดมิ การซอ่ มกระดมุ หรอื เครือ่ งเกาะเก่ียว ถ้าทำก่อนซกั จะชว่ ยใหเ้ หน็ ตำแหนง่ เดิมและซอ่ มแซมงา่ ยข้ึน 4. ถอดเครอ่ื งตกแตง่ บนเสือ้ ผา้ ทไี่ มส่ ามารถซักได้ออกก่อน 2.3 ป้ายหรือฉลากสินค้า ข้อแนะนำในการดูแลรักษาผ้ามักจะอ่านได้จากป้ายหรือฉลากสินค้า ผ้าท่ีติดมากับ ผลิตภัณฑ์ ควร อา่ นและทาความเขา้ ใจให้ดแี ละปฏิบัติตามอยา่ งถูกต้องและเหมาะสม จะเปน็ ประโยชน์อย่างย่ิง ปา้ ยหรอื ฉลากสินค้าผ้าโดยทั่วไป จะบอกชือ่ ยีห่ ้อหรือชอื่ การค้าชนิดของเส้นใย เปอร์เซ็นตข์ องใยผสม แหล่งผลติ ขนาด รหัสสนิ คา้ คาแนะนาการใช้ และการดูแลรักษา ข้อความเหลา่ นี้จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผบู้ รโิ ภค ซึง่ จะตอ้ งอา่ นทำความเขา้ ใจและปฏิบัตติ ามโดยเคร่งครัด เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเสยี หายเวลาซักหรือรดี ผา้ เหล่านั้น

การซักด้วยเครื่อง ข้อความบนปา้ ยหรอื ฉลาก หมายถึง (Machine Machine Wash การซกั ด้วยเคร่ืองซกั ผ้าที่รวมถงึ การซักฟอกทำใหแ้ หง้ และ washable) รีดโดยวิธีปกติ รวมท้งั การซักถามสถานที่รับซักรีดและการ Home laundry only ซกั แหง้ การซกั ด้วยมอื No chlorine bleach เหมือนข้างบน แต่ไมส่ ง่ ซักตามรา้ นหรือสถานรบั ซักรีด การทำใหแ้ ห้ง ห้ามใช้สารฟอกขาวคลอรีน Cold wash อาจใช้สารฟอกขาวออกซเิ จนได้ Cold rinse ใชน้ ้ำเย็นธรรมดาหรือตง้ั ปมุ่ น้ำเยน็ ท่เี ครือ่ งซัก Warm wash Warm rinse ใช้น้ำอนุ่ หรือตงั้ ปุม่ นา้ อุน่ ทเี่ คร่อื งซกั Hot wash No spin ใชน้ ้ำรอ้ นหรอื ตั้งปุ่มนา้ ร้อนท่เี คร่ืองซัก Delicate cycle ไม่สลัดแห้ง หยดุ เคร่อื งเมื่อซกั น้ำสุดท้ายเสร็จ Gentle cycle เปิดเคร่ืองซักให้เหมาะกับผ้าบางเบาหรือเหมือนการ ซัก Durable press cycle ดว้ ยมอื Permanent press cycle เปิดเคร่อื งซักใหเ้ หมาะกบั ผา้ ไม่รีด หรือซกั ด้วยน้ำอุ่น Wash separately ลา้ งดว้ ยน้ำเย็น และสลดั แหง้ ช่วงสั้น Hand wash แยกซักต่างหากหรอื แยกสีประเภทเดียวกัน ซกั ด้วยมือ ซัดด้วยมือ ใช้น้ำอุ่น (อุ่นพอมือจุ่มได้สบาย) อาจใช้สาร Hand wash only ฟอกขาวหรืออาจจะซกั แหง้ Hand wash separately เชน่ เดยี วกับขา้ งบนแต่ไมร่ วมถึงการซักแห้ง No bleach แยกซกั ด้วยมือหรอื ซกั กบั ผา้ สีประเภทเดียวกัน Damp wipe หา้ มใชส้ ารฟอกขาว Tumble dry ใชผ้ า้ ชน้ิ หรือฟองน้ำเช็ดออก อบใหแ้ ห้งในเคร่ืองอบผา้ ปรับเครอื่ งตามต้องการ ใช้ความ Tumble dry remove รอ้ นสงู กลาง หรือต่ำ Promptly เช่นเดียวกับข้างบน (tumble dry) เพียงแต่ว่าเมื่อเคร่ือง Drip dry หยดุ ใหร้ บี เอาผา้ ออกทันที ใส่ไม้แขวนท้ังที่ผ้ายังเปียก จัดผ้าให้เรียบและผ่ึงให้แห้ง Line dry ตาก บนราวจนผ้าแหง้ No wring ไม่ต้องบิด ยกข้ึนจากน้ำแล้วแขวนตาก หรือตากบนพื้น No twist ราบ ระวงั ไม่ให้ผา้ ยบั และยดื เสยี รูป Dry flat ตากบนพนื้ ราบ Block to dry คงขนาดและรูปทรงเดมิ ของเสือ้ ไว้ขณะตากหรอื ทำให้แหง้

ขอ้ ความบนป้ายหรอื ฉลาก หมายถงึ การรดี Cool iron รีดดว้ ยอุณหภมู ิต่ำ Warm iron รดี ด้วยอณุ หภมู ิปานกลาง Hot iron รีดดว้ ยอุณหภูมิสงู Do not iron ห้ามรีด Steam iron รีดดว้ ยเตารดี ไอนา้ Iron damp พรมผา้ ให้ชิ้นก่อนรีด อื่น ๆ Dry clean only ซักแห้งเท่าน้ัน Professionally dry ซกั แหง้ โดยผ้เู ช่ยี วชาญเท่าน้นั (หา้ มซกั แหง้ เอง) Clean only No dry clean ปฏิบตั ิตามคาแนะนาท่ีระบุไว้ หา้ มใชส้ ารซกั แหง้ ตวั อยา่ งสญั ลักษณก์ ารซักรีด



การลบรอยเป้อื น การลบรอยเปือ้ นตอ้ งทำก่อนนาผ้าไปซกั และไดผ้ ลดมี ากหากรีบกาจัดรอยเป้ือนตัง้ แต่ยังเปื้อนใหม่ ๆ รอยเป้ือนใหม่จะกำจัดออกได้ง่าย เน่ืองจากเส้ือผ้าทำมาจากเส้นใยต่างกัน จึงต้องมีวิธีกำจัดรอยเป้ือนและ เลือกใช้สารกำจัดรอยเป้ือนท่ีแตกต่างกัน หากทำผิดวิธีหรือเลือกสรรกำจัดรอยเปื้อนมาใช้ผิด จะทำให้เส้ือผ้า เสยี หายได้ ไมค่ วรใชน้ ้ำรอ้ นกับรอยเป้อื นทีย่ งั ไมท่ ราบว่าเปน็ รอยเปื้อนอะไร เพราะความร้อนอาจทำใหร้ อยเปื้อน ติดแนน่ ยิง่ ขนึ้ วธิ ีกำจดั รอยเปอ้ื น มีวิธปี ฏิบัติท่วั ๆ ไป 3 วิธี คอื 1. วิธีจุ่มหรือแช่ เหมาะสำหรบั รอยเป้ือนบริเวณกว้าง ๆ มีรอยเปื้อนหลายแห่งในผ้าผืนเดียวกัน โดย วิธจี มุ่ หรอื แชผ่ า้ เปื้อนลงในน้ำยากำจัดรอยเป้ือนท่ีผสมกับนา้ ให้เหมาะสม 2. วิธีเชด็ ใช้ฟองน้า สำลี หรือผ้าฝ้ายขาวเนอื้ นมุ่ ชุบสารกำจัดรอยเปื้อนเช็ดบรเิ วณเป้ือนโดยเช็ดซ้ำ ๆ ใชก้ ระดาษซับหรือผ้าขนหนูสีขาวรองไว้ด้านล่างของผ้าตรงรอยเป้ือน เพื่อซับน้ำยาและรอยเป้อื นควรทำอย่าง ระมดั ระวงั อยา่ ให้รอยเป้ือนขยายวงกวา้ งออกไปโดยเช็ดจากดา้ นนอกหรือด้านริมของรอยเปือ้ นเข้าส่ตู รงกลาง เปล่ียนสำลหี รือผา้ เชด็ เม่ือรอยเปือ้ นตดิ มาก 3. วิธหี ยด การกำจัดรอยเปือ้ นโดยวิธหี ยดน้ำยาหรอื สารกำจัดรอยเป้ือนลงบนรอยเป้อื นนั้น ใชห้ ลอด สำหรับหยอดยาหรือหลอดแก้วค่อย ๆ หยดแล้วรีบล้างออกด้วยน้ำ ถ้าสารกำจัดรอยเป้ือนนั้นมีฤทธ์ิเป็นกรด หรือดา่ งควรทำให้เปน็ กลางกอ่ นนำผา้ ไปซักใหส้ ะอาด 4. วิธีใช้ไอน้ำร้อน รอยเป้อื นบนผ้าขนสัตว์ ผ้าไหม หรอื ผ้าสี ควรเลือกวิธีกำจดั รอยเป้ือนโดยใช้ไอน้ำ รอ้ นช่วย โดยเอาผ้าตรงรอยเป้ือนพาดปากชามหรืออ่างน้ำร้อน หยดสารกำจัดรอยเป้ือนลงบนรอยเปื้อน ไอ จากน้ำรอ้ นจะชว่ ยใหร้ อยเปอ้ื นออกได้งา่ ยและเรว็ ขึ้น การกำจดั รอยเปอ้ื นทกุ วธิ คี วรทาอยา่ งระมัดระวงั และป้องกันไม่ให้สารกำจดั รอยเปอ้ื นถูกผวิ หนงั ควร สวมถงุ มือยางหรือใช้ปากคมี จับกอ้ นสำลีหรือผ้าท่ีชุบสารทุกครัง้ เมื่อเชด็ รอยเปอ้ื น

การกำจดั รอยเป้อื นธรรมดา





การจำแนกผ้าก่อนซกั กอ่ นซกั ผ้า ควรแยกประเภทผา้ กอ่ นซกั เพ่อื ความสะดวกรวดเร็วและไมเ่ กดิ ปญั หาความเสยี หายแก่ผา้ ผ้าจะได้ สะอาดเสมอกนั และสีไมต่ กใส่กนั ดังน้ี 1. จำแนกผ้าตามสี เชน่ ผา้ ขาว แยกจากผ้าสี 2. จำแนกตามชนดิ ของผา้ เช่น เสอื้ ผา้ ชุดทางาน เส้อื ผา้ ใส่อยกู่ ับบา้ น ผ้าปูท่ีนอนและ ผ้าเช็ดตวั 3. จำแนกตามเน้ือผ้า เชน่ ผ้าเน้ือหนา ผ้าเนื้อบาง นอกจากน้ันควรสำรวจดูเครื่องเกาะเก่ียวในเส้ือผ้า เช่น รูดซิป หรือติดกระดุม เสื้อผ้าที่ต้องการซัก ดว้ ยเคร่อื งซักผ้า เพื่อจะไดไ้ ม่เกาะเก่ียวเสื้อผา้ อนื่ ๆ ในขณะซกั ตรวจดกู ระเป๋า และเก็บเอาส่งิ ของทีต่ ิดอยู่ออก ให้หมด เชน่ ปากกา เศษกระดาษทิชชู เพอ่ื ป้องกันไมใ่ ห้เกดิ ปญั หาระหวา่ งการซกั ภายหลัง การซักผ้า แยกเป็น 2 วิธี คอื 1. การซักผ้าด้วยมือ 2. การซกั ผา้ ด้วยเครอื่ งซักผา้ การซักผ้าดว้ ยมือ ควรแช่ผา้ ในน้าเปล่าที่สะอาดประมาณคร่ึงชั่วโมง เพ่ือให้เส้นใยคายความสกปรกออก แยกแช่ผ้าขาว และผา้ สี ซักผ้าขาวในน้าสบู่กอ่ นใช้ซักผ้าสี ถ้าใช้สบู่เกล็ดซักผ้าบางชนิดควรใช้น้าอุ่นจะละลายได้ง่ายข้ึน แล้ว คอ่ ย ๆ เติมน้ำเย็นใหไ้ ดน้ ้าสบอู่ ุณหภมู ิตามต้องการ ขย้ีสว่ นท่ีสกปรกมาก ไมค่ วรบิดผา้ แรง ซกั ด้วยน้ำเปลา่ มาก ๆ 2 – 3 ครั้ง ถ้าซกั สะอาดน้ำสุดท้ายแลว้ ผ้าไมค่ วรจะมีคราบสกปรกหรือคราบสบู่เหลอื อยู่ เวลาตากบนราว ใช้ไม้หนีบตรงตะเข็บท่ีแข็งแรงท่ีสุด ถ้าเป็นกระโปรงตัวเดียวควรหนีบตรงขอบเอว หนีบที่ตะเข็บเอวสาหรับ เส้ือชดุ หรอื เพอื่ ชว่ ยมใิ หเ้ สยี รูป ควรใส่ไมแ้ ขวนกบั ราว ผ้าที่ไม่ต้องรีด (drip – dry หรือ Wash and wear) ควรซักด้วยน้าสบู่อุ่นปานกลาง และล้างด้วยน้าเย็นจน หมดสบู่แล้วบีบเบา ๆ เอานา้ ออก แขวนตากด้วยไม้แขวนเสื้อหรือโลหะไม่เป็นสนิม โดยปล่อยให้น้าท่ีเหลือให้ แห้งไปเอง เสื้อผ้าขนสัตวท์ ่ีซักได้หรือเสือ้ ถัก เช่น Sweater ควรซักด้วยมือในน้ำสบู่และน้าเย็น ไม่บิดแต่บีบเอา น้ำสบู่ออก ล้างด้วยน้ำเปล่าหลายๆ คร้ังให้หมดสบู่ บีบเอาน้ำออก แล้วซับน้ำที่เหลือด้วยผ้าขนหนูที่สีไม่ตก ตากบนพ้นื เรียบโดยใชผ้ ้าขนหนรู องซบั น้ำวางตวั เส้อื ให้เข้ารูปเดิม ไม่ตากแดดหรอื โดนความร้อนโดยตรง การซกั ผ้าด้วยเครอ่ื ง เครื่องซักผ้าช่วยทุ่นแรงแม่บ้านได้มาก เมื่อซ้ือเครื่องใหม่มาควรติดคาอธิบายและวิธีใช้เคร่ือง ไว้ใน ระดับสายตาเหนอื เครือ่ งซักผ้า เพื่อจะได้จาง่ายวา่ ใชเ้ คร่ืองนัน้ อย่างไร คราบสกปรกบางแหง่ ในเนอ้ื ผ้าเคร่ืองซัก ไม่ท่ัวถึง ยังต้องใช้มือขย้ี ใชแ้ ปรงถู ลบรอยเป้ือน จึงไม่ควรลืมวิธีซักแบบเก่าเสยี ทีเดียว นา้ เย็นซกั ผ้าสะอาดสู้ น้าอุน่ ไม่ได้ ถา้ อณุ หภูมิน้าในเครื่องซักผ้าประมาณ 40 องศาเซลเซียส จะซักผ้าได้สะอาดยิ่งขึน้ ซักผา้ ทส่ี กปรก มาก ๆ ซกั 2 ครง้ั จะสะอาดกว่าเพิ่มปริมาณผงซักฟอกให้มากข้ึน อยา่ ใส่ผ้ามากเกินไป เพราะผ้าจะพันกันยุ่ง ไม่สะอาด และเคร่อื งอาจเสยี ง่าย วางเคร่อื งซักผ้าใกล้กอ๊ กน้า มีทางน้าระบายออกได้ง่าย ใกล้ช้ันวางของใชใ้ น การซกั ผา้ เช่น ผงซักฟอก แปรงถผู ้าแต่ไม่ควรวางในทีช่ น้ื แฉะ เชน่ หอ้ งน้า เพราะอาจเกิดอันตรายจาก ไฟฟ้า ดูด และเคร่ืองจะชารุดง่าย ๆ เครื่องซักผ้าควรอยู่ในที่อากาศถ่ายเทได้ ใช้ผ้าแห้งเช็ดเครื่องซักผ้าหลังจากใช้ แล้วทกุ ครั้ง

ขัน้ ตอนการซกั ผา้ 1. จัดลำดับก่อนหลัง ก่อนซักผ้า ควรแยกประเภทผ้าออกเป็นพวก ๆ ตามชนิดของผ้าและความ สกปรกมากหรือน้อย แยกผ้าสีออกจากผ้าขาว แยกชุดช้ันในออกจากชุดชั้นนอก ถุงเท้าและชุดชั้นในควรซัก เปน็ ลำดบั สุดทา้ ย 2. ใส่ผงซักฟอกก่อน ถ้าใช้เครือ่ งซักผ้า ใส่ผงซักฟอกลงในน้ำในเคร่ืองซักผ้าก่อน กดปุ่มใหผ้ งซักฟอก ละลาย แล้วจึงใส่ผ้าลงไปซัก เพราะถ้าใส่ผ้ากับน้า แล้วใส่ผงซักฟอกทีหลัง ผงซักฟอกจะเกาะติดกันเป็นก้อน ทาใหส้ ผี ้าตกเป็นรอยดา่ ง 3. แขนสั้น และคอเสื้อ ใช้แปรงสีฟันเก่า ๆ แตะผงซักฟอกถูคราบบรเิ วณสกปรกตามแขนเสือ้ และคอ เสือ้ จนหมดรอยเปอ้ื นแล้ว จงึ ซกั ในเครื่องซักผ้า เพราะเครือ่ งซักผ้าไม่อาจกาจัดรอยเปื้อนตามบริเวณดังกล่าว ใหห้ มดไปได้ 4. ถุงน่อง และเส้ือผ้าลกู ไม้ ควรใสถ่ ุงน่องตาขา่ ย ถ้าซักด้วยเครอ่ื งเพ่ือป้องกันไม่ให้พนั กันยุ่งหรือถูก เก่ียวขาดและชารดุ อยา่ ใสผ่ ้ามากชน้ิ เกนิ ไปในเครือ่ งเครอื่ งซกั ผ้าเพราะความสกปรกจะหลุดออกยาก 5. กอ่ นซักน้า นำผ้าท่ีเป้ือนผงซักฟอกลงแช่ในนา้ ผสมน้ายาซักแห้งก่อน ใส่เครอ่ื งซักผา้ และปั่นสักครู่ หนง่ึ กส็ ะอาดหมดจด ไม่เปลอื งน้า และหมดผงซกั ฟอกท่ตี ิดอยจู่ รงิ ๆ 6. ผ้าผนื ใหญ่ เช่น ผ้าปูโต๊ะ ผ้าปูท่นี อน ไม่ควรขยุ้มลงเคร่ืองซกั ผ้า เพราะจะเกดิ ฟองอากาศ ทาให้ผ้า ลอยตวั ข้ึน ควรพบั ทบไปมา ให้ไดข้ นาดประมาณ 1 ฟตุ แลว้ กดใหจ้ มนา้ ในเครื่อง 7. ป่ันผ้าให้แห้ง เครื่องซักผ้ามีท่ีสาหรับป่ันผ้าให้แห้ง แต่ถ้าแดดดีตากแดดก็จะเหมะกว่าประหยัด ไฟฟ้าด้วย แต่ถ้าไม่มแี ดด ควรรู้ว่าผา้ ตา่ งชนิดกันกต็ ้องการเวลาป่ันแห้งต่างกัน ถ้าปั่นนานเกนิ ไป ผ้าจะรดี ยาก เพราะยบั มาก 8. ตากผา้ ผ้าเกือบทุกชนดิ ตากแดดได้ ยกเวน้ แพร ไหม ไนลอน ผา้ ใยสงั เคราะห์ เพราะจะเปลย่ี นเป็น สเี หลือง กรอบ เป่อื ยง่าย ควรตากในที่ลมโกรก เมอ่ื แหง้ พอหมาด ม้วนไวแ้ ละรดี ไดเ้ ลย การรดี กอ่ นลงมอื รดี ต้องแน่ใจวา่ ที่รองรีดสะอาด และหนาพอควร การรดี ควรทาตามลาดบั ดงั นี้ - เตรยี มผ้าที่จะรดี ใหพ้ รอ้ ม - รีดผ้าเป็นชุด ๆ ตามชนิดของผ้า จะช่วยประหยัดไฟและผ้าไม่เสียเรมิ่ ด้วยการปรับหน้าปัดเตารีดต้ัง ให้เหมาะกบั ชนิดของผา้ กอ่ นลงมือรีด แลว้ รองรดี ท่ตี ะเข็บเพ่ือทดสอบความร้อนสำหรับเสอ้ื ผ้าสำเรจ็ รูป ควรใช้ ความรอ้ นตามท่บี อกไวใ้ นปา้ ยท่ตี ดิ มากบั เส้ือ

อณุ หภมู ิท่ีเหมาะกับผ้าชนดิ ตา่ ง ๆ - รดี ผา้ สีเขม้ ทกุ สี ทางด้ านผิด เพ่ือ ไมใ่ ห้ ผา้ ขน้ึ เงาหรอื ดูเปน็ เงา - โดยท่ัว ๆ ไปควรเร่มิ รดี สว่ นหนาของเสอ้ื ผา้ ท่ีเย็บด้วยผ้าสองช้ัน การรีดเสอื้ ผ้า การรีดเส้ือผ้าเปน็ การทาให้ผ้าทย่ี ่นยับท่ีเกิดข้ึนระหว่างการตัดเยบ็ หรือหลังจากการซัก เพื่อทาให้ เสื้อผา้ นั้นเรียบ ได้รูปทรง สวยงาม จึงควรไดเ้ รยี นรวู้ ธิ ีรดี เสอ้ื อย่างถูกต้อง อปุ กรณ์ในการรีด 1. เตารดี ชนดิ ทน่ี ยิ มใช้กันอยู่ทัว่ ไป คือ เตารีดไฟฟ้าแบบธรรมดา และเตารดี ทีใ่ ช้ไอนา้ บางชนดิ กใ็ ช้ได้ท้ังเตารีด ธรรมดาและใช้ไอน้ากไ็ ด้ ใช้ได้กบั ผ้าหลายชนิด ประหยัดแรงงานและเวลาในการรีดไดด้ ี เตารีดทดี่ ีควรมีการ ควบคุมอุณหภมู ิของความรอ้ นตามตอ้ งการทจ่ี ะใช้รดี ผ้าชนดิ ต่าง ๆ เม่อื รดี ผ้าแต่ละชนิดควรอา่ นวธิ ีใช้ใหเ้ ข้าใจ เสียกอ่ น พื้นเตารดี ควรรกั ษาให้สะอาดอย่เู สมอ ถ้ามสี ตี กหรอื รอยเปอื้ นตดิ เตารีด ต้องเช็ดให้สะอาดก่อนรีด ปจั จบุ นั มคี รีมทาความสะอาดหนา้ เตารดี จาหนา่ ย หรอื ใชย้ าสีฟนั ทาหน้าเตารีดแลว้ ถูกับเศษผ้าซ้า ๆ หลายครง้ั จนสะอาดก็ได้เชน่ กนั 2. ท่รี องรีด มหี ลายชนิด ทน่ี ยิ มใชโ้ ดยทว่ั ไปเป็นโตะ๊ ขาโลหะพับได้ มสี ่วนสูงปรับสูงต่าไดต้ ามความต้องการ พืน้ ที่ รองรีดบดุ ว้ ยฟองนา้ หรือผา้ ฝา้ ยบฟุ องนา้ หนาพอสมควร ผวิ เรยี บ ทร่ี องรีดทด่ี ี ใต้ที่รองรีดจะมีรูระบายอากาศ ทาให้ไม่อับช้ืน ผา้ รดี ไดเ้ รยี บยิ่งข้นึ ชนิดท่ชี ่างเส้ือทั่วไปนยิ มอกี แบบหนง่ึ กค็ ือใชผ้ ้าหม่ ราคาถูกพับซ้อนหนาพอประมาณ ใช้ผ้าขาวเน้ือหนา เชน่ ผา้ ดิบ ปูทบั ด้านบน ขนาดของท่ีรองรดี ประมาณ 40 X 60 ซม. วางรดี บนโตะ๊ จะมีขนาดกวา้ งกวา่ โตะ๊ รองรีด แต่ชนิดนเี้ มอ่ื ใช้เสร็จแลว้ ตอ้ งนาไปผ่ึงแดดให้แหง้ 3. หมอนรองรดี มีลักษณะกลม มน ควรมีหลายขนาด ใชร้ องรดี ในส่วนทีไ่ ม่ตอ้ งการให้เตารีดทับสว่ นอื่น ๆ เช่น บรเิ วณ ไหล่ แขนเส้ือ หรือเกลด็ ในตัวเสอื้ กระโปรง เป็นต้น หมอนรองรดี ขนาดเล็ก อาจทาให้พอเหมาะกับความกว้างของแขนเสือ้ ท่พี อจะสอดหมอนเข้าไปได้ จะ ทาให้เส้นในแขนเสอื้ ไดเ้ รียบ และสวย หมอนรองรดี ขนาดใหญ่ ใชส้ าหรบั รองรดี ผ้าสว่ นที่มีเนื้อที่กวา้ งขน้ึ เช่น กางเกงขายาว เป็นต้น

4. กระบอกฉดี นา้ มหี ลายขนาดหลายแบบ มีปากกระบอกฉดี ให้เป็นฝอย พน่ น้าให้ผา้ ชุ่มท่ัวถึงกนั ทาใหร้ ดี ผ้าไดเ้ รยี บ ย่งิ ขึน้ อณุ หภมู ิความร้อนของเตารีด เตารีดบางชนิดจะบอกขนาดความร้อนใหต้ รงกบั ผ้าท่รี ดี ทาให้เขา้ ใจงา่ ยและรีดได้เร็ว เชน่ นอกจากจะบอกขนาดความรอ้ นแล้ว ยังมีคาว่า COOL และคาว่า OFF ซึง่ หมายถึง การปิดโดยไมต่ ้อง ถอดปลั๊กไฟ โดยหมุนไปที่ COOL หรอื OFF เมอื่ ตอ้ งการปดิ ไฟฟ้า หรือหมนุ ไปทีอ่ ุณหภูมคิ วามรอ้ นที่ตอ้ งการ เม่ือจะรดี ใหม่ จะทาใหก้ ระแสไฟฟา้ ไม่เปล่ียนแปลงมากนกั ถ้าถอดปลั๊กไฟฟา้ ออกและเสยี บใหมบ่ อ่ ย ๆ จะทา ให้กระแสไฟฟา้ ข้ึนสงู เสยี คา่ ไฟฟ้าเพ่มิ ข้ึน และถ้าลมื หมุนไว้ท่ดี งั กล่าว เมื่อรดี ต่อถ้าเปน็ ผา้ หนาอาจไม่มปี ญั หา ใด แต่ถา้ เป็นผ้าใยสังเคราะหห์ รอื ผา้ เนอ้ื บางอ่ืน ๆ อาจไหม้หรือติดเตารีด เน่อื งจากเตารดี รอ้ นเกินไป จงึ ควร ระมดั ระวงั และมคี วามรอบคอบดว้ ย ขอ้ แนะนาในการซกั รีดผา้ ชนิดตา่ ง ๆ ผา้ แต่ละชนดิ มีปฏกิ ริ ิยาตอ่ ความรอ้ น ความช้ืน และนา้ หนกั แตกตา่ งกัน แล้วแต่เสน้ ใยการทอการ ตกแต่งผ้า จงึ มีเทคนคิ วิธกี ารรีดผ้าแต่ละชนิดดังนี้ ผา้ ลินิน ซักรีดเชน่ เดยี วกับผา้ ฝ้าย ผา้ ไหม ซกั ในน้ำอุน่ กบั สารฟอกอย่างอ่อน เช่น สบู่ หรือน้ายาซักอ่อน ๆ ถ้ามีรอยเป้ือนควรขจัดรอย เป้ือนทันที เพราะเหงือ่ ไคลจะทาลายเสน้ ใยใหข้ าดง่าย ไม่ขยห้ี รอื บดิ ซกั แล้วม้วนใน ผ้าเช็ดตัว บีบน้าออกบา้ ง รีดดว้ ยความร้อนปานกลาง ขณะที่ยงั ชน้ื อยู่ รีดดา้ นในเสอื้ ผ้า ส่วนที่ยับมากควรรีดรอยยบั ดว้ ยการรีดบนผ้าช้ืน คลุมทบั บริเวณทีจ่ ะรีดใหแ้ หง้ สนทิ

ผา้ ขนสตั ว์ ซักในน้ำอุ่น ใช้สบู่หรือผงซักฟอกอย่างอ่อน เช่นเดียวกับผ้าไหม แต่อาจไม่ต้องล้างน้าหลาย ๆ ครั้ง เพราะน้าสบู่จะช่วยป้องกันการหดตามความยาวของผ้า ถ้าเป็นผ้าถักนิต ควรจัดรูปทรงให้ได้เหมือนเดิมใน ขณะท่ียังเปียก วางบนพื้นราบให้แห้ง รีดด้านหลังด้วยไอน้า หรือรีดบนผ้าช้ืน หรือซักแห้งเหมาะสมกว่าซัก เปยี ก ผา้ เรยอน ซักในน้าร้อนด้วยสบู่หรอื ผงซักฟอกอย่างอ่อน ไม่ควรขยหี้ รือบิดให้ยับมาก ไม่ควรแช่น้าหรือท้ิงไว้ใน น้านาน ไม่ตากกลางแดดจดั รดี ด้วยความร้อนปานกลาง ผ้าไนลอน ซกั ด้วยมือดีท่ีสุด ไม่จาเป็นต้องซักแห้งเลย ใช้น้าและผงซักฟอกท่ัวไป เส้นใยไนลอนเรียบ จึงไม่ค่อย สกปรก และมีความยดื หยุน่ ไม่คอ่ ยยับและคนื ตัวไดด้ ี แทบไม่ตอ้ งรีดหรอื รดี เพยี งเลก็ นอ้ ย ถา้ ต้องการทาให้อยู่ตัวหรือคงรปู เช่น อัดกลีบกระโปรง ใช้ความร้อนรีด หรืออาจตอ้ งใชน้ ้ายาเคมี จึง จะคืนรูปไดด้ ี แมจ้ ะซกั ในครงั้ ต่อไป ผา้ โพลเี อสเตอร์ ซักงา่ ยมาก ด้วยน้าและผงซกั ฟอกท่ัวไป ผ้าไม่ค่อยดูดซมึ ส่ิงสกปรกเข้าไปในเนื้อผ้าง่าย ซง่ึ แลว้ ไม่คอ่ ย เสียรูปทรง แต่ถ้าถูกน้ามันหรือไขมัน ต้องรีบซักออกโดยเร็ว ถ้าปล่อยให้น้าซึมเข้าเนื้อผ้าจะติดแน่นและเอา ออกยาก ฉะน้ันจึงควรซักทันทที เ่ี ปอ้ื นเหงื่อไคล รดี ดว้ ยความร้อนต่า รดี ง่าย ไม่คอ่ ยยบั ผา้ สแปนเด็กซ์ เปน็ ผ้าใยสังเคราะห์ทดี่ ูแลรักษาง่ายชนิดหนง่ึ ซักด้วยผงซักฟอกทั่วไป ลา้ งด้วยน้าธรรมดา ไม่ต้องบิด หรือขยี้ เพราะเสน้ ใยยืดหย่นุ ได้ ไมต่ ้องรีดเสอื้ ผา้ คงรปู ไดด้ ี การรดี ผ้าสาหรับการตัดเยบ็ รดี ก่อนตดั ต้องการผล 2 ประการ คือ - รดี เพอื่ ทาการหด โดยการใช้ไอน้า - รีดเพือ่ ลบรอยยับ รีดเพื่อทาการหดด้วยการใช้ไอน้า เพราะผ้าบางชนิดเมื่อคล่ีออกจากมว้ นหรือพับแล้วจะ เห็นโป่งเป็น บางท่ี แสดงว่าเส้นด้ายหดไม่เทา่ กัน มีอะไรบางอย่างมากทาให้เฉพาะตรงนั้นนูนออกมามากกว่าท่ีอื่น การหด ตวั ดว้ ยวธิ ีดังกลา่ วชว่ ยไดถ้ า้ ไม่ต้องการใหผ้ ้านนั้ จุ่มน้า หรือซักน้าไม่ได้ กต็ อ้ งใชว้ ิธรี ีดไอนา้ เปน็ เครอ่ื งหดเส้นดา้ ย เขา้ ท่ีเดิม รอยพับบางท่ี เช่น สันทบของผ้าเป็นรอยพับมาก ลบให้หายไปได้ยาก บางครั้งเม่ือตัดเป็นเสื้อแล้ว ยังคงเห็นเปน็ รอยอยู่อาจทาใหเ้ สยี ความงามไปได้ จึงควรทาให้ลบรอยหายไปกอ่ นตัด หรอื ไม่กต็ ดั ใหร้ อยพบั นั้น ใชป้ ระโยชนใ์ นสว่ นหน่งึ ส่วนใดเสยี เลย เชน่ ใชเ้ ป็นสนั ทบของปก หรอื สาบ เป็นตน้ การรดี ระหวา่ งเย็บ 1. ควรรดี เศษผา้ ใช้ตดั ตัวเสอ้ื กอ่ นเสมอ เพ่อื จะได้ทราบวา่ ตอ้ งการความร้อน ความชื้น และนา้ หนกั กด ของผ้าอย่างไร เพราะเสอื้ ที่รีดดแี ลว้ ขนาดและผิวสมั ผัสของผ้าจะไม่เปลี่ยนแปลง ผา้ กาบาดีนถา้ รดี ไมถ่ กู วิธจี ะ ขึ้นเงา เป็นรปู ทเี ดียว 2. พยายามรดี ตามเสน้ ด้ายตามยาวเสมอ เพอ่ื ใหด้ า้ ยพงุ่ และดา้ ยยืนตั้งฉากกันดังเดมิ 3. ขั้นนีค้ วรรดี กดเสมอ ถา้ เป็นผา้ ทไ่ี มย่ ืดง่าย เช่น ลนิ นิ ฝ้าย บางชนิดกใ็ ช้เตารีดไถได้

4. พยายามรดี ดา้ นในของตวั เสือ้ ให้มากเทา่ ท่ีจะทาได้ 5. รดี ส่วนย่อย ๆ ของตัวเส้ือก่อนที่จะนามาประกอบกันเป็นตัวเสื้อเป็นตน้ ว่า เกลด็ ที่อกเสอื้ ด้านข้าง รีดให้เรียบเข้าตะเข็บข้าง รดี เกล็ดหลังก่อนเข้าตะเข็บบ่า หรือรีดแบะตะเข็บแขน ตะเข็บขา้ ง ตะเขบ็ ไหล่ก่อน เข้าแขนเสื้อ เป็นต้น 6. สว่ นหนึ่งสว่ นใดของเส้ือทต่ี ้องการใหเ้ ป็นรูปมนรดี บนหมอนรอง การรดี ตะเข็บ ดงึ ดา้ ยเนาทกุ เสน้ ออกกอ่ นที่จะรดี ตะเข็บไหล่ และไมต่ ะเข็บจนกวา่ แต่ละตะเขบ็ น้ันจะเรยี บร้อยแลว้ 1. ตะเข็บท่ีเป็นส่วนโค้ง เช่น ตะเข็บข้างจากเอวถึงสะโพกต้องไม่ให้ผ้าสองข้างตะเข็บยืด โดยรีดข้าง ใน แบะตะเข็บออกก่อน ใช้ปลายเตาระยะเพียง 2 – 3 นิว้ ทีละครั้ง แล้ววางส่วนโค้งน้ันลงบนหมอนรดี ด้าน นอกอีกทหี น่งึ 2. ตะเขบ็ ใด ๆ ที่ข้างหนึง่ จบี รูด ย่น อีกขา้ งหน่ึงเป็นผา้ เรยี บ รีดตะเข็บใหพ้ ับไปทางผ้าเรยี บเสมอ 3. ตะเขบ็ ตอ่ เสอื้ กระโปรงที่เอว รดี พบั ลงหากระโปรง ถ้ากระโปรงไมจ่ บี หรอื รดู 4. ตะเข็บทต่ี อ่ ในช้นิ เสือ้ หรือในช้ินกระโปรง รีดพับเข้าหาชน้ิ ตอ่ 5. ตะเข็บใด ๆ ท่ตี อ้ งการให้เนื้อผา้ ขน้ึ คมสันเรยี บ โดยไม่เหน็ รอยเย็บเลย ตอ้ งรีด ตะเขบ็ ลับเข้าไปในผ้าชิ้นลา่ งท่ีปกทุกชนดิ ท่สี าบแบะออก เพื่อใหไ้ ด้สนั ผา้ ทีค่ มและบางเรยี บ การรดี เกล็ด รดี ไปตามทางที่เรม่ิ เย็บ ดงั น้ี 1. ดา้ นในตัวเสื้อ เกล็ดท่ีมฐี านท่ีเอว และตะเข็บไหล่ พับรีดเกล็ดให้หันเข้าหากลางตัวเส้ือเสมอ เกล็ด ขา้ งตัว รักแร้ รีดลงหาเอว เกล็ดข้อศอกรดี ลงหาข้อมือ ควรรีดเกล็ดเหล่านี้บนหมอน เพ่ือให้เน้ือที่ปลายเกล็ด กลมมน 2. ถ้าผ้าหนามาก เช่น เมื่อทาเสื้อกันหนาวด้วยผ้าขนสัตว์หรือผ้าอย่างอ่ืนท่ีเป็นรอยนูนด้านนอกได้ ง่าย ต้องตดั ตะเขบ็ เกอื บสดุ ปลายแลว้ แบะออก จงึ รีดใหเ้ รียบ 3. สาหรับเกล็ดทเี่ ยบ็ ไมส่ ดุ ปลาย คอื ปล่อยเนอ้ื ผา้ จบี ไว้ ใหร้ ีดเหมือนกับรดี พับจบี ไปขา้ งใดข้างหนึ่ง การรีดสว่ นทม่ี ีรอยรดู ยน่ ตอ้ งรดี ผ้าสว่ นท่ีจะรดู ย่นน้นั ให้เรียบเสียก่อน และเมอ่ื เวลารีด จะต้องไมร่ ดี ทับไปบนรอยรูดและรดี เข้า หารอยรูดเสมอ การรีดชายกระโปรง ให้รีดชายกระโปรงที่เย็บเสร็จแล้วจากชายข้ึนมา และไม่รีดไปรอบ ๆ เป็นอันขาด (ไม่รีดขวางรอบ ชายกระโปรง) เพราะชายกระโปรงส่วนมากมีส่วนโค้งเล็กน้อย ถา้ รดี ขวางมกั ยืด และย่นเป็นลูกคลน่ื ได้ จึงต้อง รดี ให้หายไป เมอ่ื รีดชายกระโปรงด้านนอกตอ้ งรดี บนผา้ หนา ๆ จึงจะไมท่ าให้รอยพับนูนออกมาดา้ นนอก โดย ใชผ้ ้าขนหนรู องอกี ช้นั กไ็ ด้ การรดี แขนเส้ือ เสอ้ื แขนยาวที่มีเกล็ดข้อศอก ควรรีดเกล็ดเสียก่อนเย็บแขน โดยสอดแขนเขา้ ในที่รีดแขนหรอื จะรีดให้ หมอนสาหรบั รองรีดแขนโดยเฉพาะก็ได้ รีดทอ้ งแขนแล้วจึงรดี แขนส่วนบนท่ตี รงไหล่ เม่อื รีดตะเขบ็ รอบวงแขน ท่ีเย็บติดเข้ากับตัวเสื้อให้รีดจากส่วนบนใกล้ไหล่ก่อน และรีดด้านในก่อน จึงกลับออกรีดด้านนอกโดยสอดวง แขนเข้ากับทรี่ ีดหรือหมอนรองรดี กไ็ ด้

การรีดเมื่อเสรจ็ แลว้ ถา้ ได้ปฏิบัติการรีดในข้ันของการเย็บแต่ละขั้นอย่างถกู วิธีแล้ว การรีดข้ันสุดท้ายของตัวเสื้อเกือบไม่มี ความสำคัญเลย บนเส้ือดา้ นนอกรีดส่วนปลีกย่อยก่อน เช่น คอ กระเป๋า ตัวแขน ตะเข็บข้างก่อน แลว้ จึงรีดตัว เส้อื และตอ้ งรีดทางเสน้ ดา้ ยยนื เสมอ (ดา้ นยาว) โทษของการรดี ไมถ่ ูกวธิ ี มดี งั น้ี 1. ผ้าทีไ่ ม่ตอ้ งการข้ึนมนั กลับเปน็ มนั ตามรูปเตา 2. ตามท่ที คี่ วรจะมพี ื้นหนา้ เรยี บ เปน็ รอยย่นยับ 3. ตะเขบ็ โปง่ ไมเ่ รียบเท่าท่ีควร เม่ือเรารูห้ ลกั และขอ้ บกพรอ่ งของการรีดผ้าดงั กลา่ ว เวลารีดจึงควรทาตามหลกั การและ แก้ไขข้อบกพร่องเหล่าน้ีเสีย เราก็จะรีดผ้าได้เรียบทุกคร้ัง และไม่เสียเวลาเปล่าโดยไม่เป็นประโยชน์ งานรดี ผ้านอกจากจะอาศัยหลักการดังที่กล่าวมานี้ยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องผ้า และสีของผ้าอีกด้วย เพราะ ผ้าแต่ละชนิดมีหลายสีหลายชนิดด้วยกัน ซึ่งจะทนต่อความร้อนไม่เท่ากัน และทาให้เส่ือมคุณภาพได้ จึงควร ปฏิบตั ติ ามขอ้ แนะนาทกี่ ล่าวมาแล้วขา้ งตน้ ดว้ ย จึงจะได้รับประโยชน์เตม็ ทีแ่ ละคุ้มคา่ จากการรดี การดูแลรักษาเสือ้ ผ้าท่ีมลี กั ษณะพเิ ศษ - ผา้ สีขาว เก็บไวน้ าน จะเป็นสีเหลอื งไม่นา่ ใช้โดยเฉพาะผ้าลินนิ เปล่ียนเป็นสีเหลอื งง่ายมาก ต้องห่อ กระดาษสเี งินเวลาเกบ็ ผ้าสขี าวจะไมเ่ ปลยี่ นสี - ผ้าไหม ผสมน้ายาซักแห้งในน้า แช่ผ้าไหมนานพอให้รอยสกปรกหลุดออก ใช้แปรงอ่อน ๆ ปัดตาม รอยที่เลอะ ผึ่งลมดีกว่าตากแดด รีดด้วยเตารีดอุ่น ๆ เมื่อผา้ ไหมยังหมาดโดยวางผ้าอ่ืน เชน่ ผ้าเช็ดหน้าลงบน ผา้ ไหมแล้วจึงรดี ทับลงไปบนผ้าน้นั - ผ้าไหมสีดา เช็ดรอยเป้ือนผ้าไหมสีดาด้วยมันฝร่ังดิบฝาน ใช้ฟองน้าแตะตรงรอยฝาน และเช็ดรอย เปอ้ื นออก แล้วจงึ ซักภายหลงั อยา่ ใช้สบ่มู ากเพราะอาจเปน็ รอยดา่ งเม่ือผึ่งแดด - ผ้าไหมสีขาวหรือสีนวล ซักในน้าผสมสบู่ แต่อย่าใช้สบู่ฟอกโดยตรง ซกั ด้วยน้าอุ่นเจอื ครามเล็กน้อย สขี องผา้ ไหมจะขาวหรอื เป็นสนี วลสวยให้เรียบ - ชุดอาบน้า ต้องลองสวมท่รี า้ นก่อนซ้ือ อยา่ ฝากคนอ่ืนซื้อ และอย่าใชว้ ธิ ีกะขนาดโดยไมล่ องสวม เม่ือ ซื้อมาแล้ว ให้แช่ชุดอาบนา้ ไว้สัก 5 – 6 ชวั่ โมง แลว้ ลองสวมดูท่ีบ้านก่อนไปว่ายน้าเพื่อให้แน่ใจวา่ ตัวเสื้อไมย่ ืด หย่อนผิดขนาด - ผ้าลูกไม้ ไม่ควรใส่ในเคร่ืองซักผ้า เพราะจะเสียเร็ว ควรซกั ด้วยมือ บีบเบา ๆ แตอ่ ย่าขยี้หรือพับทบ หอ่ ด้วยผ้าเก่า ๆ แล้วจึงนาลงแช่ในอา่ งน้าผสมสบู่ - ผา้ ลกู ไมส้ ีขาว ซกั ด้วยนา้ ยาซักฟอกชนดิ เปน็ ด่าง - ผ้าลกู ไม้ราคาแพงผืนใหญ่ ต้องห่อด้วยผ้าอ่นื แล้วแช่น้าสบู่ใช้มอื บีบเบา ๆ จนหมดความสกปรก แผ่ ตากตามแนวนอน ห้ามแขวนตากเพราะจะยืดและเสยี รปู ร่าง - รดี ผา้ ลกู ไม้ ชนิดเป็นแผ่น อย่างผ้ารองจาน ผ้าปูตู้ ควรตึงด้วยเขม็ หมดุ ติดกบั ผ้ารองรีดแล้วจึงรีดให้ เรยี บ ผา้ ลกู ไม้จะเปน็ แผ่นตามขนาดเดิม ไม่ยืดหรอื หดและไมเ่ บ้ยี วโยเ้ ย้ - ผ้าแพร ผ้าหม่ แพรเพลาะ ผ้าเน้ือบางลื่น ก่อนใช้ควรซักเสียก่อน ใส่แอมโมเนีย 1 – 2 หยอด ลงใน นา้ แช่ผ้าไว้ 1 ชวั่ โมง จะซักไดส้ ะอาดงา่ ยกวา่ ธรรมดา - ผ้าม่าน ผ้าม่านสีขาวและยอ้ มสี ควรแช่ในน้าผสมสารส้ม ในอัตราส่วนน้า 2 ถัง กับสารส้มครง่ึ ถ้วย ผงึ่ ผา้ ในทลี่ มโกรก ไม่ตอ้ งตากแดด เมือ่ ผา้ มา่ นแหง้ แล้วแขวนเขา้ ทเี่ ดิม ผ้ามา่ นจะดสู ะอาดและไมต่ ิดไฟง่าย - ผา้ ห่ม แชค่ ้างคืนในอา่ งใส่น้าเยน็ รุ่งเชา้ บิดนา้ ออก ซักดว้ ยสบู่ซกั ฟอกธรรมดา

- ผา้ ห่มขนสตั ว์ คลตี่ ากไว้ในรม่ 1 วนั กอ่ นใช้ - ผา้ นวมและผา้ ห่มยัดขนเปด็ ขนไก่ ผ่ึงแดดไล่ความช้นื 1 วัน สะบดั แรง ๆ ใหอ้ ากาศเข้าไปข้างใน ใช้ มอื ตบให้ขนทีย่ ดั ไวเ้ รยี งตวั กนั ทาเช่นน้บี อ่ ย ๆ - ดอกไม้ผ้า ชนิดท่ีใช้ติดเส้ือ และจัดตกแต่ง เมื่อซื้อมาแล้ว พ่นสเปรย์แป้งลงมา ตากในท่ีร่มจะช่วย รักษาสไี ด้ การเก็บรักษาเส้ือผ้าเครื่องนุ่งห่ม การดูแลรกั ษาเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายอย่างถูกวธิ ี ไมเ่ พียงแตจ่ ะทาใหข้ องเหลา่ น้ันสะอาดนา่ ใช้และช่วย เชิดชูบคุ ลิกภาพผสู้ วมใสเ่ ท่านนั้ ยงั ทาให้ของใชเ้ หลา่ นั้นมีอายกุ ารใชง้ านนานข้ึน ช่วยรกั ษาเสอ้ื ผ้าใหค้ งรปู และ อยใู่ นสภาพพร้อมทจี่ ะใชไ้ ด้ทันที ซง่ึ หมายถงึ ตู้เส้ือผ้าขนาดพอเหมาะทแี่ บง่ เนื้อท่ไี ว้สาหรับเกบ็ เสื้อผา้ เครื่องแต่ง กายแตล่ ะชนิด มีท่ีสาหรบั เส้ือผา้ ที่จาเป็นด้วย การแขวน มลี น้ิ ชักเก็บเส้ือผ้าท่ไี ม่ได้ใช้บ่อยให้พน้ จากตัวกนิ ผ้า มชี ั้นสาหรับเก็บเสื้อผ้าท่ีพบั ซ้อนกันได้ นอกจากน้ันการมีอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับการซักรีดขจัดรอยเปื้อน และซ่อมแซมพร้อมไว้เสมอ ตลอดจนรู้ วิธกี ารทางาน ลว้ นมีสว่ นชว่ ยใหง้ านดแู ลรักษาเส้อื ผ้าเคร่อื งแต่งกาย ทาไดง้ า่ ยขน้ึ ทง้ั ส้ิน เสือ้ ผ้าที่ใช้เฉพาะฤดูกาล หลงั ใชแ้ ล้วควรไดร้ ับการดแู ลรกั ษาให้สะอาดเรยี บรอ้ ยก่อนเก็บเพ่อื ใหพ้ ร้อม ทีจ่ ะใชใ้ นปีตอ่ ไป เช่น เสอื้ กันหนาว เพราะเสือ้ ผ้าเหล่าน้จี ะถูกใชไ้ มเ่ พยี งเฉพาะฤดูหนาว แตอ่ าจใช้สาหรับหน้า ฝนหรอื เมอื่ อากาศหนาวเย็นผิดปกตดิ ว้ ย เสื้อผา้ ทีซ่ กั รดี สะอาดแลว้ ควรเกบ็ รกั ษาเพือ่ การใช้งานคร้ังตอ่ ไป มีข้อควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. เกบ็ เข้าตโู้ ดยการพับแยกใหเ้ ป็นพวก ควรวางผา้ ที่มีนา้ หนักเบาไวบ้ น ผ้าหนกั กว่า ไว้ลา่ ง 2. ถ้าไม่พับใสไ่ มแ้ ขวน ควรแขวนเสือ้ กางเกง กระโปรงเปน็ พวก ๆ ไม่ปะปนกนั 3. ปลอกหมอน ผ้าปูท่ีนอน ผ้าเช็ดตัว ผ้านุ่ง ผ้าขาวม้า ต้องแยกกันไว้ อย่าซ้อนปะปนกัน เก็บไว้ให้ เป็นที่ 4. ถุงเทา้ ควรใส่กลอ่ ง หรือตะกร้าไว้ใกลร้ องเทา้ 5. ผ้าเชด็ หน้า ชุดช้นั ใน ควรใส่ลนิ้ ชกั เป็นพวก ๆ ใหห้ ยิบงา่ ย 6. เสอื้ ผ้าเม่ือใสแ่ ลว้ ควรผ่งึ ให้แห้งแลว้ ใสต่ ะกรา้ เตรยี มซกั ถา้ ซกั ทันทจี ะซักง่าย 7. เวลาสวมใส่ ควรหลกี เล่ียงการทาให้เป้อื น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook