Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย1_เวลาและเหตุการณ์

หน่วย1_เวลาและเหตุการณ์

Published by Nannongbon School, 2021-07-02 03:03:38

Description: หน่วย1_เวลาและเหตุการณ์

Search

Read the Text Version

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๑ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๒ ประวัติศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๓ ๑_หลักสตู รวชิ าประวตั ิศาสตร์ ๒_แผนการจดั การเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ขอ้ สอบประจาหน่วย_เฉลย ๖_ขอ้ สอบ_เฉลย ๗_การวัดและประเมนิ ผล ๘_เสริมสาระ ๙_สอ่ื เสริมการเรียนรู้ บรษิ ัท อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๑หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เวลาและเหตกุ ารณ์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. สำมำรถนับชว่ งเวลำเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษได้ ๒. อธบิ ำยยุคสมยั ในกำรศึกษำประวัตขิ องมนษุ ยชำตโิ ดยสงั เขปได้ ๓. แยกแยะประเภทหลกั ฐำนทใี่ ชใ้ นกำรศึกษำประวตั ิควำมเป็นมำของทอ้ งถิ่นได้

เวลา ชว่ งเวลา และยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์

ความสาคัญ ของเวลากบั ประวตั ิศาสตร์ ทำให้รู้วำ่ เหตกุ ำรณ์ตำ่ งๆ เกดิ ขึ้นเม่ือใด ทำให้เข้ำใจควำมสัมพนั ธ์ ของเหตุกำรณไ์ ด้

ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ (๑๐ ป)ี (๑๐๐ ป)ี (๑.๐๐๐ป)ี ทศวรรษ เวลำในรอบ ๑๐ ปี เริ่มนับจำกปีที่ขน้ึ ต้นดว้ ยเลข ๐ ไปส้ินสดุ ท่ี ๙ ศตวรรษ เวลำในรอบ ๑๐๐ ปี เรมิ่ นบั จำกปที ี่ขึน้ ตน้ ด้วยเลข ๑ ไปสิ้นสุดท่ี ๑๐๐ สหสั วรรษ เวลำในรอบ ๑,๐๐๐ ปี

ยคุ สมยั หินเก่ำ หนิ กลำง ทางประวตั ิศาสตร์ หินใหม่ ไมพ่ บตวั อกั ษร สำริด สมยั ก่อนประวตั ศิ ำสตร์ เหลก็ สมัยหิน สมัยโลหะ

พบตัวอกั ษร สมยั ประวตั ิศำสตร์

สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ แบ่งช่วงเวลำออกเป็นสมัยหนิ กบั สมัยโลหะ เกณฑ์กำรแบ่งสมยั ข้นึ อยู่กับหลกั ฐำนเคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ที่ค้นพบ สมัยหนิ มนษุ ยใ์ ชห้ ินทำเครอื่ งมือเคร่อื งใช้ สมยั หินเกำ่ • มนษุ ยใ์ นสมยั หินเก่ำมคี วำมเป็นอยู่แบบเรร่ ่อน • อำศยั อยู่ตำมบริเวณถำ้ และเพงิ ผำ • เกบ็ ของป่ำและออกลำ่ สัตวเ์ ปน็ อำหำร • เคร่ืองมอื หนิ ทใี่ ชจ้ ะมลี ักษณะหยำบๆ ใช้ทุบ ตัด หรอื สบั สมยั หนิ ใหม่ • มนษุ ย์ในสมยั หินใหม่เรมิ่ ต้ังหลักแหลง่ อยรู่ วมกันเปน็ กลุม่ เลก็ ๆ • เร่มิ ทำกำรเพำะปลูกและเล้ียงสตั ว์ • เครอื่ งมือหนิ ทใ่ี ชม้ ีกำรขัดให้คม มผี วิ เรยี บ • มีกำรปน้ั ภำชนะดนิ เผำทีม่ ีกำรตกแตง่ ให้สวยงำมไว้ใช้

สมยั โลหะ มนุษยเ์ ริ่มใชโ้ ลหะทำเปน็ เคร่ืองมือเครือ่ งใช้ สมยั สำรดิ • มนษุ ยใ์ ชส้ ำรดิ ทำเปน็ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้และอำวุธ • สำรดิ เปน็ โลหะผสมระหวำ่ งทองแดงกบั โลหะอ่ืนๆ • มคี วำมก้ำวหนำ้ ในกำรหลอมโลหะ เครื่องมือเคร่ืองใชม้ คี วำม แข็งแรง สมัยเหล็ก • มนุษยม์ คี วำมกำ้ วหน้ำในกำรถลงุ และหลอมเหล็ก • นำเหลก็ มำทำเครื่องมือเครอ่ื งใช้และอำวธุ • เครอื่ งมอื เหล็กมีควำมทนทำนกวำ่ สำรดิ ทำใหก้ ำรเกษตร มีควำมกำ้ วหน้ำมำกขน้ึ มนุษย์สมยั โลหะอยรู่ วมกนั เป็นชุมชน ทำกำรล่ำสัตว์ กำรเพำะปลูก มพี ิธีกรรม

สมยั ประวตั ศิ าสตร์ อกั ษรคนู ฟิ อร์ม อกั ษรคูนฟิ อร์ม เปน็ ตวั อักษรท่คี ้นพบว่ำเก่ำแก่ที่สดุ ของชำวสเุ มเรยี น ในภมู ิภำคตะวันออกกลำง

ศลิ ำจำรึกเขำนอ้ ย ศลิ าจารึกเขานอ้ ย หลักฐำนสมัยประวัติศำสตร์ที่เก่ำแก่ทสี่ ุดท่ีพบใน ดนิ แดนไทย พบท่ี ตำบลคลองนำ้ ใส อำเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว

อกั ษรไฮโรกลฟิ กิ อักษรไฮโรกลฟิ ิก ประดิษฐโ์ ดยชำวอยี ปิ ต์โบรำณมลี ักษณะเปน็ อกั ษร ภำพ ใชส้ ลกั เรอื่ งรำวเกยี่ วกับองค์ฟำโรห์ รำชวงศ์ และ กิจกรรมอนั เกี่ยวข้องกับกำรปกครองและศำสนำ

ชว่ งสมยั สมัยอยุธยา สมัยรัตนโกสินทร์ ของไทย ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๓๒๕-ปจั จุบัน สมยั อาณาจกั รรุ่นแรกๆ นับชว่ งเวลำก่อนกำรตง้ั อำณำจักรสุโขทัย ก่อน พ.ศ. ๑๗๙๒ ๑๗๙๒ ๒๘๙๓ ๒๓๒๕ ๑๕๐๐ ๑๖๐๐ ๑๗๐๐ ๑๘๐๐ ๑๙๐๐ ๒๐๐๐ ๒๑๐๐ ๒๒๐๐ ๒๓๐๐ ๒๔๐๐ ๒๕๐๐ ๑๗๙๒ ๒๓๑๐ พ.ศ. ัปจ ุจบัน สมยั สุโขทยั สมยั ธนบรุ ี ต้ังแต่ พ.ศ. ๑๗๙๒ จนถงึ ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕ กรุงสโุ ขทยั ถูกรวมเขำ้ กบั กรงุ ศรอี ยุธยำ ใน พ.ศ. ๒๐๐๖

๑ สมยั รตั นโกสินทร์ตอนตน้ รัชกำลที่ ๑ รชั กำลที่ ๒ รชั กำลท่ี ๓ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๔ อยูใ่ นช่วง ๓ รชั กำลแรก เป็นชว่ งกำรฟืน้ ฟูอำณำจกั รในด้ำนกำรป้องกนั บ้ำนเมือง เศรษฐกิจ ศิลปวฒั นธรรม และพระพทุ ธศำสนำ ๒ สมยั รตั นโกสินทร์ยุคปรบั ปรงุ และปฏิรปู ประเทศ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๗๕ เป็นช่วงที่มีกำรติดต่อกบั ต่ำงชำติ มกี ำรปรับปรงุ ประเทศให้ทนั สมัย แบบชำติตะวนั ตก จนถึงกำรเปลยี่ นแปลงกำรปกครองเปน็ ระบอบประชำธิปไตย ๓ สมัยประชาธิปไตย ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ถงึ ปัจจบุ นั เป็นชว่ งท่ีมกี ำรปกครองแบบประชำธปิ ไตย

ชว่ งสมัย ท่ยี ึดตามการเปล่ยี นแปลงของบา้ นเมือง พ.ศ. ๒๓๐๐ เรมิ่ ตน้ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ๒๓๒๕ ๒๔๐๐ ๒๓๙๔ เขำ้ สู่สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ยุคปรับปรุง และปฏริ ูปประเทศ ๒๔๗๕ เปลย่ี นแปลงสู่สมยั ประชำธปิ ไตย ๒๕๐๐

หลักฐาน ของท้องถิ่น หลกั ฐำนชน้ั ตน้ หลักฐำนชัน้ รอง

หลกั ฐานชนั้ ต้น หลักฐำนในช่วงเวลำเดยี วกบั เหตกุ ำรณ์ เช่น บันทึกของผคู้ น ที่อยู่ในเหตกุ ำรณ์ หนังสอื พิมพ์ รปู ถำ่ ย ส่ิงของ เปน็ ต้น หลกั ฐานชน้ั รอง ลูกปัดโบรำณ พบทีบ่ ้ำนเชยี ง จงั หวัดอดุ รธำนี เคร่อื งปั้นดนิ เผำลำยเขียนสแี ดง พบที่บำ้ นเชียง จงั หวดั อุดรธำนี หลกั ฐำนท่ีเขยี นหรอื รวบรวมขนึ้ ภำยหลังเหตุกำรณ์ โดยผูเ้ ขียนเขียนขึ้นจำกกำรศกึ ษำหลกั ฐำนชนั้ ตน้ โดยหลกั ฐำนช้ันรองมีควำมนำ่ เช่ือถือน้อยกว่ำหลกั ฐำน ชั้นต้น เพรำะได้เขยี นข้นึ ภำยหลังเหตกุ ำรณน์ นั้ ๆ แต่หลกั ฐำนชั้นรองสำมำรถใชค้ ้นคว้ำได้สะดวกกวำ่

หลกั ฐานชั้นต้นในการคน้ ควา้ ประวัตคิ วามเป็นมาของท้องถิ่น สถานที่สาคญั ในท้องถิ่น รูปถ่าย ภำพถ่ำยคลองบำงลำพูในกรงุ เทพฯ สมัยรัชกำลท่ี ๕ หนงั สอื พิมพ์ สง่ิ ของตา่ งๆ พพิ ิธภัณฑ์วดั ม่วง จงั หวดั รำชบรุ ี มัสยิดกลำง จังหวัดปตั ตำนี

หลักฐานชั้นรองในการคน้ ควา้ ประวัติความเปน็ มาของทอ้ งถน่ิ ตานาน เร่อื งเล่ำต่อๆ กนั มำ เรอื่ งรำวเปลี่ยนแปลงไปตำมกำรแตง่ เตมิ หรือตำมควำมทรงจำของผูเ้ ลำ่ หนังสือ บำงตำนำนอำจถกู บันทึกเปน็ ลำยลักษณ์อกั ษรหลังกำรแตง่ ข้ึน ไมม่ ีกำรระบุชว่ งเวลำที่แนน่ อน เรอื่ งทอ่ี ยูใ่ นตำนำนมักมีเรื่องของส่งิ เหนอื ธรรมชำติ ไม่ควรเชอื่ เรอ่ื งรำวท้ังหมดท่ีเกดิ ในตำนำน มีท้ังท่ีเขียนโดยหน่วยงำนรำชกำรและบุคคลทัว่ ไป หนังสือเกย่ี วกับทอ้ งถ่นิ ทำให้เรำสำมำรถค้นคว้ำได้สะดวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook