แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 10 หน่วยการเรียนรู้ เร่ือง การสืบพันธ์ุและการเจริญเติบโตของสตั ว์ วิชาชีววทิ ยา 5 (ว33250) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 เร่อื ง การสืบพนั ธข์ุ องคน เวลา 4 คาบ ครผู สู้ อน นางสาวศรอี ุดร ลา้ นสาวงษ์ 1. ผลการเรียนรู้ 1. สบื คน้ และอธบิ ายเกย่ี วกับการสบื พันธุข์ องคน 2. สบื คน้ และสรปุ เก่ียวกับกระบวนการสร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยน้ำนม 3. อธบิ ายการใชเ้ ทคโนโลยีในการแก้ไขปญั หาภาวะมบี ตุ รยาก 4. นำความรู้เรื่องการสบื พนั ธุ์ของคนไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั 5. ประเมนิ ความสำคญั ของการสืบพันธุ์ของคน 6. มีจิตวิทยาศาสตร์ 2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การสืบพนั ธุข์ องคน อวัยวะสบื พนั ธ์ุเพศชายประกอบดว้ ย อณั ฑะเป็นแหล่งสรา้ งอสุจิ หลอดเกบ็ อสจุ ิ หลอดนำอสจุ ิ ต่อมสรา้ งน้ำเลี้ยงอสุจิ ต่อมลูกหมาก ตอ่ มคาวเปอร์ อวัยวะสืบพันธเุ์ พศหญิงประกอบดว้ ยรงั ไขเ่ ปน็ แหลง่ สรา้ งเซลล์ไข่ ทอ่ นำไข่ มดลูก เซลลไ์ ข่ท่ไี ดร้ ับ การปฏสิ นธเิ รียกวา่ ไซโกต ซึ่งจะเจริญเติบโตเป็นเอ็มบรโิ อและฝังตวั ในมดลูก 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ 3.1 ดา้ นความรู้ (K) 1) สบื คน้ ข้อมูล และอธบิ ายการสืบพันธ์ขุ องคน 2) สืบค้นข้อมลู และอธบิ ายกระบวนการสร้างเซลล์สืบพนั ธ์ุของสัตวเ์ ลย้ี งลูกด้วยน้ำนม 3) สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ ายการใชเ้ ทคโนโลยใี นการแก้ไขปัญหาภาวะมีบตุ รยาก 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1) วเิ คราะห์และสรปุ การกระบวนการสร้างเซลลส์ บื พนั ธุข์ องสตั วเ์ ลีย้ งลกู ดว้ ยน้ำนม 2) ทำกจิ กรรมเพอ่ื ศึกษาเกย่ี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยใี นการแก้ไขปญั หาภาวะมบี ตุ รยาก 3.3 คุณลักษณะ (A) 1) มคี วามใฝเ่ รยี นรู้ 2) การร่วมแสดงความคิดเหน็ และยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผ้อู นื่ และทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น อยา่ งสร้างสรรค์ 3) ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและการเข้าชั้นเรียน 4. เน้ือหาสาระ ระบบสบื พันธุข์ องคน แบ่งเป็น 1. โครงสร้างระบบสบื พันธเุ์ พศชาย 2. โครงสรา้ งระบบสบื พนั ธ์เพศหญิง 1. โครงสร้างระบบสบื พนั ธ์เุ พศชาย ประกอบด้วย 3 สว่ นคือ อณั ฑะ ท่อ และตอ่ ม 1.1 อณั ฑะ (Testis) อยูใ่ นถงุ อัณฑะ (scrotum) อยนู่ อกชอ่ งท้อง มีอุณหภูมิต่ำ กว่าอุณหภมู ิปกตขิ องรา่ งกายประมาณ 2-3 องศาเซลเซยี ส เพื่อให้เหมาะสมต่อการสร้างตวั อสุจิ ภายในอัณฑะ ประกอบดว้ ย หลอดสร้างตวั อสจุ ิ (seminiferous tubule) มลี ักษณะเปน็ ท่อยาวขดไปมา นอกจากนี้ยังมกี ลุ่มของ
อนิ เตอรส์ ติเชียล หรอื เลยด์ ิกเซลล์ (Interstitial or Leydig’s Cells) อยู่ระหวา่ งหลอดสรา้ งตวั อสจุ ิ ทำหนา้ ท่สี ร้าง ฮอรโ์ มนควบคุมลักษณะเพศชาย คอื แอนโดรเจน (Androgen) สว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ เทสโทสเตอโรน (Testosterone) 1.2 ท่อ/หลอด เปน็ ส่วนทท่ี ำหนา้ ที่เกบ็ ตัวอสุจิ และเปน็ ทางนำอสุจิออกสู่ ภายนอกรา่ งกาย ประกอบดว้ ย 1.2.1 หลอดเกบ็ ตวั อสจุ ิ (Epididymis) ตัวอสจุ ทิ ีส่ ร้างจากหลอดสร้างตัวอสุจิ จะเคลื่อนทีม่ าทีห่ ลอดเก็บตวั อสุจนิ ้ี ซ่งึ กว้างประมาณ 0.4 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 24,800 มิลลเิ มตร ทำหน้าท่ี สำคัญคือเป็นท่ีพกั ตวั อสจุ ิ 1.2.2 ทอ่ นำตวั อสจุ ิ (Vas deferens) อยตู่ ่อจากหลอดเก็บตัวอสุจิ กว้าง 2-3 มลิ ลเิ มตรและยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ทำหนา้ ทสี่ ำคญั คือเป็นท่อทางผ่านอสุจิ โดยตอนปลายสดุ จะ โป่งออก เป็นกระเปาะเรียก ampulla of vas deferens เป็นทีเ่ ก็บตัวอสุจิ ทั้งยังเป็นตำแหนง่ ท่ถี ูกผูกหรอื ตัด เมือ่ มีการทำหมันถาวรในเพศชาย 1.2.3 ท่อปัสสาวะ (Urethra) เป็นทางออกของสเปิร์มสู่ภายนอกของเหลว ทอ่ี อกมา เรยี กว่า semen 1.3 ตอ่ ม (gland) ระหวา่ งทางเดินของอสจุ ิจะมตี ่อมสรา้ งสารซ่ึงแตล่ ะต่อมจะผลิต ของเหลวไปรวมกับอสจุ ิ เรยี กวา่ น้ำอสุจิ หรอื semen 1.3.1 ต่อมสร้างน้ำเลยี้ งอสจุ ิ (seminal vesicle) อยู่ระหว่างกระเพาะปัสสาวะ และลำไส้ตรง สรา้ งอาหารมาเลี้ยงอสจุ ิประกอบด้วยน้ำตาลฟรกุ โทส วิตามินซี โปรตีนโกลบลู ิน สารเมือกและ สารอ่นื ๆ เมอื่ มกี ารหลัง่ สเปิร์มจะมี Ejaculatory duct นำออกไปซ่ึงท่อน้ีจะไปรวมกับท่อทีม่ าจากกระเพาะ ปัสสาวะ 1.3.2 ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) หนา้ ที่หลง่ั ของเหลวซง่ึ มสี มบตั ิเป็นเบส เพอื่ ทำใหช้ อ่ งคลอดเพศหญิงทม่ี ีสภาพเป็นกรดเปลีย่ นเป็นสภาพ เปน็ กลาง เม่ืออสจุ ิเข้าสู่ช่องคลอดจะสามารถ เคลื่อนท่ีและมีชีวติ อย่รู อดได้น่นั เอง 1.3.3 ต่อมคาวเปอร์ (Cowper’s gland or Bulbourethral) เป็นกระเปาะ มจี ำนวน 2 ต่อม อยู่ใต้ต่อมลูกหมากลงไปทำหน้าทหี่ ล่งั ของเหลวเพื่อหล่อลน่ื ท่อปัสสาวะ ช่วยในการเคล่ือนทข่ี อง สเปิร์ม 2. โครงสรา้ งระบบสืบพันธ์ุเพศหญงิ ประกอบด้วย 4 สว่ น คอื 2.1 รังไข่ (Ovary) 2.2 ทอ่ นำไข่ หรือปีกมดลูก (Oviduct หรือ Fallopian tube) 2.3 มดลกู (Uterus) 2.4 ช่องคลอด (Vagina) 2.1 รงั ไข่ (Ovary) อยดู่ า้ นล่างของช่องท้องลกึ เขา้ ไปในอุ้งเชงิ กราน อยู่ 2 ขา้ งของมดลูก ขนาดเทา่ หวั แมม่ ือ น้ำหนักประมาณ 2-3 กรัม ภายในรังไข่ทั้งสองขา้ งของเด็กแรกเกิดจะมีไข่ทีย่ ังไม่เจรญิ เตม็ ที่ (primary oocyte) อยู่จำนวนมาก รอบ ๆ โอโอไซต์จะมีกลุ่มเซลลฟ์ อลลเิ คิล (follicular cell) หุ้มอยู่ รงั ไข่ ทำหน้าท่ี 2 ประการ คือ 1. สร้างเซลล์ไข่ 2. สร้างฮอรโ์ มน เช่น - ฮอรโ์ มนอีสโตรเจน (Estrogen) ทำหนา้ ที่ควบคุมลกั ษณะเพศหญงิ และการเจริญ เปล่ียนแปลงของผนงั ชนั้ ในของมดลกู
- ฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน (Progesterone) ทำหนา้ ที่ ควบคุมการตั้งครรภ์และยบั ยั้ง การเจริญของฟอลลเิ คิล 2.2 ทอ่ นำไข่ หรอื ปีกมดลูก (Oviduct หรอื Fallopian tube) อยูบ่ รเิ วณ 2 ข้างของมดลกู โดย ส่วนปลายสุดแตล่ ะข้างของท่อนำไข่มลี ักษณะเป็นปากแตรรองรับไข่ และเป็นบรเิ วณทเ่ี กิดการปฏสิ นธิ 2.3 มดลกู (Uterus) อยูด่ า้ นหลังของกระเพาะปัสสาวะ มีอนั เดยี วตรงกลางเป็นกล้ามเนื้อเรยี บ หนา ผนงั มดลกู ปกติมีขนาดเลก็ แต่เมื่อมเี ด็กมาฝงั ตวั จะขยายขนาด เยอื่ ชนั้ ในบาง ๆ เรยี กวา่ Endometrium เมือ่ มีการฝังตัวของลกู จะกลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของรกแม่ มดลูกทา้ หน้าทส่ี ำคัญ คือ 1. เปน็ ทีฝ่ ังตวั (Implatation) ของไขท่ ี่ผสมแล้วและการเจริญของตวั ออ่ นจนถงึ กำหนด คลอด 2. เปน็ แหล่งท่ีทำใหเ้ กิดการมีประจำเดือน โครงสรา้ งของมดลกู ประกอบดว้ ยผนัง 3 ชนั้ คอื 1. ชน้ั ในสุด เรียกชนั้ เอนโดมเี ทรยี ม (Endometrium) เป็นเน้อื เยอ่ื คล้ายฟองน้ำ 2. ชัน้ กลาง เรียกช้ันไมโอมีเทรียม (Myometrium) เปน็ ชน้ั กล้ามเนอื้ เรียบ ช้นั น้ี มีผนังหนามีความยืดหยุ่นสูง 3. ช้นั นอกสุด เรยี กชน้ั ซโี รซา (Serosa) เป็น เน้อื เย่อื เกีย่ วพันบาง ๆ 2.4 ชอ่ งคลอด (Vagina) เป็นสว่ นปลายสดุ ของระบบสบื พันธ์ุเพศหญิงอยู่ถัดจากปากมดลูกลงมา เมอ่ื เด็กคลอดจะออกมาทางช่องน้ี กระบวนการสร้างเซลลส์ บื พันธุ์ กระบวนการสร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุ เรยี กวา่ Gametogenesis (Gamete = เซลลส์ บื พนั ธ์ุ, Genesis = การสร้าง) ในคนจะมกี ารสร้างเซลลส์ ืบพนั ธ์ุแบบ Oogamete คือ ตัวผูก้ ับตวั เมยี มีลกั ษณะตา่ งกันท้ัง ขนาดและรูปรา่ ง คอื sperm กับ egg แบ่งเปน็ 2 แบบ คือ 1. Spermatogenesis การสร้าง sperm 2. Oogenesis การสร้าง egg 1. กระบวนการสร้างอสจุ ิ Spermatogenesis 1) สเปอร์มาโทโกเนียม spermatogonium (2n) 2) สเปอรม์ าโทไซต์ ระยะแรก primary spermatocyte (2n) 3) สเปอรม์ าโทไซต์ ระยะทสี่ อง secondary spermatocyte (n) 4) สเปอร์มาทิด spermatid (n) 5) สเปอรม์ าโตซวั (spermatozoa) หรอื อสจุ ิ 2. กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ Oogenesis 1) โอโอโกเนียม oogonium (2n) 2) โอโอไซต์ ระยะแรก primary oocyte (2n) 3) โอโอไซต์ ระยะทสี่ อง secondary oocyte (n), โพลาร์บอดี ระยะแรก first polar body (n) สลาย 4) เซลลไ์ ข่ ovum,egg (n), โพลาร์บอดี ระยะที่สอง second polar body (n) สลาย
5. สมรรถนะสำคัญ 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการคดิ สร้างสรรค์ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ - กระบวนการทำงานกลุม่ 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 มวี ินัย 6.2 ใฝ่เรียนรู้ 6.3 มุ่งมั่นในการทำงาน 6.4 มีจิตสาธารณะ 7. ภาระงาน/ชนิ้ งาน 7.1 ภาระงาน - สืบคน้ ข้อมูลจากใบความรู้ สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ - บนั ทึกผลในแบบบนั ทึกกิจกรรม เรือ่ ง โครงสรา้ งในระบบสืบพนั ธขุ์ องคน - บนั ทกึ ผลในแบบบันทึกกจิ กรรม เรอ่ื ง กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธข์ุ องคน 7.2 ชิ้นงาน - ออกแบบชิน้ งาน - แบบบันทกึ กิจกรรม เรื่อง โครงสรา้ งในระบบสืบพันธุ์ของคน - แบบบนั ทกึ กิจกรรม เร่ือง กระบวนการสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธุ์ของคน - แผนผงั สรปุ เรอื่ งกระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพันธขุ์ องเพศชาย และเพศหญิง 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนำสู่การเรียน โครงสรา้ งในระบบสืบพันธขุ์ องคน 1) ขนั้ สร้างความสนใจ 1.1 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบวดั ความรู้ (Quiz) โดยประเด็นสำคัญขอ้ แรก เกี่ยวกับ เรือ่ งการสบื พันธขุ์ องสตั ว์ ข้อทีส่ องเก่ยี วกบั ลักษณะการเปลย่ี นแปลงของร่างกายมนษุ ยเ์ ม่ือเข้าสูว่ ัยเจริญพันธุ์ รวมถงึ โครงสร้างระบบสบื พันธขุ์ องเพศนักเรยี นเอง กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 2.1 ครูนำเขา้ ส่บู ทเรียนโดยทบทวนความรู้เก่ียวกบั การสืบพันธขุ์ องสัตว์ โดยใช้คำถาม ในประเด็นดงั ต่อไปน้ี 1) ประเภทของการสืบพันธุ์ 2) รูปแบบของการสบื พันธุ์ท้งั แบบอาศยั เพศ และไม่อาศยั เพศ 3) ตวั อย่างของส่ิงมีชวี ติ ทม่ี ีการสบื พันธุ์แต่ละแบบ
2.2 ครูใช้คำถามนำเขา้ สู่บทเรียน ดงั น้ี -ในสัตว์มกี ระดูกสันหลังชน้ั สูงมกี ารสบื พันธ์แุ บบแยกเพศ แล้วนักเรยี นคดิ ว่าคน น่าจะมกี ารสบื พันธแุ์ ละการปฏิสนธิ แบบใด ( แบบแยกเพศ มีการการปฏิสนธิภายใน ) -นักเรียนคดิ ว่าโครงสรา้ งในการสบื พนั ธุข์ องคนทั้งเพศหญงิ และเพศชาย จะมลี ักษณะเหมือนหรือแตกแต่งกันอย่างไร ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง (โครงสรา้ งในการสืบพนั ธ์ุของคนทั้งเพศหญงิ และเพศชาย จะมลี ักษณะแตกต่าง กัน โดยเพศชายมโี ครงสรา้ งสำคญั ภายใน คือ อณั ฑะ ภายนอก คือ องคชาติ สว่ นเพศหญงิ โครงสร้างสำคญั ภายใน คอื รงั ไข่ มดลกู ภายนอก คือ อวยั วะเพศหญงิ ) 2.3 ครใู ห้นกั เรียนทำกิจกรรมเพ่อื ศกึ ษาโครงสร้างระบบสบื พันธ์ุของคนท้ังเพศชายและเพศหญงิ โดยมขี นั้ ตอนการทำกจิ กรรมดงั นี้ 1. ครูแบ่งกล่มุ นักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม แยกชายหญิงซ่ึงมสี มาชกิ เป็นชายท้งั หมด จำนวน 2 กล่มุ และสมาชกิ หญิงทง้ั หมด จ้านวน 2 กล่มุ 2. ครูแจกอุปกรณ์ มีกระดาษฟลปิ ชาร์ต ปากกาเมจิใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ 3. ครใู หน้ กั เรียนทำกิจกรรมวาดภาพโครงสรา้ งระบบสืบพนั ธ์ุ พร้อมชส้ี ว่ นประกอบของกล่มุ เพศนักเรยี น โดยศกึ ษาจากหนังสือเรยี นประกอบ และมปี ระเด็นทีน่ ักเรยี นตอ้ งศึกษา ดงั น้ี 3.1 โครงสรา้ งระบบสืบพันธุภ์ ายนอก 3.2 โครงสร้างระบบสืบพนั ธ์ุภายใน 3.3 ชบี้ อกส่วนประกอบ (ชอื่ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ) 3.4 ลกั ษณะปรากฏท่ีเปลยี่ นแปลงเม่ือเข้าสวู่ ยั เจรญิ พนั ธุ์ 3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรปุ 3.1 ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกกมานำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน ตรวจสอบ ความ ถูกต้องโดยเปรียบเทียบระหว่างกลมุ่ เพศ ชาย-ชาย และ หญิง-หญิง 3.2 จากโครงสรา้ งระบบสืบพันธ์ุของเพศชายและเพศหญงิ ดงั กล่าว ประกอบกับลักษณะต่าง ๆ ทีป่ รากฏเม่ือเขา้ สูว่ ัยเจริญพนั ธ์ุ ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ และอภิปรายตามประเด็นคำถาม ดังนี้ - เพศชายมลี กั ษณะใดบ้างทม่ี ีการเปลย่ี นแปลงเมื่อเขา้ สู่วัยเจรญิ พันธุ์ ( เพศชายมีกลา้ มเน้ือสว่ นตา่ ง ๆ ขยาย นมแตกพาน มหี นวดเคราและขนขึน้ ตามรา่ งกาย รักแร้ อวยั วะเพศ มสี ิวขึน้ เสยี งหา้ ว อวัยวะเพศขยาย และเรมิ่ มฝี ันเปยี ก ) - โครงสรา้ งระบบสบื พันธ์ขุ องเพศชาย ได้แก่อะไรบ้าง ( ภายนอกมีองคชาติ ถุงหุ้มอัณฑะ ภายในมี อณั ฑะ 2 ขา้ ง และมีต่อมตา่ ง ๆ ) - เพศหญงิ มลี ักษณะใดบ้างท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงเมื่อเข้าสวู่ ัย เจรญิ พนั ธุ์ ( เพศหญิงมีหน้าอกขยาย สะโพกผาย มีขนข้นึ ท่ีอวัยวะเพศ มสี วิ ข้นึ เสียงเล็กแหลม และเร่ิมมีประจำเดือน ) - โครงสร้างระบบสืบพนั ธุ์ของเพศหญงิ ไดแ้ ก่อะไรบ้าง ( ภายในมีรังไข่ 2 ข้าง มีปีกมดลูกหรอื ทอ่ นำไขเ่ ชอ่ื มไปยังมดลูกท่อี ยู่ตรงกลาง สว่ นปลายคือปากมดลูกและช่องคลอด )
4) ขั้นขยายความรู้ 4.1 ครูให้นกั เรียนศึกษาแผนภาพของโครงสรา้ งระบบสบื พันธุเ์ พศชาย ซึ่งครูอธบิ ายเพิ่มเติม โดยใช้สือ่ พาวเวอรพ์ อยทป์ ระกอบ กบั การใช้คำถามดังประเด็นต่อไปน้ี 1. โครงสร้างระบบสืบพนั ธเุ์ พศชาย 2. ตำแหนง่ ที่อยู่ของโครงสร้างระบบสืบพนั ธ์ุดงั กลา่ ว 3. หนา้ ท่ีและความสำคัญ 4.2 ครูใหน้ ักเรียนศึกษาแผนภาพของโครงสรา้ งระบบสืบพันธเ์ุ พศหญงิ ซ่งึ ครอู ธิบายเพิม่ เติมโดยใช้ สื่อพาวเวอร์พอยทป์ ระกอบกับการใชค้ ำถามดังประเด็นต่อไปนี้ 1. โครงสรา้ งระบบสืบพันธเุ์ พศหญิง 2. ตำแหน่งท่ีอยู่ของโครงสร้างระบบสบื พันธ์ุดงั กล่าว 3. หนา้ ทแ่ี ละความสำคญั 5) ขัน้ ประเมินผล 5.1 ครูนำนักเรยี นสรุปเรอื่ ง โครงสร้างระบบสืบพนั ธุเ์ พศชายและโครงสร้างระบบสบื พันธ์ุเพศหญงิ โดยใชแ้ ผนภาพ และส่ือพาวเวอรพ์ อยท์ในประเดน็ ดังนี้ 1. ลกั ษณะ หนา้ ทแี่ ละความสำคัญของอณั ฑะท่อและตอ่ มต่างๆ ในระบบสบื พนั ธ์ุเพศชาย 2. ทางเดนิ อสจุ ิในระบบสบื พันธุ์เพศชาย 3. ลกั ษณะหนา้ ท่แี ละความสำคญั ของรงั ไข่ ท่อนำไข่ และมดลูกในระบบสืบพันธเ์ุ พศหญิง 5.2 ใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนย้อนกลบั ไปอา่ นบันทึกประสบการณเ์ ดิม ส่งิ ทต่ี ้องการรู้ และขอบเขต เปา้ หมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรยี นร้ตู ามท่ตี งั้ เป้าหมายครบถว้ นหรือไม่เพยี งใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทำอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามใหค้ รูอธบิ ายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรอื วางแผนสืบคน้ เพ่ิมเตมิ ) 5.3 ครูใหค้ ะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การให้คะแนน สมดุ บนั ทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไมเ่ พยี งพอใชว้ ิธสี ัมภาษณเ์ พิ่มเตมิ กจิ กรรมนำสกู่ ารเรยี น กระบวนการสรา้ งเซลล์สืบพันธุ์ 1) ข้ันสร้างความสนใจ 1.1 ครนู ำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยทบทวนความรเู้ กย่ี วกบั โครงสร้างระบบสบื พันธ์ุของคน ท้ังเพศชายและ เพศหญิงโดยใชค้ ำถาม ตามประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี 1. โครงสร้างระบบสบื พนั ธุ์ของเพศชาย 2. อวยั วะหรือตำแหนง่ ทีเ่ กิดกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ขุ องเพศชาย 3. โครงสรา้ งระบบสืบพนั ธุ์ของเพศหญิง 4. อวัยวะหรือตำแหน่งทเี่ กิดกระบวนการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธขุ์ องเพศหญงิ 1.2 ครูกลา่ วว่า “จากโครงสร้างของระบบสืบพนั ธ์ทุ ง้ั เพศชายและเพศหญิง นักเรียนทราบหรอื ไม่ ว่าโครงสรา้ งระบบสบื พันธ์ุ ดังกล่าว มีการสรา้ งอสจุ ิ และเซลลไ์ ขอ่ ยา่ งไร วันนเ้ี ราจะมาเรียนรกู้ ัน” กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ 2) ขน้ั สำรวจและค้นหา 2.1 ครูให้นกั เรยี นทำกิจกรรมเร่ืองกระบวนการสรา้ งเซลลส์ ืบพันธุโ์ ดยมีขัน้ ตอนดังนี้ 1) ครใู ห้นกั เรยี นสงั เกตและศึกษากระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพันธุ์ โยแบง่ เป็น 2 ตอน ดงั น้ี 1.1) กระบวนการสร้างอสจุ ิ Spermatogenesis โดยศึกษาจากสอ่ื วีดิทัศน์เรือ่ ง “Spermatogenesis”
1.2) กระบวนการสรา้ งเซลล์ไข่ Oogenesis โดยศึกษาจากส่ือวีดิทัศน์เร่ือง “Oogenesis” 2) ครูกำหนดใหน้ ักเรียนสงั เกตตามประเดน็ ดังนี้ 2.1) ช่ือกระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์ 2.2) ชอื่ ระยะต่าง ๆ 2.3) ประเภทของการแบง่ เซลล์ 2.4) จา้ นวนเซลล์ที่ไดจ้ ากกระบวนการสรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธุ์ 2.2 ครใู หน้ ักเรียนบันทึกผลการสงั เกตลงในสมุด 3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ 3.1 ครูตรวจสอบความถูกต้องโดยครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปและอภปิ รายคำตอบทีน่ ักเรยี น บนั ทกึ ได้ ตามประเด็น โดยใชค้ ำถามดงั นี้ - กระบวนการสร้างเซลล์สบื พันธข์ุ องเพศชายและเพศหญงิ เรียกวา่ กระบวนการอะไร (ในเพศชายคอื กระบวนการสรา้ งอสจุ ิ Spermatogenesis ในเพศหญิงคือ กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ Oogenesis ) - ระยะตา่ ง ๆ ของกระบวนการสร้างอสุจิ และเซลล์ไข่คืออะไร ( การสร้างอสุจิ 1. สเปอร์มาโทโกเนยี ม spermatogonium (2n) 2. สเปอรม์ าโทไซต์ ระยะแรก primary spermatocyte (2n) 3. สเปอรม์ าโทไซต์ ระยะทส่ี อง secondary spermatocyte (n) 4. สเปอรม์ าทดิ spermatid (n) 5. สเปอรม์ าโตซัว (spermatozoa) หรือ อสจุ ิ การสรา้ งเซลลไ์ ข่ 1. โอโอโกเนียม oogonium (2n) 2. โอโอไซต์ ระยะแรก primary oocyte (2n) 3. โอโอไซต์ ระยะทสี่ อง secondary oocyte (n)1 เซลล์ และ โพลารบ์ อดี ระยะแรก first polar body (n)1 เซลล์ซง่ึ จะ สลายไป 4) เซลล์ไข่ ovum,egg (n)1เซลล์ และ โพลาร์บอดี ระยะท่ีสอง second polar body (n) ซ่งึ จะสลายไป ) - การสรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุมีการแบ่งเซลลก์ ่ีประเภท มแี บบใดบ้าง และมลี ักษณะสำคญั อย่างไร ( มี 2 แบบ คือ 1. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ เพอื่ เพม่ิ จำนวนเซลล์ตั้งตน้ จำนวนชดุ ของ โครโมโซม คงเดมิ เท่ากับเซลล์ร่างกายคือ (2n) และ 2. การแบง่ เซลล์แบบ ไมโอซิส เป็นการแบ่งเพ่ือสร้างเซลล์สืบพนั ธุโ์ ดยมกี ารลด จำนวนโครโมโซมลงครึ่งหน่งึ เหลือ (n) ) - จำนวนเซลล์ที่ได้จากกระบวนการสร้างเซลล์สืบพนั ธ์ขุ องเพศชายและเพศหญิง เหมือน หรอื แตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร ( จำนวนเซลล์ทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการสร้างเซลลส์ บื พันธุ์ของเพศชาย โดยเริ่มจากสเปอร์ มาโทโกเนียม 1 เซลล์ เมอื่ ส้ินสดุ กระบวนการจะได้ สเปริ ม์ 4 เซลล์ มีโครโมโซม 1 ชดุ หรอื (n) ส่วนจำนวนเซลล์ที่
ไดจ้ ากกระบวนการสรา้ งเซลลส์ บื พันธุ์ของเพศหญงิ เรมิ่ จาก โอโอไซต์ ระยะแรก 1 เซลล์ เม่อื สิ้นสดุ กระบวนการ จะไดเ้ ซลล์ไข่เพยี ง 1 เซลล์ มีโครโมโซม 1 ชดุ หรือ (n ) แต่โดยปกติ ถ้าเซลลส์ ืบพนั ธ์ุเพศหญงิ ไม่ไดร้ ับการปฏสิ นธิ จะหยุดอยู่แค่ระยะโอโอไซตร์ ะยะที่ 2 มีโครโมโซม 1 ชุด หรอื (n ) ) 4) ขั้นขยายความรู้ 4.1 ครูบรรยายเพ่มิ เติมเก่ยี วกบั การตกไข่ (Ovulation) โดยใช้สือ่ พาเวอร์พอยท์ประกอบการ บรรยาย และสือ่ วีดทิ ัศน์เรอื่ ง “Ovulation” 5) ข้ันประเมินผล 5.1 ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนยอ้ นกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดมิ สิ่งทตี่ ้องการรู้ และขอบเขต เป้าหมาย แลว้ ตรวจสอบวา่ ได้เรียนรตู้ ามท่ตี ง้ั เป้าหมายครบถ้วนหรือไมเ่ พียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทำอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามใหค้ รูอธบิ ายเพิ่มเติม สอบถามใหเ้ พื่อนอธิบาย หรอื วางแผนสืบคน้ เพ่ิมเตมิ ) 5.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การให้คะแนน สมดุ บันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไมเ่ พยี งพอใชว้ ิธสี มั ภาษณเ์ พิ่มเตมิ 9. ส่ือการเรยี นร/ู้ แหล่งเรยี นรู้ 9.1 หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชีววิทยา เล่ม 5 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 9.2 ส่ือพาเวอพอยท์ประกอบการบรรยาย เร่ือง“ระบบสืบพันธข์ุ องคน” 9.3 สื่อแอนิเมชนั เร่ือง “Human Reproductive System” 9.4 สื่อพาเวอพอยท์ประกอบการบรรยาย เร่ือง“กระบวนการสร้างเซลล์สบื พันธ์ุ” 9.5 สอ่ื แอนเิ มชันเรื่อง “Spermatogenesis” เร่อื ง “Oogenesis” และเรื่อง “Ovulation” 9.6 แบบบันทึกกิจกรรม เรื่องโครงสร้างในระบบสืบพนั ธ์ุของมนษุ ย์ 9.7 ห้องสมุด / ชุมชน 9.8 ฐานข้อมูล internet /Google classroom 11. การวดั และประเมนิ ผล 11.1 วธิ วี ดั และประเมินผล 1) ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบอตั นยั 10 ข้อ 2) ครใู ห้คะแนนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมลู ไม่เพยี งพอใช้วิธีสัมภาษณเ์ พ่ิมเตมิ 11.2 เคร่ืองมือวดั และประเมินผล 1) ข้อสอบอัตนยั 10 ข้อ 2) แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3) แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ 11.3 เกณฑ์การประเมนิ 1) ขอ้ สอบอัตนัย ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75 3) แบบประเมนิ จิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 75
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 11 หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การสบื พันธแ์ุ ละการเจริญเติบโตของสตั ว์ วิชาชีววทิ ยา 5 (ว33250) ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 เรือ่ ง การสบื พนั ธข์ุ องส่ิงมีชีวติ เซลลเ์ ดยี วและสตั ว์บางชนิด เวลา 2 คาบ ครผู ู้สอน นางสาวศรีอุดร ล้านสาวงษ์ 1. ผลการเรยี นรู้ 1. สืบคน้ และอภปิ รายเก่ยี วกับการสืบพนั ธขุ์ องสงิ่ มีชีวติ เซลล์เดยี วและการสบื พนั ธุ์ของสัตว์ 2. อธบิ ายการสืบพันธ์ขุ องสงิ่ มีชีวิตเซลลเ์ ดียวและการสบื พันธุข์ องสตั ว์ 3. จำแนก และสร้างเกณฑ์ของการสืบพันธ์ขุ องสิ่งมชี วี ติ เซลล์เดยี วและการสืบพันธุข์ องสตั ว์ 4. นำความรู้เรือ่ งการสบื พันธ์ุของส่งิ มชี ีวิตเซลล์เดยี วและการสบื พนั ธ์ขุ องสตั ว์ไปใช้ประโยชน์ ในชวี ิตประจำวนั 5. มีจิตวิทยาศาสตร์ 2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การสบื พันธเ์ุ ปน็ สมบตั ิทสี่ ำคัญของส่ิงมีชวี ติ ทกุ ชนิด คือ ความสามารถในการให้กำเนิดสิ่งมชี ีวติ ใหม่ จากสงิ่ มชี ีวิตเดิม เพื่อดำรงเผ่าพันธ์ใุ หค้ งไว้ สิง่ มชี ีวิตมโี ครงสร้างร่างกายแตกต่างกัน มีวธิ ีการสบื พันธท์ุ แี่ ตกตา่ งกนั บางชนดิ มกี ารสืบพนั ธุ์แบบอาศัยเพศ เช่น แตกหนอ่ การงอกใหม่ สัตว์บางชนดิ อาจมีอวัยวะเพศ ทั้งสองเพศอยู่ใน ตวั เดยี วกนั แตเ่ ซลลส์ บื พนั ธุเ์ จริญไม่พรอ้ มกนั จะต้องผสมข้ามตวั สตั ว์ส่วนใหญ่มีอวยั วะเพศแยกกนั อยคู่ นละตัว เปน็ เพศผู้ และเพศเมียซึ่งอาจมีการปฏสิ นธิภายในร่างกายหรือปฏิสนธิภายนอกร่างกายได้ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพ่อื ให้นกั เรียนสามารถ 3.1 ด้านความรู้ (K) 1) สืบค้นข้อมูล และสรปุ ความสำคัญของการสบื พันธุ์ 2) สืบค้นข้อมลู และการสืบพันธ์ขุ องสงิ่ มีชวี ิตเซลลเ์ ดียว 3) สืบคน้ ข้อมลู และการสืบพันธุ์ของสตั ว์บางชนิด 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1) สำรวจข้อมลู เกีย่ วกบั กระบวนการสบื พันธ์ขุ องสตั ว์มกี ระดกู สันหลงั บางชนิด 2) วิเคราะห์ขอ้ ดีและข้อเสยี ของรูปแบบการสืบพนั ธุข์ องสตั ว์มกี ระดูกสันหลงั ท่ีสบื ค้นมา 3) นำเสนอข้อมูลหนา้ ชน้ั เรยี น และจดั ทำปา้ ยนเิ ทศ 3.3 คุณลกั ษณะ (A) 1) มีความใฝเ่ รียนรู้ 2) การรว่ มแสดงความคดิ เห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น และทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืน อย่างสร้างสรรค์ 3) ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและการเข้าชน้ั เรยี น 4. เนื้อหาสาระ ส่ิงมีชีวติ เซลลเ์ ดยี วสืบพนั ธ์ุโดยการแบ่งตวั เป็นสองส่วนเท่า ๆ กนั เรยี กว่า Binary fission พารามีเซยี ม สบื พนั ธุโ์ ดยการจบั คู่กันแล้วแบง่ ออกเปน็ สองสว่ นเรียกว่า Conjucation ไฮดรา ฟองน้ำ และยีสต์ สบื พันธโุ์ ดยการ แตกหน่อเรยี กว่า Budding พลานาเรยี และดาวทะเล สบื พันธด์ุ ้วยวธิ กี ารงอกใหม่ ไสเ้ ดือนดินสบื พันธุ์โดยการจับคู่สลับหัวท้ายกัน แลว้ ปฏสิ นธิภายใน แมลงสืบพนั ธโุ์ ดยการปฏิสนธิภายใน สตั วป์ ีกมีการสบื พันธโ์ุ ดยการปฏสิ นธิภายใน และสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั มีการสบื พันธ์โุ ดยการปฏสิ นธภิ ายใน
5. สมรรถนะสำคญั 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกล่มุ 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.1 มีวนิ ัย 6.2 ใฝ่เรียนรู้ 6.3 มงุ่ ม่ันในการทำงาน 6.4 มีจติ สาธารณะ 7. ภาระงาน/ชิ้นงาน 7.1 ภาระงาน - สืบค้นข้อมลู จากใบความรู้ ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ - สบื คน้ ข้อมลู เพม่ิ เติมเกย่ี วกับรปู แบบการสบื พนั ธข์ุ องสตั ว์ชนิดตา่ ง ๆ นอกเหนือจากหนังสอื - บนั ทกึ ผลในแบบบนั ทึกกจิ กรรม เรอื่ งการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสตั วบ์ างชนิด 7.2 ชนิ้ งาน - ออกแบบชิน้ งาน จัดป้ายนเิ ทศ - แบบบันทกึ กิจกรรม เรือ่ งการสบื พนั ธุข์ องส่งิ มชี ีวติ เซลล์เดียว และสตั ว์บางชนดิ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมนำสกู่ ารเรยี น การสืบพนั ธ์ุของส่ิงมชี ีวติ เซลล์เดยี ว 1) ข้นั สร้างความสนใจ 1.1 ใหน้ ักเรยี นสงั เกตภาพการแบ่งเซลล์ของอะมบี า และใช้คำถามกระตนุ้ ว่า จากภาพแสดง เหตกุ ารณใ์ ด และเกดิ ขน้ึ กบั ส่งิ มชี ีวติ ชนดิ ใด 1.2 นกั เรียนร่วมกันยกตวั อย่างการสืบพันธข์ุ องสิ่งมชี ีวิตเซลล์เดยี วและการสืบพันธ์ขุ องสตั ว์ ร่วมกนั อภิปรายถึงระบบการสบื พนั ธุ์ และการเพิม่ จำนวน รวมทัง้ ผลทเ่ี กิดขึ้นกบั มนุษยแ์ ละการนำไปใชป้ ระโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนรว่ มกนั ตงั้ คำถามเกี่ยวกับส่งิ ทีต่ ้องการรู้ จากเน้ือหาทเ่ี กี่ยวกบั เร่ืองการสืบพนั ธุ์ ของสง่ิ มชี ีวิตเซลลเ์ ดยี วและการสบื พันธุ์ของสัตว์ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 2.1 นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสบื ค้นและศึกษาการสืบพันธขุ์ องสิง่ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี วและ การสบื พนั ธุข์ องสตั ว์ 2.2 นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ อภิปรายร่วมกนั ถึงการสบื พนั ธุ์ของสิง่ มีชวี ิตเซลล์เดยี วและการสืบพันธุ์ ของสัตว์
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ 3.1 นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอผลการสืบคน้ และผลการศึกษาการสืบพันธุข์ องสงิ่ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว และการสบื พันธุ์ของสตั ว์ 3.2 นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ได้ผลการสืบค้นและผลการศึกษาเหมอื นหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตใุ ด 3.3 ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภิปรายถงึ ความสำคัญของการสบื พนั ธุ์ ซง่ึ เปน็ สมบตั ิของสิ่งมีชวี ติ โดยทว่ั ไป โดยใชป้ ระเดน็ คำถามจากหนังสือเรยี น ดงั นี้ - การสบื พนั ธ์ุมคี วามสำคัญกับส่งิ มชี วี ติ อย่างไร ถ้าสิ่งมชี วี ิตไม่มีการสืบพนั ธุจ์ ะเกิดผลอย่างไร ( การสบื พันธเุ์ ปน็ กระบวนการทด่ี ำรงเผา่ พนั ธข์ุ องส่งิ มีชีวติ ไมใ่ หส้ ูญพันธุ์ ถา้ ไมม่ ีการสบื พันธ์ุ สง่ิ มีชวี ิตดังกลา่ วก็จะสูญพันธ์ุ ) - สัตว์แต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์เหมือนหรอื แตกต่างกนั อย่างไร ( คำตอบข้ึนอยู่กบั ประสบการณข์ องนกั เรียน ) -อะมีบาและพารามเี ซียมมีวิธีการสบื พนั ธุอ์ ยา่ งไร ( มีการแบ่งเซลลเ์ ป็น 2 ส่วน เท่า ๆ กัน ) -การสบื พนั ธแุ์ บบแบ่งเป็น 2 สว่ นเทา่ ๆ กนั แตกต่างจากการแตกหนอ่ อย่างไร ( การสบื พนั ธ์ุแบบแบง่ เป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน เซลล์ใหม่ทีไ่ ด้ 2 เซลล์จะมขี นาดเทา่ กนั และแยกออก จากกันอย่างเป็นอสิ ระ สว่ นการแตกหน่อ เซลล์ใหมท่ ีแ่ บ่งจะมีขนาดเล็กกว่าเซลลเ์ ดมิ และยังคงติดอยู่กบั เซลล์เดมิ ซ่ึงเมอ่ื เจริญไดเ้ ต็มทจี่ ะแยกออกจากเซลลเ์ ดิมในภายหลัง ) -มีสัตวช์ นิดใดบ้างทส่ี บื พนั ธุแ์ บบงอกใหม่ ( ฟองน้ำ แมงกะพรนุ เปน็ ตน้ ) -เพราะเหตุใดส่งิ มชี วี ติ ตัวใหม่ทเี่ กดิ จากการสบื พนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศ จงึ มีลักษณะรปู ร่างและ สารพนั ธกุ รรมเหมือนกบั สงิ่ มีชีวิตตัวเดิมทกุ ประการ ( สิ่งมีชีวิตตวั ใหม่เกิดจากกระบวนการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสของสงิ่ มชี วี ิตตวั เดมิ ทำให้มีสารพนั ธกุ รรม เหมือนเซลล์เดิมทุกประการ ) 4) ข้นั ขยายความรู้ 4.1 ครถู ามคำถามเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้นักเรียนเขา้ ใจมากย่งิ ขึน้ โดยมีแนวคำถาม ดังน้ี -นกั เรยี นจะสรุปหลกั การสำคัญของการสืบพนั ธแุ์ บบอาศัยเพศว่าอย่างไร (การสืบพนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศเกิดจากส่งิ มชี ีวิตเดมิ 1 เซลล์ หรือ 1 ตัว เป็นพอ่ หรือแม่กไ็ ด้ ไมม่ ีการรวมกันของเซลลส์ บื พันธ์ุ เพศผ้แู ละเพศเมยี จึงเก่ียวกับอวัยวะสืบพันธ์ุ ใช้วธิ กี ารเพม่ิ จำนวนโดยการ แบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ เซลลใ์ หม่ หรือสิ่งมีชวี ติ ใหมท่ ี่ไดม้ ีโครโมโซม และสารพันธุกรรมเหมอื นกับส่งิ มชี ีวิตเดิมทุก ประการ ลกู ท่เี กิดอาจมี 1 เซลล์ 1 ตัวหรอื มากกวา่ ) 5) ขน้ั ประเมนิ ผล 5.1 ให้นกั เรยี นแต่ละคนย้อนกลบั ไปอ่านบันทึกประสบการณเ์ ดมิ สิง่ ทตี่ ้องการรู้ และขอบเขต เป้าหมาย แลว้ ตรวจสอบว่าได้เรยี นร้ตู ามที่ตั้งเป้าหมายครบถว้ นหรอื ไม่เพยี งใด ถา้ ยงั ไม่ครบถว้ นจะทาอยา่ งไรตอ่ ไป (อาจสอบถามใหค้ รูอธิบายเพ่ิมเตมิ สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรอื วางแผนสืบค้นเพิ่มเตมิ ) 5.2 ครใู หค้ ะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การให้คะแนน สมดุ บนั ทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไม่เพียงพอใชว้ ิธีสัมภาษณ์เพ่ิมเตมิ
กจิ กรรมนำสู่การเรยี น การสบื พันธุ์ของสตั ว์ 1) ข้นั สร้างความสนใจ 1.1 ครูทบทวนความรู้เดิมของนกั เรียนเกยี่ วกบั การสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ และการสบื พนั ธ์ุ แบบอาศยั เพศ โดยใชค้ ำถามนำสกู่ ารอภปิ ราย ดงั น้ี - การสืบพนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศ แตกต่างกับการสบื พนั ธแุ์ บบอาศัยเพศ อย่างไร ( แตกต่างกนั โดยการสืบพนั ธแุ์ บบอาศัยเพศจะมกี ารรวมกันของเซลล์สบื พันธเุ์ พศผู้ และเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมยี ท่เี รยี กว่า การปฏิสนธิ ) กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 2.1 ครูให้นกั เรยี นทำกจิ กรรมการนำเสนอผลการศกึ ษาเกีย่ วกบั การสบื พันธ์ุของสัตวท์ ่นี ักเรยี น สนใจ โดยมีขั้นตอนการทำกิจกรรม ดงั นี้ 1. ครูแบง่ กลมุ่ ใหน้ ักเรียน ออกเป็น 6 กลมุ่ กลุ่มละ 6 -7 คน และใหส้ มาชิกในกลมุ่ แลกเปลย่ี น ความรูจ้ ากกจิ กรรมที่นักเรยี นได้ไปศกึ ษามาจากสัปดาหท์ แ่ี ลว้ 2. ครูใหเ้ วลานักเรียนอภิปรายกลมุ่ ย่อย ตามประเดน็ ดังต่อไปน้ี 1) ชนิดของสิง่ มชี วี ิตที่ศกึ ษา 2) จำนวนลูกท่ีเกิดในแต่ละรนุ่ 3) วฏั จกั รชีวติ ของสตั ว์ 4) โครงสร้างระบบสืบพนั ธ์ุ 5) อายุขยั ของสิ่งมชี ีวิต และช่วงอายุท่เี ปน็ วัยเจรญิ พันธ์ุ 6) พฤตกิ รรมการเลอื กคู่ 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 3.1 ครใู หน้ ักเรยี นในกลมุ่ เลือกตวั แทนกล่มุ ออกมานำเสนอผลการศกึ ษา และผลการอภปิ รายใน กลุ่มย่อย ตามประเดน็ ดังกล่าว 3.2 ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปและอภปิ รายผลการทำกจิ กรรม โดยใชค้ ำถามเช่ือมโยง ดังตอ่ ไปน้ี -จากตวั อย่างสัตวท์ ่นี ักเรียนสบื คน้ มามีสตั วช์ นดิ ใดบา้ ง จดั อยู่ในประเภทใดบ้าง ( มี สุนขั กระต่าย ววั ซึ่งจัดอย่ใู นพวกสตั ว์เล้ียงลกู ด้วยน้ำนม กบ จัดอยู่ในพวกสัตวส์ ะเทินน้ำ สะเทนิ บก ม้าน้ำ ปลา เป็นสัตว์น้ำ เป็นต้น ) -สัตว์แตล่ ะชนดิ จากคำตอบของนักเรยี นดังกลา่ วทมี่ ีการปฏิสนธิภายใน และปฏสิ นธิภายนอก มีการดำรงชีวติ ในส่ิงแวดล้อมท่เี หมอื น หรือแตกตา่ งกัน อย่างไร ( สตั วท์ ่มี ีการปฏิสนธภิ ายใน อสจุ ไิ มจ่ ำเป็นตอ้ งอาศัยน้ำจากสงิ่ แวดลอ้ ม ดังน้ันพบวา่ สัตว์ทีม่ ีการ ปฏสิ นธภิ ายในอยู่อาศยั ได้ทั้งบนบก และในน้ำ สว่ นสตั วท์ ี่มีการปฏิสนธิภายนอก อสุจิจำเป็นต้องอาศัยน้ำจาก สิ่งแวดลอ้ มในการเคลื่อนท่ีเพ่ือไปผสมกับเซลล์ไข่ ดังนั้นสตั ว์ทีม่ กี ารปฏิสนธิภายนอกจะอาศยั อยใู่ นน้ำ ) -เม่อื เปรียบเทียบสตั วท์ ี่มกี ารปฏิสนธภิ ายในกับสัตวท์ ่ีมกี ารปฏสิ นธภิ ายนอก จำนวนตกไข่หรอื จำนวนลกู ทเ่ี กดิ ในแตล่ ะร่นุ มีจำนวนแตกต่างกนั อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเชน่ นน้ั ( การปฏสิ นธภิ ายนอก อสุจติ ้องว่ายไปหาเซลลไ์ ขซ่ ึ่งในระหว่างน้ันอาจมปี จั จัยหลายอย่างทำให้ อสุจไิ ม่มีโอกาสไปผสมกับเซลลไ์ ข่ทีเ่ พศเมยี ปล่อยออกมา เซลลไ์ ข่จึงไมไ่ ด้รบั การผสม และแมว้ า่ ไขจ่ ะได้รบั การผสม แลว้ เจริญเป็นตัวออ่ นกอ็ าจตกเปน็ อาหารของสัตว์อน่ื ๆ สตั วป์ ระเภทน้ีจึงตอ้ งวางไขจ่ ำนวนมาก เพ่ือจะไดม้ โี อกาส ได้รบั การผสมและเพ่ือการอยู่รอด ส่วนสัตวท์ ่ีมีการปฏสิ นธิภายใน มีข้อจำกัดในการตงั้ ครรภ์ เพราะลกู อ่อนเจรญิ ใน
ตวั แม่จึงต้องออกลูกจำนวนน้อย แม่มักเป็นผคู้ ุ้มภัยให้ลกู อ่อน ทำใหล้ กู อ่อนมีชีวิตอยรู่ อดได้มากกว่าพวกท่ปี ฏสิ นธิ ภายนอก ) 4) ข้ันขยายความรู้ 4.1 ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับการปฏิสนธภิ ายใน ซ่งึ แบ่งประเภทได้เป็น เอ็มบรโิ อทีเ่ จริญ ภายนอกตัวแม่ และ เอ็มบริโอเจริญเตบิ โตภายในตวั แม่ซ่ึงแบง่ ยอ่ ยออกเปน็ 2 ประเภท คือ เอ็มบรโิ อเจรญิ เติบโต ในตวั แมโ่ ดยได้อาหารทส่ี ะสมไว้ในไข่ และเอ็มบรโิ อเจรญิ เติบโตในตวั แมโ่ ดยได้อาหารจากแมท่ างรก 5) ขน้ั ประเมนิ ผล 5.1 ให้นกั เรียนแตล่ ะคนยอ้ นกลับไปอา่ นบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งท่ีต้องการรู้ และขอบเขต เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรยี นรู้ตามทตี่ ั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไมเ่ พยี งใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทำอย่างไรตอ่ ไป (อาจสอบถามให้ครูอธบิ ายเพ่ิมเติม สอบถามให้เพ่ือนอธบิ าย หรือวางแผนสบื ค้นเพ่ิมเติม) 5.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไมเ่ พียงพอใชว้ ธิ สี ัมภาษณเ์ พิ่มเติม 9. ส่ือการเรยี นร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 5 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 9.2 สือ่ นำเสนอ Power Point ประกอบการสอนเร่ืองการสืบพนั ธ์ุของสตั ว์ 9.3 สอ่ื คลปิ วดิ โี อประกอบการสอน เรือ่ งรปู แบบการสบื พันธุ์ของสตั วป์ ระเภทต่าง ๆ 9.4 แบบบันทกึ กิจกรรม เร่ือง การสบื พันธ์ขุ องสิ่งมีชีวิตเซลล์เดยี ว และสัตว์บางชนิด 9.5 หอ้ งสมุด / ชมุ ชน 9.6 ฐานขอ้ มลู internet /Google classroom 10. การวดั และประเมนิ ผล 10.1 วธิ วี ดั และประเมนิ ผล 1) ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบอตั นัย 10 ข้อ 2) ครใู ห้คะแนนทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมลู ไม่เพียงพอใช้วธิ ีสมั ภาษณ์เพิ่มเตมิ 10.2 เครอื่ งมือวดั และประเมินผล 1) ข้อสอบอัตนยั 10 ข้อ 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3) แบบประเมนิ จติ วทิ ยาศาสตร์ 10.3 เกณฑ์การประเมิน 1) ขอ้ สอบอัตนัย ได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3) แบบประเมินจิตวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 12 หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่อื ง การสืบพันธุ์และการเจรญิ เติบโตของสัตว์ วชิ าชีววทิ ยา 5 (ว33250) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 เรื่อง การเจริญเติบโตของสตั ว์ เวลา 2 คาบ ครูผู้สอน นางสาวศรอี ุดร ลา้ นสาวงษ์ 1. ผลการเรยี นรู้ 1. สบื คน้ และอภปิ รายเกยี่ วกับความสัมพนั ธ์ของการเจรญิ เตบิ โตของของสัตว์ 2. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตของส่ิงมชี ีวิตบางชนดิ 3. นำความรเู้ ร่อื งการเจรญิ เติบโตของสตั ว์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ไซโกตจะตอ้ งมีกระบวนการเจรญิ เติบโตโดยมีการแบ่งเซลล์ เพ่ิมขนาดของเซลล์ มกี ารเปล่ียนแปลงรปู ร่าง ของเซลล์เพื่อใหเ้ ซลล์มลี ักษณะเฉพาะเพ่ือไปทำหน้าที่เฉพาะอย่าง และมีกระบวนการพัฒนาไปเปน็ อวัยวะและ รูปรา่ ง ข้นั ตอนการเจริญเติบโตของสตั ว์ในระยะเอ็มบริโอมีแบบแผนคลา้ ยคลงึ กนั โดยเรม่ิ จากการแบ่งเซลลข์ อง ไซโกต ให้ได้เอ็มบริโอที่มีเซลล์จำนวนมาก ต่อมามีการจัดเรียนตวั ของเซลล์ มีการสร้างเนอ้ื เยื่อเริ่มแรกอาจมี 2 ชั้น หรือ 3 ช้นั ข้นึ อย่กู บั ชนิดของสัตว์ และมีการสร้างอวัยวะทาให้เกิดรูปร่างที่แนน่ อนในสัตวแ์ ตล่ ะชนิด 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถ 3.1 ดา้ นความรู้ (K) 1) สืบคน้ ข้อมูล และอธบิ ายกระบวนการเจริญเตบิ โตของสัตว์บางชนดิ ได้ 2) ระบชุ อ่ื ระยะเอ็มบริโอของกบและไก่ได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1) สงั เกตและบนั ทึกการเปลยี่ นแปลงในระยะเอ็มบรโิ อของกบและไก่ได้ 2) จำแนกกระบวนการท่ีสิ่งมีชีวิตมกี ารเปลี่ยนแปลงรปู รา่ ง (เมทามอร์โฟซิส metamorphosis ) ประเภทต่าง ๆ 3) เปรียบเทยี บความแตกตา่ งระหว่างการเจรญิ เติบโตของกบและการเจรญิ ของไกไ่ ด้ 3.3 คุณลกั ษณะ (A) 1) มีความใฝเ่ รยี นรู้ 2) การรว่ มแสดงความคดิ เห็นและยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่น อย่างสรา้ งสรรค์ 3) ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมและการเขา้ ช้ันเรียน 4. เนอื้ หาสาระ การเจริญของเอม็ บรโิ อของสัตวต์ า่ ง ๆ -กบ เป็นตวั แทนของพวกทมี่ ีไขแ่ ดงเจรญิ ครง่ึ หนึ่ง (Moderately telolecithal egg) -ไก่ เป็นตัวแทนของพวกท่ีมีไขแ่ ดงกระจายเกือบเตม็ เซลล์ (Heavily telolecithal egg) การเจรญิ เตบิ โตของสัตว์ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) คลีเวจ (cleavage) เป็นกระบวนการทไ่ี ซโกตมี การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ อย่างรวดเร็วทำใหไ้ ดเ้ อม็ บริโอท่ีมีจำนวน เซลล์เพม่ิ ขึน้ แตข่ นาดของแต่ละเซลล์ของเอ็มบริโอเลก็ ลงตามลำดบั ซ่งึ จะไดเ้ อม็ บริโอท่ีประกอบด้วยเซลล์จำนวน มาก
2) บลาสทเู ลชัน (blastulation) เป็นกระบวนการทเ่ี ซลล์ของเอ็มบริโอมีการจัดเรียงตัวเปน็ ชนั้ อยู่ด้านนอก ตรงกลางเปน็ ช่องวา่ ง ท่มี ขี องเหลวบรรจุอยเู่ ตม็ เรยี กวา่ บลาสโทซีล (blastocoel) เอ็มบริโอระยะนี้เรยี กว่า บลาสทูลา (blastula) 3) แกสทรเู ลชนั (gastrulation) เป็นกระบวนการทเี่ ซลลม์ ีการเคล่อื นท่ีและจดั เรยี งตวั เป็นเนอื้ เยอ่ื ชั้นต่าง ๆ กันประกอบดว้ ย เน้ือเย่อื 3 ชั้น คือ เอกโทเดิร์ม (ectoderm) เมโซเดิร์ม (mesoderm) และเอนโดเดริ ์ม (endoderm) เรียก เอม็ บรโิ อระยะนว้ี า่ แกสทรลู า (gastrula) 4) ออร์แกโนเจเนซิส (organogenesis) เปน็ กระบวนการท่ีเนื้อเยือ่ ท้ัง 3 ช้นั ของเอ็มบรโิ อมีพัฒนาการไปเปน็ อวัยวะตา่ ง ๆ การเจรญิ เตบิ โตของกบ ตัวอ่อนของกบที่ฟกั จากไข่ เรยี กว่า ลกู อ๊อด มลี ักษณะต่างจากพ่อแม่ ซงึ่ จะต้องมีการ เปล่ยี นแปลงลักษณะต่าง ๆ ก่อนจะเปน็ ตวั เต็มวัย เรยี กว่า เมทามอรโ์ ฟซสิ (metamorphosis) Metamorphosis ในแมลงแบ่งได้ 3 กลุม่ ใหญ่ ๆ คือ 1. Complete metamorphosis ขัน้ ตอนการเปลีย่ น แปลงรูปรา่ งครบ 4 ขน้ั คือ ไข่ ตวั หนอน ดกั แด้ ตัวเตม็ วัย เช่น ผีเสือ้ 2. Incomplete metamorphosis ขั้นตอนการเปลย่ี น แปลงรปู ร่าง 3 ขน้ั คือ ไข่ ตัวอ่อน ตัวเตม็ วยั เชน่ ต๊กั แตน 3. Ametamorphosis ไขท่ ีไ่ ด้รบั การผสมจะฟักเป็นตวั อ่อนทีม่ ีรปู รา่ งลกั ษณะเหมือนตัวเตม็ วยั เชน่ ตวั สามงา่ ม แมลงหางดดี การเจริญเตบิ โตของไก่ เม่ือเกดิ การปฏสิ นธิจนได้ไซโกตจะมีการเจริญไปเปน็ เอม็ บรโิ อ ซงึ่ มขี ้นั ตอนต่าง ๆ คล้ายกับกบ แตเ่ นือ่ งจากไกเ่ ปน็ สัตวท์ ่ีวางไข่บนบก เอ็มบิโอจึงมีการปรับโครงสร้าง เพ่ือป้องกันอนั ตรายและแกป้ ัญหาการสญู เสียน้ำ โครงสรา้ ง ประกอบดว้ ย 1. ถุงไขแ่ ดง (yolk) 2. ถงุ น้ำครา่ (amnion) 3. คอเรียน (chorion) 4. แอลแลนทอยส์ (allantois) เมือ่ เอ็มบรโิ อเจรญิ เต็มท่ีจะฟักออกจากไขแ่ ลว้ เจรญิ เป็นตัวเตม็ วยั ตอ่ ไปโดยไม่มเี มทามอร์โฟซิส 5. สมรรถนะสำคญั 5.1 ความสามารถในการส่ือสาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการทำงานกลมุ่
6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 มวี นิ ยั 6.2 ใฝ่เรียนรู้ 6.3 มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 6.4 มีจติ สาธารณะ 7. ภาระงาน/ชน้ิ งาน 7.1 ภาระงาน - สืบค้นขอ้ มูลจากใบความรู้ ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ - บนั ทกึ ผลในแบบบันทึกกจิ กรรม เร่ือง การเจริญเตบิ โตของกบ และไก่ 7.2 ชิ้นงาน - แบบบนั ทึกกิจกรรม เรื่อง การเจริญเติบโตของกบ และไก่ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนำสู่การเรยี น การเจริญเติบโตของกบ และไก่ 1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ 1.1 ครูนำเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยให้นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกับขนาดของรา่ งกายของนักเรียน โดยสมุ่ นกั เรียน 2-3 คน เพื่อตอบคำถามดังนี้ -เมื่อ 7-8 ปีที่ผ่านมาตอนทีน่ ักเรยี นอยู่ชน้ั ประถม นกั เรียนมขี นาดของร่างกายเป็นอยา่ งไร ( ตัวเล็ก นำ้ หนักและส่วนสงู น้อยกว่าปจั จบุ ัน ) -นักเรยี นทราบหรือไม่ว่าเซลล์เริ่มตน้ ที่จะเจริญเปน็ ตวั นักเรียนคอื อะไร มขี นาดเท่าไร ( ไซโกต ขนาดประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ) -เมื่อเปรยี บเทียบไซโกตกบั เซลล์รา่ งกายของนักเรยี นปจั จุบัน เหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร ( ตา่ งกัน เพราะไซโกตมีขนาดเล็กมาก ๆ เมื่อเทียบกับร่างกายปจั จบุ ันซึง่ ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากทำให้ ขนาดของร่างกายใหญ่ขน้ึ และประกอบดว้ ยเซลล์หลายชนิด ) 1.2 ครูแสดงแผนภาพการเจริญเติบโตของร่างกายคนและกลา่ วเพมิ่ เติมวา่ “สิ่งมชี วี ิตจะต้องมี กระบวนการเจรญิ เติบโตเพ่ือเปล่ยี นแปลงเป็นสง่ิ มชี ีวิตตัวเต็มวยั ทสี่ มบรู ณ”์ 1.3 ครูกล่าวเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหา โดยใช้คำถาม ดงั นี้ - นกั เรยี นทราบแล้ววา่ เซลล์เร่ิมตน้ ทีเ่ จริญเป็นตัวนักเรียนคือไซโกต นักเรยี นทราบหรือไม่ว่า ไซโกตมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งไร สัตวแ์ ตล่ ะชนิดมีการเจริญเติบโตเหมอื นกันหรอื ไม่อย่างไร ( ไซโกตจะมกี ารแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์และมีการเปลยี่ นแปลงกลายเป็นอวัยวะและ รูปร่างทสี่ มบรู ณ์ สัตว์แต่ละชนดิ มีการเจรญิ เตบิ โตทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป ) 1.4 ครแู สดงภาพไข่กบ และไข่ไก่ใหน้ ักเรียนสงั เกต และใช้คำถามดังน้ี - ภาพที่นกั เรียนสงั เกตเหน็ คือภาพแสดงอะไร ( ภาพไขก่ บและ ไข่ไก่ ) - นกั เรยี นทราบหรอื ไมว่ า่ สัตวท์ ัง้ 2 ชนิดมกี ารเจริญเติบโต อย่างไร ( นกั เรียนยังไม่ทราบ )
กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ 2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา 2.1 ครใู ห้นกั เรยี นทำกจิ กรรมเพ่ือศึกษาการเจรญิ เตบิ โตของสงิ่ มีชวี ิต 2 ชนดิ จากสื่อวดี ิทัศน์และ ส่อื พาวเวอร์พอยท์ โดยแบ่งออกเปน็ 2 ตอนคือ ตอนท่ี 1 ศึกษาการเจรญิ เติบโตของกบ ตอนที่ 2 ศึกษาการเจรญิ เตบิ โตของไก่ 2.2 ครชู แ้ี จงการทำกิจกรรม ประกอบสือ่ พาวเวอร์พอยทโ์ ดยให้นกั เรียนบันทึกผลการสังเกต ในรปู แบบตาราง ลงสมุดของนักเรยี น และกำหนดประเดน็ เพอื่ ให้นักเรียนสังเกต ดังนี้ 1) ชอ่ื ระยะท่ีเกดิ การเปล่ยี นแปลง 2) ภาพวาดแสดงลักษณะของเอ็มบริโอ 3) คำอธบิ ายลกั ษณะการเปล่ียนแปลงในระยะต่าง ๆ ของเอ็มบริโอท่สี ังเกตเห็น 2.3 นกั เรียนบนั ทึกผลที่ได้จากการสงั เกตลงตารางบนั ทกึ ในสมุด ซึ่งครูจะใหน้ กั เรยี นบันทึก หลังจากที่ได้สงั เกตจากสื่อไปแล้ว 1 รอบ โดยรอบท่ี 2 ครูจะหยุดสอ่ื ใหน้ ักเรยี นบันทึกเป็นระยะ 3) ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ 3.1 เมอื่ นักเรียนบันทึกครบทุกระยะแลว้ ครูอธิบายการเจริญเติบโตของกบและไกใ่ นแต่ละระยะ เพม่ิ เติม 3.2 ครูใหน้ กั เรียนตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม โดยครูแสดงคำถามจากสื่อพาวเวอรพ์ อยท์และ ใหน้ ักเรียนเขยี นโจทย์และตอบคำถาม ทำลงในสมุด 3.3 ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายผลการทำกจิ กรรมตามประเด็นคำถามท้ายกิจกรรม ดังนี้ -การเปลี่ยนแปลงในระยะเอม็ บรโิ อประกอบด้วยก่ีขน้ั ตอน อะไรบา้ ง ( 4 ขนั้ ตอน ได้แก่ คลีเวจ บลาสทเู ลชัน แกสทรเู ลชนั และออร์แกโนเจเนซสิ ) -การเจรญิ เติบโตในแต่ละขั้นตอนมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไร ( คลเี วจ: ไซโกตมกี ารแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซิสเพมิ่ จำนวน บลาสทเู ลชัน: มกี ารจัดเรียงตวั เป็นช้ันอยูร่ อบนอก ตรงกลางเปน็ ชอ่ งว่างมีของเหลวบรรจุอยู่ แกสทรูเลชัน: มกี ารเคล่ือนท่แี ละจดั เรยี งตัวเปน็ เน้ือเยื่อชั้นต่าง ๆ กันประกอบดว้ ยเนื้อเย่ือ 3 ชั้น ออรแ์ กโนเจเนซสิ : เนื้อเยือ่ ท้ัง 3 ชั้น ของเอ็มบรโิ อมีพฒั นาการไปเปน็ อวยั วะต่าง ๆ ) - จากการศึกษาการเปล่ยี นแปลงในระยะเอ็มบริโอของกบในขั้นการพฒั นาไปเปน็ อวยั วะตา่ ง ๆ จะได้ตวั ออ่ นของกบเรียกวา่ อะไร มีลักษณะแตกตา่ งจากตัวเตม็ วัยหรือไม่ อยา่ งไร ( ตัวออ่ นของกบคือ ลูกอ๊อด มีลักษณะต่างจากพ่อแม่คือมีหางใชส้ ำหรบั ว่ายน้ำ ไม่มขี า จากนน้ั จะมีการเปล่ียนแปลงรูปร่าง ขาเรมิ่ พัฒนา และหางเรมิ่ หายไป ) - ตัวออ่ นของกบและไก่มีการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนารูปร่าง เหมือนหรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร ( ตวั อ่อนของกบเจรญิ ภายนอกไข่ แต่ตวั อ่อนของไก่จะเจริญภายในเปลือกไข่เมือ่ ตัวอ่อนเจรญิ เต็มทกี่ ็จะฟักออกมาจากไข่ สว่ นข้ันตอนการเจริญเตบิ โตเหมอื นกนั คอื เร่ิมจากคลีเวจ บลาสทูเลชัน แกสทรูเลชนั และออรแ์ กโนเจเนซสิ แตร่ ายละเอยี ดแตกต่างกนั เน่ืองจากปริมาณไข่แดงของไข่ไก่มากกว่าไขก่ บ และเอ็มบรโิ อไก่ อยู่ในสภาพแวดล้อมตา่ งจากเอม็ บริโอกบ )
4) ขัน้ ขยายความรู้ 4.1 ครอู ธิบายเพิ่มเติมเกีย่ วกับประเภทของการเจริญเติบโตของสตั ว์ และรปู แบบเมทามอร์โฟซสิ พร้อม ยกตัวอย่างและแสดงแผนภาพการเจรญิ เติบโตประกอบคำอธิบาย 4.2 ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั คาถามจากหนังสือเรียน ดงั นี้ -การเจริญของสตั วท์ ่ีมเี มทามอร์โฟซิสแตกตา่ งจากสัตว์ที่ไม่มเี มทามอร์โฟซสิ อยา่ งไร ยกตัวอย่างสตั ว์ทม่ี ี เมทามอร์โฟซสิ แบบตา่ ง ๆ ( แมลงเป็นสตั วส์ ่วนใหญ่ท่มี เี มทามอรโ์ ฟซิส จะมีการเปล่ียนแปลงรูปร่างลกั ษณะการดำรงชีวิตหลายคร้ัง ในขณะท่ีเอม็ บรโิ อมกี ารเจริญเติบโตเป็นตวั เตม็ วัย เมทามอรโ์ ฟซิสในแมลง แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่ ดงั น้ี 1. พวกท่ีมเี มทามอรโ์ ฟซิสแบบสมบรู ณ์ มีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างครบ 4 ขนั้ ตอน คือ ตัวหนอน ดกั แด้ ตวั เตม็ วยั เชน่ ผีเส้ือ แมลงวนั ยุง ด้วง มด 2. พวกทม่ี เี มทามอร์โฟซสิ แบบไม่สมบรู ณ์ มขี ้ันตอนการเปลี่ยนแปลงรปู ร่าง 3 ขนั้ คือ ไข่ ตวั อ่อน ตวั เต็มวัย เช่น ต๊กั แตน แมลงสาบ แมลงปอ จิ้งหรีด 3. พวกทไี่ มม่ เี มทามอรโ์ ฟซิส จากไข่ที่ได้รับการผสมจะฟักเป็นตวั ออ่ น ท่ีมรี ูปร่างลกั ษณะเหมอื นตัวเต็มวัย แตม่ ีขนาดเล็กกว่า เชน่ ตัวสามงา่ ม แมลงหางดีด ) 5) ขน้ั ประเมนิ ผล 5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนยอ้ นกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดมิ ส่งิ ทต่ี ้องการรู้ และขอบเขตเป้าหมาย แลว้ ตรวจสอบว่าไดเ้ รียนรตู้ ามทต่ี ้งั เป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถา้ ยังไมค่ รบถ้วนจะทำอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพ่ิมเติม) 5.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้ คะแนน สมดุ บันทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไมเ่ พียงพอใช้วิธสี มั ภาษณ์เพิ่มเติม 9. สอื่ การเรียนร้/ู แหล่งเรยี นรู้ 9.1 หนังสอื เรยี นรายวิชาเพม่ิ เตมิ ชวี วิทยา เล่ม 5 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 9.2 สือ่ นำเสนอ Power Point ประกอบการสอนเร่ืองการเจรญิ เติบโตของสตั ว์ 9.3 สอ่ื วดี ทิ ัศนเ์ ร่ือง “The Development of a Frog ” 9.4 สื่อวีดทิ ัศนเ์ ร่ือง “Development of a chicken embryo” 9.5 แบบบันทึกกจิ กรรม เร่ืองการเจริญเติบโตของกบ และไก่ 9.6 ห้องสมุด / ชุมชน ฐานข้อมลู internet /Google classroom 10. การวดั และประเมนิ ผล 10.1 วิธวี ดั และประเมินผล 1) ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบอตั นัย 10 ข้อ 2) ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมลู ไมเ่ พยี งพอใช้วธิ ีสมั ภาษณ์เพิม่ เติม 11.2 เคร่อื งมือวัดและประเมินผล 1) ข้อสอบอัตนยั 10 ข้อ 2) แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3) แบบประเมนิ จิตวทิ ยาศาสตร์ 11.3 เกณฑ์การประเมิน 1) ข้อสอบอัตนยั ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2) แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75 3) แบบประเมนิ จิตวิทยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 14 หนว่ ยการเรียนรู้ เรอื่ ง การสืบพนั ธ์แุ ละการเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์ วชิ าชีววทิ ยา 5 (ว33250) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เรื่อง การเจริญเติบโตของคน เวลา 2 คาบ ครูผู้สอน นางสาวศรอี ุดร ล้านสาวงษ์ 1. ผลการเรียนรู้ 1. สบื คน้ และอภิปรายเกีย่ วกับการสืบพันธุ์ของสงิ่ มชี ีวติ เซลล์เดยี วและการสบื พนั ธุ์ของสตั ว์ 2. อธิบายการสบื พันธุ์ของสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดียวและการสบื พันธข์ุ องสตั ว์ 3. จำแนก และสร้างเกณฑ์ของการสืบพนั ธุข์ องสิ่งมชี ีวติ เซลล์เดียวและการสืบพนั ธ์ุของสัตว์ 4. นำความรูเ้ รอ่ื งการสบื พันธ์ขุ องสงิ่ มีชีวติ เซลล์เดียวและการสบื พันธุ์ของสตั ว์ไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชวี ติ ประจำวนั 5. มจี ิตวิทยาศาสตร์ 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การเจริญเติบโตของคน เริ่มจากเซลล์ไข่ปฏิสนธกิ บั อสจุ ิเป็นไซโกตที่ท่อนำไขส่ ่วนตน้ มีกระบวนการแบง่ เซลล์เพื่อเพมิ่ จำนวนเซลล์ และจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไปเปน็ เอ็มบรโิ อซ่ึงจะเคล่ือนท่ีมาตามท่อนำไข่และมาฝงั ตวั ในผนงั มดลูกช้นั เอนโดมีเทรยี ม การเจรญิ เตบิ โตของคนคลา้ ยคลึงกับการเจริญเตบิ โตของสัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยน้ำนม เอ็มบริโอจะฝังตวั ในผนัง มดลกู มกี ารสร้างรกเพอ่ื เปน็ แหลง่ แลกเปลี่ยนแกส๊ และสารต่าง ๆ ระหวา่ งแม่กับเอ็มบริโอบางครั้งการตง้ั ครรภ์อาจ เกิดอาการผดิ ปกตไิ ด้ เชน่ ตง้ั ครรภ์นอกมดลูก ต้งั ครรภ์ไข่ปลาอกุ และการคลอดก่อนกำหนด เป็นตน้ การเจริญเติบโตของเอม็ บรโิ อและลูกอ่อน จะเกยี่ วข้องกับปัจจยั ภายนอกหลายประการ ไดแ้ ก่ อาหาร และ การคุม้ ภยั ให้กบั เอ็มบริโอและลูกอ่อน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพ่ือให้นกั เรียนสามารถ 3.1 ดา้ นความรู้ (K) 1) อธบิ ายกระบวนการเจริญเติบโตของคน 2) ระบโุ ครงสร้างและหนา้ ที่นอกตัวเอ็มบรโิ อได้ 3) อธบิ ายลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงของเอ็มบริโอแตล่ ะชว่ งอายหุ ลงั การปฏิสนธิ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1) เขียนกราฟแสดงอัตราการเจริญเตบิ โตของคนจากข้อมลู ที่กำหนดให้ 2) แปลความหมายของกราฟ 3) วิเคราะห์ลกั ษณะการเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ ของเอ็มบรโิ อแตล่ ะชว่ งอายุหลงั การปฏิสนธิได้ 4) เปรยี บเทียบความแตกตา่ งการเจริญของเอ็มบรโิ อในแตล่ ะชว่ งอายุหลังการปฏสิ นธิ 5) วเิ คราะหห์ นา้ ท่ขี องรกต่อการรกั ษาดุลยภาพของฟตี ัสได้ 6) นำเสนอข้อมลู หนา้ ช้นั เรยี น และจัดทำปา้ ยนเิ ทศ 3.3 คุณลักษณะ (A) 1) มีความใฝ่เรียนรู้ 2) การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผูอ้ น่ื และทำงานร่วมกับผู้อ่ืน อยา่ งสรา้ งสรรค์ 3) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมและการเขา้ ชนั้ เรียน
4. เนื้อหาสาระ คนไม่มไี ขแ่ ดง (Alecithal egg) แต่มีการเจริญของเอม็ บริโอคล้ายกบั สัตว์ชนดิ อน่ื ๆ คอื 1. Cleavage การแบ่งเพิ่มจานวนเซลล์ ได้เอ็มบรโิ อระยะมอรลู า (morular) 2. Blastulation ได้เอ็มบริโอระยะบลาสทลู า (blastula) ประกอบด้วยเซลล์ 2 กลุ่ม รอบนอก เรยี ก trophoblast กลมุ่ ขา้ งในเรยี กวา่ inner cell mass และมชี ่องว่างเรียกว่า blastocoel เอม็ บรโิ อระยะนี้ เรียกว่า blastocyst 3. Gastrulation ระยะ gastrula การเกิดเนื้อเยื่อ 3 ช้ันคอื ectoderm mesoderm และ endoderm 4. Organogenesis เนื้อเยือ่ 3 ชน้ั เปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะตา่ งๆ - Ectoderm จะเจรญิ เป็นเยื่อบผุ ิว ระบบประสาท เช่น สมอง ไขสนั หลัง เลนสต์ า เปน็ ต้น - Mesoderm จะเจรญิ เปน็ notochord ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบค้ำจนุ รา่ งกาย ช้นั หนังแท้ ระบบขบั ถ่ายและระบบสบื พันธุ์ - Endoderm จะเจริญเปน็ เยื่อบุทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ตบั และตับอ่อน โครงสร้างนอกตวั เอ็มบริโอ (Extra embryonic structure) 1. Yolk sac ถุงไขแ่ ดง 2. Amnion ถุงน้ำคร่า 3. Chorion ถุงคอเรยี น 4. Allantois แอลแลนทอยส์ รก (placenta) ประกอบด้วย 2 สว่ น 1. รกลูกประกอบดว้ ย ถงุ คอเรียนและแอลแลนทอยส์ 2. รกแม่คือผนังช้ันในของมดลูกที่ เรยี กว่า เอนโดมเี ทรียม รกเปน็ อวยั วะท่ีทำหน้าท่ีแทนอวัยวะระบบต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ใหส้ ารอาหารกับลูก (nutrition) ทำหนา้ ท่ีคล้ายเปน็ ระบบทางเดนิ อาหาร 2. หายใจ (respiration) เป็นเสมอื นปอด กล่าวคือ เป็นจุดแลกเปลีย่ นออกซิเจนและ คารบ์ อนไดออกไซดร์ ะหวา่ งแมก่ บั ลูกอ่อน 3. ขบั ถา่ ยของเสีย (excretion) ทำหนา้ ที่คลา้ ยกับไต คือ เปน็ ท่ขี ับถา่ ยของเสียท่ีเกิดจาก กระบวนการเมตาโบลิซึมของลกู อ่อน 4. สรา้ งฮอรโ์ มน (hormone production) ทำหนา้ ทีค่ ลา้ ยกับเปน็ ระบบต่อมไร้ท่อ 5. ปอ้ งกนั อนั ตราย (protection) เปน็ โครงสร้างทขี่ ัดขวางไม่ใหส้ ารหรอื microorganism บางอย่างผา่ นเขา้ ไปทำอันตรายตอ่ ลกู ออ่ นได้ 6. เป็นแหล่งเมตาโบไลต์สารบางอยา่ ง เชน่ แอนตบิ อดี (antibody) หรือยาบางอยา่ งท่ีได้รับจาก แม่จะถูกรกปรบั เปลย่ี นใหอ้ ยู่ในรปู แบบท่ไี มเ่ ป็นอนั ตราย การเปลีย่ นแปลงของทารกในครรภภ์ ายหลังการปฏสิ นธใิ นช่วงเดือนตา่ ง ๆ มีดังน้ี เดอื นที่ 1 ทารกในครรภจ์ ะมีขนาดเลก็ มาก เพียงเทา่ เมล็ดข้าว อยใู่ นถุงน้ำคร่าเล็ก ๆ ที่มรี กเกาะอยู่ที่ผนงั มดลูก และจะมีตุ่มย่นื ออกมาพรอ้ มท่ีจะพัฒนาเป็นแขนขา อวยั วะภายในของระบบตา่ ง ๆ เร่มิ ก่อรูปขน้ึ โดยเฉพาะ ระบบประสาทจะเจรญิ ดีมากซ่งึ ต่อไปจะเจริญไปเปน็ สมองและไขสนั หลงั หัวใจเริ่มเต้น มีการเชื่อมต่อกันของเส้นเลือดจากผนงั ของถุงไข่แดง จากแอลแลนทอยส์และ คอเรยี นกับเส้นเลือดภายในตัวเอ็มบริโอ ระบบไหลเวยี นเลอื ดเรม่ิ ทำงานไดแ้ ล้ว
เดอื นที่ 2 เอ็มบริโอดูคล้ายมนุษยโ์ ดยทั่วไป ส่วนหัวแมจ้ ะโตมาก แตก่ ็ตั้งตรงได้มองเหน็ ส่วนคอได้ชดั เจน ส่วนของตา และหูเห็นได้ชดั จมูกโดง่ ย่นื ขน้ึ มา ในเดือนที่ 2 น้ี ตัวทารกจะมคี วามยาวประมาณ 1 น้ิวฟุต ซ่ึงแม้จะมขี นาดเล็ก แตท่ ารกก็จะมี แขน ขา หนา้ รปู ร่างเหมอื นมนุษยข์ นาดจ๋ิว ถา้ อลั ตราซาวด์จะเหน็ การเคล่ือนไหวและจบั การเต้น หัวใจได้ เดอื นที่ 3 การพฒั นาของอวยั วะต่าง ๆ ทสี่ ำคญั เกือบหมด แต่ยงั ไมส่ มบูรณ์ และเปลยี่ นมาเรียกว่าทารกในครรภ์ (Fetus) แทนตัวออ่ น (Embryo) ระยะฟตี สั เร่ิมเหน็ โครงสร้างของอวัยวะท่จี ะพัฒนาต่อไปเป็น ตา หู แขน และ ขา มีการพัฒนาของระบบ โครงสร้างและกลา้ มเนอ้ื ระบบประสาทมีการตอบสนองมากขึ้น เดือนท่ี 4 อวัยวะสืบพันธภุ์ ายนอกเห็นไดช้ ดั เจนมากข้นึ สามารถบอกเพศของทารกได้ ปลายเดอื นท่ี 4 นี้ ผ้เู ปน็ แม่ อาจจะรูส้ กึ ได้ถึงการดิ้นของทารกในครรภ์ เดอื นท่ี 5 ระบบกล้ามเนื้อและประสาทเจรญิ ดขี นึ้ เด็กเริ่มดิ้นจนแม่รู้สึกได้ ฟีตสั เพศหญงิ มดลกู จะเจรญิ ดีแล้ว และ เรมิ่ ต้นมีช่องคลอด ส่วนในฟีตัสเพศชายอัณฑะจะเริ่มเคลื่อนลงมาจากผนังช่องทอ้ ง แต่ยังไม่ลงส่ถู งุ อณั ฑะ สามารถ ฟังเสยี งหวั ใจเตน้ ไดท้ างผนังหน้าท้องของแม่ เดอื นที่ 6 ใบหนา้ มีลกั ษณะคลา้ ยเด็ก ขนคว้ิ เห็นได้ชัดเจน เริม่ มีขนตาสามารถลืมตาและหลับตาไดแ้ ลว้ กระดกู ออ่ น ของใบหพู ฒั นา ทารกสามารถได้ยนิ เสยี งหายใจหรือเสียงหวั ใจเต้นของแมส่ ามารถตอบสนองการกระตุ้นของแม่ได้ เดอื นท่ี 7 ปอดของทารกพัฒนาอย่างสมบรู ณ์ มกี ารเคลอื่ นไหวของปากและรมิ ฝีปาก นยั น์ตาพฒั นาไปมากจนมองเห็น แสงท่ผี ่านมาทางหน้าท้องแมไ่ ด้ กรณกี ารคลอดก่อนกำหนดทารกอาจมีชีวติ อยูร่ อดแตต่ ้องเลยี้ งในต้อู บ เดือนที่ 8 การตดิ ต่อและการประสานงานของระบบประสาทกับสมองพฒั นาได้มากขน้ึ การพฒั นาของทารกเป็น การเพ่ิมเชงิ ขนาด ทารกจะเริ่มกลับหวั เข้าสอู่ ุ้งเชิงกราน ถา้ คลอดชว่ งน้สี ามารถอยรู่ อดได้ เดอื นที่ 9 ฟีตัส มไี ขมนั ใต้ผิวหนังสมบูรณ์แลว้ เดือนนีท้ ารกจะอยู่ในท่าทพ่ี ร้อมจะคลอด เลบ็ มกี ารเจรญิ เตบิ โต และ ยาวครอบคลมุ ปลายนว้ิ ผมมีความยาวประมาณ 1-2 น้วิ 5. สมรรถนะสำคัญ 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ - กระบวนการทำงานกลมุ่
6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มีวนิ ยั 6.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3 มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 6.4 มีจิตสาธารณะ 7. ภาระงาน/ชน้ิ งาน 7.1 ภาระงาน - สืบค้นขอ้ มูลจากใบความรู้ สื่อ และแหล่งเรยี นรู้ - บันทกึ ผลในแบบบันทึกกจิ กรรม เรอ่ื ง ขั้นตอนการเจรญิ เติบโตของคนในระยะเอ็มบรโิ อ 7.2 ชน้ิ งาน - ออกแบบช้นิ งาน จดั ปา้ ยนเิ ทศ - แบบบันทึกกจิ กรรม เรอื่ ง ข้ันตอนการเจรญิ เติบโตของคนในระยะเอ็มบริโอ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมนำสกู่ ารเรยี น การเจรญิ เตบิ โตของเอ็มบริโอ และโครงสร้างที่เกย่ี วข้องกับการเจริญเตบิ โตของคน 1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ 1.1 ครูนำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยทบทวนความร้เู ดิมเกยี่ วกบั การเจริญเติบโตของสตั ว์จำพวก กบ และไก่ โดยร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ 1.1 การเปลยี่ นแปลงและการเจรญิ เตบิ โต ของเอ็มบรโิ อกบ และไก่ 1.2 ลกั ษณะและโครงสรา้ งท่ีปกปอ้ งเอม็ บรโิ อจากสภาพแวดลอ้ มภายนอกของกบและไก่ 1.3 อาหารสะสมทจ่ี ำเปน็ ต่อการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอกบ และไก่ 1.2 ครูใชค้ ำถามเชื่อมโยงเขา้ สู่เนอื้ หา ดงั นี้ -ขนั้ ตอนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอคน เหมือนหรือแตกต่างจากกบและไก่อยา่ งไร ( เหมือนกนั ตรงท่ี ประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอน คือ คลเี วจ,บลาสทูเลชนั ,แกสทรูเลชัน และออรแ์ กโนเจนซี สี และ แตกต่างกันในรายละเอยี ด เน่ืองจากเซลล์ของคนไม่มีไข่แดงท่ีเปน็ อาหารสะสม แตจ่ ะได้รบั สารอาหารผา่ นทางรก แทน ในเรือ่ งของการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เช่น การกำจดั ของเสยี และการแลกเปลีย่ นแก๊สของเอ็มบริโอกแ็ ตกต่างกนั ) -เอม็ บริโอของคนได้รับสารอาหาร แกส๊ ออกซิเจน และการขับถา่ ยของเสีย แตกต่างจาก เอ็มบริโอของไกห่ รือไม่ อย่างไร ( แตกตา่ งกัน โดยเอ็มบริโอของคนไดร้ บั สารอาหาร แลกเปลยี่ นแกส๊ ออกซเิ จน และ ขบั ถา่ ยของเสียผ่านทางรกซึ่งแตกต่างจากไก่ โดยไก่ไดร้ บั สารอาหารจากไข่แดง มีการแลกเปล่ยี นแก๊สผ่านทาง เปลอื กไข่ ส่วนการขบั ถ่ายของเสยี จะถกู เกบ็ สะสมไวใ้ นถงุ แอลแลนทอยสใ์ นรูปกรดยรู กิ ) กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 2.1 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเพอ่ื ศึกษาขั้นตอนการเจริญเติบโตของคนในระยะเอ็มบริโอ โดยมีข้ันตอน การทำกจิ กรรม ดงั น้ี 1. ครใู หน้ กั เรยี นศึกษาแผนภาพแสดงการเปลีย่ นแปลงของเอม็ บรโิ อในท่อนำไข่จนฝงั ตัวท่มี ดลูก โดยมปี ระเด็นให้นักเรยี นสงั เกต ดังน้ี 1.1 ตำแหนง่ ของการปฏสิ นธิ 1.2 การเปล่ียนแปลงรูปรา่ งของเอ็มบรโิ อหลงั การปฏสิ นธิ
1.3 ระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเอ็มบรโิ อในท่อนำไขจ่ นกระทั่งมาฝังตวั ที่ มดลูก 1.4 ชอื่ เรยี กของเอม็ บรโิ อในแต่ละระยะท่ีมีการเปลีย่ นแปลง 2. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายคำตอบเก่ยี วกับประเดน็ ทใ่ี หน้ ักเรยี นศึกษา ดังกล่าว โดยครูสุ่ม นกั เรียนเพื่อตอบคำถามตามประเด็นและอภปิ รายร่วมกนั กบั นกั เรียนท้ังห้องอีกคร้ัง 2.2 ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับการเจริญของเอ็มบริโอของคนทคี่ ลา้ ยกบั สตั ว์ชนิดอื่น ๆ แตใ่ นรายละเอยี ด ของแต่ละข้นั ตอนจะมคี วามแตกต่างกันโดยใช้สือ่ พาวเวอร์พอยท์ 3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป 3.1 ครูกล่าวต่อไปว่า “หลงั จากการปฏิสนธิ ประมาณวนั ท่ี 7 เอ็มบริโอจะสรา้ งถงุ คอเรยี นลอ้ มรอบ เอม็ บริโอและมบี างส่วนแทรกในเอนโดมเี ทรียมของมดลูกแม่ซงึ่ ตอ่ มาจะมกี ารพัฒนาเปน็ รก” ครใู ช้คำถามเชื่อมโยง เขา้ สู่เน้ือหา ดงั น้ี - นักเรยี นคดิ วา่ โครงสรา้ งอืน่ ๆ ที่อยู่ภายนอกตัวเอ็มบริโอหรือตวั อ่อนของคนมีอะไรบ้าง เหมือน หรือแตกต่างกบั สัตว์ปีก เช่น ไก่อยา่ งไร ( นักเรียนจะยังไม่ทราบ แตค่ ิดว่านา่ จะแตกต่างกับสตั วป์ กี อย่างไก่ เพราะตัวออ่ นของคนอยภู่ ายใน ตัวแม่ และไมม่ ีไขแ่ ดงสะสมใหเ้ หน็ ) 3.2 ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ เก่ียวกับโครงสร้างนอกตวั เอม็ บริโอ (Extra embryonic structure) โดยใชส้ อ่ื พาว เวอรพ์ อยทป์ ระกอบการบรรยายและใชแ้ ผนภาพประกอบเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึน และใชค้ ำถามเช่อื มโยง ตอ่ ไป ดังนี้ - จากการปรบั เปลี่ยนโครงสร้างของเอ็มบรโิ อคน นกั เรียนทราบหรือไมว่ า่ โครงสรา้ งดงั กล่าวมีความสำคญั ต่อการรักษาดลุ ยภาพของตัวอ่อนอย่างไรบา้ ง ( เนอ่ื งจากถงุ คอเรียนและแอลแลนทอยส์จะพัฒนาไปเปน็ รก ซึ่งรกมีความสำคัญตอ่ ตวั อ่อนคือแลกเปลี่ยน สารระหวา่ งแม่กับลกู ทง้ั อาหาร แลกเปล่ียนแก๊ส และของเสยี ต่าง ๆ มีการสรา้ งสายสะดือเช่ือมกบั รกของแม่และลูก นอกจากนย้ี งั มีการสรา้ งถงุ น้ำคร่า ภายในมีน้ำคร่าเพ่ือปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื นและช่วยใหเ้ อ็มบริโอเคล่ือนไหว อยา่ งอิสระด้วย ) 4) ขน้ั ขยายความรู้ 4.1 ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ เกีย่ วกับหนา้ ท่ีของรกท่ชี ่วยในการรักษาดุลยภาพของฟตี สั โดยใช้ส่อื พาวเวอร์พอยท์ ประกอบการบรรยายและใช้แผนภาพประกอบเพ่ือให้นกั เรียนเขา้ ใจมากย่ิงขึน้ 5) ข้นั ประเมนิ ผล 5.1 ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปการเจริญเตบิ โตของกบ ไก่และคนโดยใชส้ ือ่ พาวเวอร์พอยทป์ ระกอบและ ใหน้ ักเรียนเปรยี บเทียบการเจริญเติบโตของกบ ไก่ และคนลงในสมดุ ของนักเรียน 5.2 ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนย้อนกลับไปอ่านบนั ทึกประสบการณเ์ ดิม สง่ิ ทตี่ ้องการรู้ และขอบเขตเป้าหมาย แลว้ ตรวจสอบว่าไดเ้ รยี นรตู้ ามท่ตี ั้งเปา้ หมายครบถ้วนหรอื ไม่เพยี งใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทำอยา่ งไรต่อไป (อาจสอบถามใหค้ รูอธบิ ายเพ่ิมเติม สอบถามใหเ้ พื่อนอธิบาย หรือวางแผนสบื คน้ เพิ่มเติม) 5.3 ครใู ห้คะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้ คะแนน สมุดบันทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไมเ่ พียงพอใช้วธิ สี มั ภาษณ์เพมิ่ เติม
กิจกรรมนำสกู่ ารเรียน การเตบิ โต และอตั ราการเตบิ โตของคน 1) ข้ันสร้างความสนใจ 1.1 ครนู ำเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยใช้สอื่ วดี ิทัศนเ์ ร่ือง “How were you born Amazing animation” และใชค้ ำถามเชอื่ มโยงเขา้ สเู่ น้ือหา ดังนี้ -นักเรียนสงั เกตเห็นอะไรบา้ งจากสื่อวดี ิทัศน์ ( สงั เกตเหน็ การเปล่ียนแปลงของไซโกตภายหลังการปฏสิ นธซิ ง่ึ จะมีการแบง่ เซลล์เพิ่มจำนวนและ เคล่อื นท่ีไปตามทอ่ นำไขจ่ นไปฝงั ตัวท่ผี นงั มดลกู และเกดิ การเปล่ยี นแปลงรปู ร่างตา่ ง ๆ จนเกิดเป็นตัวอ่อนมนุษยห์ รอื ทารก ) -นกั เรยี นคดิ ว่าการเปลย่ี นแปลงในระยะเอม็ บริโอของคนมีขั้นตอนเหมือนหรือแตกต่างกับสตั ว์ชนดิ อืน่ อยา่ งเชน่ กบ หรือไก่ หรอื ไมอ่ ย่างไร ( แตกตา่ งกัน / เหมือนกนั โดยมขี นั้ ตอนหลัก คือ คลเี วจ การเพ่ิมจำนวนเซลล์ บลาสทเู ลชันคอื การจดั เรยี งตวั ของเอ็มบริโอและเกิดชอ่ งวา่ งท่ีเรยี กวา่ บลาสโทซีล ขนั้ แกสทรูเลชนั คือกระบวนการที่เอ็มบริโอ เปลยี่ นแปลงเป็นเนอ้ื เยื่อ 3 ชั้น และข้ันออร์แกโนเจนีซสิ คือ กระบวนการท่เี นื้อเยอ่ื ทงั้ 3 ชัน้ มกี ารพัฒนาไปเป็น อวยั วะต่าง ๆ ) - นักเรยี นคิดว่าเอม็ บรโิ อของคนจะได้รับสารอาหารผา่ นทางใด และมีวิธกี ารขับถ่ายของเสยี ดว้ ย วิธกี ารทแี่ ตกตา่ งจากเอ็มบรโิ อของไกห่ รือไม่ อย่างไร ( ไดร้ ับสารอาหาร แก๊สออกซิเจน และการขบั ถา่ ยของเสียพวกยูเรยี แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ผ่าน ทางรกซ่งึ ต่างจากเอ็มบริโอของไก่ซึ่งได้สารอาหารจากไข่แดง การแลกเปล่ียนแกส๊ ผา่ นเปลอื กไข่ และการกำจัดของ เสยี ในรูปกรดยูรกิ สะสมในถงุ แอลแลนทอยส์ ) - นักเรียนทราบหรอื ไม่ว่าการเจริญของเอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ของมารดาใชเ้ วลานานเทา่ ใด ( ประมาณ 9 เดอื น จึงจะคลอดออกมาเป็นทารก ) กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 2.1 ตอนท่ี 1 ครูใหน้ ักเรียนทำกิจกรรม “การเจริญเติบโตของคน” มีขนั้ ตอนการทำกจิ กรรม ดงั น้ี 1. ครแู บง่ กลมุ่ ให้นักเรียน ออกเปน็ 6 กลุม่ กลุ่มละ 6-7 คน และแจกใบกจิ กรรมในแต่ละกล่มุ 2. ครูช้ีแจงกอ่ นทำกิจกรรมเพ่ือความเขา้ ใจที่ตรงกนั โดยให้นักเรียนนำอักษรหน้าขอ้ ความลกั ษณะ การเปลีย่ นแปลงของทารกในครรภ์ที่กำหนดให้ เติมลงในชอ่ งวา่ งหน้าอายหุ ลงั ปฏสิ นธิใหส้ มบูรณ์ โดยครมู คี ำใบ้ใน แต่ละช่วงอายุหลังปฏิสนธิ ดงั นี้ เดอื นที่ 1 เกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอ 4 ระยะคือ คลเี วจ บลาสทเู ลชนั แกสทรูเลชัน และออร์แกโนเจนซี สิ เดือนท่ี 2 เร่มิ สงั เกตเหน็ ทารกชัดเจนโดยเฉพาะส่วนหัว หัวใจจะเป็นรูปเป็นร่างเต็มที่ โครงสร้าง ใบหนา้ ของทารกเรมิ่ สมบูรณ์ เดือนที่ 3 อวยั วะต่าง ๆ เจรญิ มากขึน้ สิน้ สดุ ระยะเอ็มบรโิ อ หลังจากน้ีเรยี กว่า “ฟตี ัส” เดือนที่ 4 การเตบิ โตของทารกท่ีใกลจ้ ะสมบรู ณ์ สามารถอัตราซาวด์บอกเพศได้ เดอื นที่ 5 กล้ามเน้ือตา่ ง ๆ มีความแขง็ แรงมากข้นึ ทารกเคลอ่ื นไหวมากขึน้ เดอื นที่ 6 ทารกสามารถได้ยนิ เสียงหวั ใจเตน้ เสียงพูด เสียงดนตรี และสามารถตอบสนองการ กระตนุ้ ของแมไ่ ด้ เดอื นที่ 7 มีการสร้างไขมาปกคลุมผิวหนงั ลำตัว เพอื่ ความอบอนุ่ นยั น์ตาพัฒนาไปมากจนมองเห็น แสงท่ผี ่านมาทางหนา้ ท้องแม่ได้
เดือนที่ 8 ทารกจะมขี นาดและสัดสว่ นใกล้เคยี งกับเดก็ แรกเกิด มคี วามแขง็ แรง ทารกกลับตวั เดอื นท่ี 9 ทารกจะอยใู่ นทา่ ที่พรอ้ มจะคลอด สามารถหมนุ คอและยกศีรษะได้ 3. ครูให้เวลานักเรยี นเขยี นคำตอบ โดยอภปิ รายร่วมกันภายในกลมุ่ 4. ครูแจกแบบบันทกึ กิจกรรมเพอ่ื สรุปเร่ืองการเจริญเตบิ โตของคนอีกครง้ั 2.2 ตอนที่ 2 ครใู หน้ ักเรยี นทากิจกรรม เร่ืองอัตราการเติบโตของคนโดยศึกษากราฟแสดงอตั ราการเติบโต ของคนจากข้อมูลที่กำหนดให้ 3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป 3.1 ตอนที่ 1 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ และอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามเช่ือมโยงเน้อื หา ตามประเดน็ ดังต่อไปนี้ 1. การเปลีย่ นแปลงของเอ็มบรโิ อแต่ละชว่ งอายหุ ลังการปฏิสนธิ 2. เปรยี บเทยี บความแตกต่างการเจรญิ ของเอ็มบริโอในแต่ละชว่ งอายหุ ลงั การปฏสิ นธิ 3.2 ครแู จกแบบบนั ทกึ กจิ กรรมใหน้ ักเรียนบนั ทึกผลลงในตารางแสดงรายละเอยี ดลักษณะการเปลยี่ นแปลง ของทารกในครรภ์ภายหลงั การปฏิสนธิในชว่ งเดือนตา่ ง ๆ เปน็ ลำดบั ขนั้ พร้อมตอบคำถามท้ายกิจกรรม 3.3 ตอนท่ี 2 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบในคำถามทา้ ยกจิ กรรม ดังนี้ -ช่วงอายเุ ทา่ ใดที่มีอตั ราการเตบิ โตมากท่ีสดุ ( ช่วงอายุ 16-20 สัปดาห์ ) - อัตราการเตบิ โตในชว่ งทเี่ ปน็ เอ็มบรโิ อกบั ฟีตัสแตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร ( เอม็ บรโิ อกับฟีตสั มีการเตบิ โตแตกตา่ งกนั เพราะชว่ งที่เป็นเอ็มบรโิ อคือ ตง้ั แต่สัปดาหท์ ่ี 1 ถึง สัปดาห์ท่ี 8 เปน็ การเตบิ โตเพื่อสร้างอวัยวะและรูปร่าง มีการเพม่ิ ขนาดรา่ งกายนอ้ ย แต่เมื่อเป็นฟีตัสมีอวัยวะครบ แลว้ จะมกี ารเพมิ่ ขนาดของร่างกายมากขนึ้ ในชว่ ง 3 เดอื นสุดทา้ ยของการตั้งครรภ์ ฟีตสั จะมีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว ) -ช่วงใดท่มี อี ัตราการเติบโตนอ้ ย เพราะเหตุใด ( ช่วง 4 สัปดาหแ์ รก เอ็มบริโอมีอตั ราการเติบโตนอ้ ย เพราะเปน็ ช่วงท่มี กี ารเพ่ิมจำนวนเซลล์ สร้างเนื้อเยอ่ื และเร่ิมสรา้ งอวัยวะ แต่มกี ารเพ่ิมขนาดน้อย ) 4) ขั้นขยายความรู้ 4.1 ครูให้นกั เรยี นพจิ ารณาแผนภาพและร่วมกนั อภิปรายเกีย่ วกับการเตบิ โตของร่างกายในระยะหลงั คลอด -เมอ่ื โตเตม็ ทีเ่ นื้อเย่ือสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวมีจำนวนมากขึ้นหรือน้อยลงกว่าเมอ่ื อายปุ ระมาณ12ปี ( น้อยลง ) - อวยั วะสืบพันธุ์ของคนเร่มิ มีการเจริญเตบิ โตอย่างรวดเรว็ เมอ่ื อายุประมาณเท่าใด ชว่ งอายุ ดงั กล่าวมีอตั ราการเพ่มิ ขนาดของรา่ งกายเป็นเช่นไร ( 12 ปี ชว่ งน้ันมีอตั ราการเพิม่ ขนาดของร่างกายมากขึน้ ) -ระยะใดท่สี มองมีอัตราการเติบโตสงู สดุ ( ตงั้ แต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ) 4.2 ครูใหน้ กั เรยี นสืบคน้ ข้อมูลเกยี่ วกบั สภาวะบางประการท่มี ผี ลตอ่ การเติบโตของทารกในครรภ์ และใช้ คำถามเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี - ปจั จยั ภายนอกอะไรบา้ งทมี่ ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของลูกออ่ น ( อาหาร อุณหภมู ิ ความชื้น การปอ้ งกนั ภยั ) -นักเรียนคดิ วา่ ปรมิ าณไข่แดงมสี ่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเจรญิ เติบโตของสตั ว์แตล่ ะชนิดหรอื ไม่ อย่างไร ( ปริมาณไขแ่ ดงมีส่วนเก่ยี วข้องกบั การเจริญเตบิ โตของสัตวแ์ ต่ละชนิด สัตวท์ ่ีมไี ข่แดงน้อยหรือ ไม่มีเลย เช่น คน จะต้องอาศัยอาหารจากภายนอกแม่ สว่ นไก่เป็นสตั ว์ที่มีไข่แดงมากจงึ ได้รับอาหารในระยะเอม็ บรโิ อ
จากไข่ แต่สตั วท์ มี่ ีไข่แดงมากบริเวณที่จะเจริญไปเปน็ เอม็ บรโิ อจะมีเฉพาะบริเวณเล็ก ๆ เทา่ น้นั การแบง่ เซลล์จงึ แบ่ง เฉพาะบรเิ วณทจ่ี ะมีการเปล่ยี นแปลงไปเป็นเอม็ บริโอเทา่ น้ัน ) 5) ขั้นประเมนิ ผล 5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลบั ไปอา่ นบันทึกประสบการณเ์ ดมิ ส่งิ ที่ต้องการรู้ และขอบเขตเปา้ หมาย แลว้ ตรวจสอบว่าได้เรยี นร้ตู ามทตี่ ัง้ เป้าหมายครบถ้วนหรอื ไม่เพยี งใด ถา้ ยงั ไม่ครบถ้วนจะทำอยา่ งไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบคน้ เพ่ิมเติม) 5.2 ครใู หค้ ะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้ คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพยี งพอใช้วธิ ีสัมภาษณ์เพม่ิ เติม 9. สือ่ การเรียนร/ู้ แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่ิมเติม ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 9.2 สือ่ นำเสนอ Power Point ประกอบการสอนเรื่อง “การเจริญเติบโตของคน” 9.3 สือ่ วีดิทัศน์ เรอ่ื ง Baby process from 0 month to 9 months 9.4 แบบบันทกึ กิจกรรม เรื่องการเจริญเตบิ โตของคน 9.5 ส่ือวดี ทิ ศั น์เรื่อง “How were you born Amazing animation” 9.6 สอื่ วดี ิทัศน์เร่ือง “การต้ังครรภ”์ 9.7 สอื่ พาเวอร์พอยท์ประกอบ กจิ กรรมการเรยี นร้เู รอ่ื ง “การเจริญ เติบโตของคน” 9.8 ใบกจิ กรรมเร่ือง “การเจริญเตบิ โตของคน” 9.9 แบบบนั ทึกกิจกรรมเรื่อง“การเจริญเติบโตของคน” 9.10 หอ้ งสมุด / ชมุ ชน 9.11 ฐานขอ้ มลู internet /Google classroom 10. การวดั และประเมินผล 10.1 วิธวี ัดและประเมินผล 1) ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบอัตนยั 10 ข้อ 2) ครใู หค้ ะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไมเ่ พียงพอใช้วธิ ีสัมภาษณเ์ พม่ิ เติม 10.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 1) ข้อสอบอัตนยั 10 ข้อ 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3) แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ 10.3 เกณฑ์การประเมนิ 1) ขอ้ สอบอัตนยั ได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75 3) แบบประเมินจติ วทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: