~ 41 ~ 2. สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) (ตอ่ ) ระดับการปฏบิ ตั ิ รายการสมรรถนะและพฤติกรรม นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก ที่สุด กลาง ทส่ี ุด 2. สมรรถนะการพัฒนาผเู้ รยี น 2.1 สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมแก่ผเู้ รียนในการจัดการเรียนรู้ ในช้นั เรยี น 2.2 จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมใหแ้ กผ่ ู้เรยี นโดยให้ ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการวางแผนกิจกรรม 2.3 จดั ทำโครงการ/กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม ใหแ้ กผ่ ู้เรียน 2.4 จัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นด้านการดูแลตนเอง มีทักษะใน การเรียนรู้ การทำงาน การอยรู่ ่วมกันในสงั คม และรเู้ ท่าทนั การเปลย่ี นแปลง 2.5 สอดแทรกความเป็นประชาธปิ ไตย ความภูมใิ จในความเป็น ไทยให้แกผ่ เู้ รยี นในการจัดการเรยี นรู้ 2.6 จัดทำโครงการ/กจิ กรรมทส่ี ่งเสริมความเปน็ ประชาธปิ ไตย ความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย 2.7 ให้ผู้ปกครองมีส่วนรว่ มในการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น รายบุคคล 2.8 นำขอ้ มูลนักเรยี นไปใชช้ ว่ ยเหลอื /พฒั นาผเู้ รียนทั้งด้าน การเรียนรแู้ ละปรับพฤติกรรมเป็นรายบคุ คล 2.9 จดั กจิ กรรมเพ่อื ป้องกันแกไ้ ขปัญหาและสง่ เสรมิ พฒั นาผู้เรยี น ให้แกน่ ักเรยี นอย่างทั่วถึง 2.10 สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นปฏบิ ัติตนใหถ้ กู ต้องเหมาะสมกับค่านยิ ม ทด่ี ีงาม 2.11 ดแู ลนกั เรยี นทุกคนอยา่ งทวั่ ถึง ทนั เหตุการณ์
~ 42 ~ ระดับการปฏิบตั ิ รายการสมรรถนะและพฤตกิ รรม นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก ท่สี ดุ กลาง ทส่ี ุด 3. สมรรถนะการบริหารจดั การชัน้ เรียน 3.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นที่เอ้ือต่อ การเรียนรู้ 3.2 สง่ เสรมิ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ที่ดีระหวา่ งครูกบั ผู้เรยี นและผู้เรยี น กบั ผู้เรยี น 3.3 ตรวจสอบสงิ่ อำนวยความสะดวกในห้องเรยี นให้พร้อมใช้ และปลอดภัย 3.4 จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของนักเรยี นเปน็ รายบุคคลและ เอกสารประจำช้ันเรยี นครบถ้วน เปน็ ปัจจบุ ัน 3.5 นำข้อมลู สารสนเทศไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียนได้อย่าง เต็มศักยภาพ 3.6 ใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการกำหนดกฎ กติกา ข้อตกลง ในช้ันเรียน 3.7 แกป้ ญั หา/พัฒนานกั เรียนด้านระเบยี บวนิ ยั โดยการสร้างวินัย เชงิ บวกในชน้ั เรยี น 3.8 ประเมิน การกำกับดูแลชัน้ เรยี น และนำผลการประเมินไปใช้ ในการปรับปรงุ และพฒั นา 4. สมรรถนะการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพ่ือพัฒนา ผเู้ รยี น 4.1 สำรวจปัญหาเกีย่ วกบั นักเรียนทีเ่ กิดขนึ้ ในชั้นเรยี นเพ่ือ วางแผนการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาผู้เรียน 4.2 วิเคราะห์สาเหตขุ องปัญหาเกี่ยวกบั นกั เรียนที่เกิดขึน้ ใน ชั้นเรยี นเพอ่ื กำหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาระบุ สภาพปจั จุบัน 4.3 รวบรวม จำแนกและจดั กลมุ่ ของสภาพปัญหา แนวคิดทฤษฏี และวิธีการแกป้ ญั หาเพื่อสะดวกตอ่ การนำไปใช้ 4.4 มีการประมวลผลหรอื สรุปขอ้ มลู สารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์ ต่อการแก้ไขปญั หาในชั้นเรียนโดยใช้ขอ้ มูลรอบดา้ น 4.5 มีการวเิ คราะห์จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย อปุ สรรคและโอกาส ความสำเร็จของการวิจยั เพือ่ แกป้ ญั หาท่เี กดิ ขึ้นในชั้นเรียน
~ 43 ~ รายการสมรรถนะและพฤติกรรม น้อย ระดบั การปฏบิ ตั ิ มาก ท่สี ดุ ที่สดุ 4.6 จัดทำแผนการวิจยั และดำเนนิ กระบวนการวจิ ยั อย่างเปน็ นอ้ ย ปาน มาก ระบบตามแผนดำเนนิ การวจิ ัยทกี่ ำหนดไว้ กลาง 4.7 ตรวจสอบความถูกตอ้ งและความน่าเชอื่ ถือของผลการวจิ ัย อย่างเป็นระบบ 4.8 มีการนำผลการวิจัยไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นกรณีศกึ ษาอน่ื ๆ ท่ีมี บริบทของปัญหาที่คล้ายคลงึ กนั 4.9 นำข้อมูลนักเรยี นไปใชช้ ว่ ยเหลอื /พฒั นาผู้เรียนทั้งดา้ น การเรียนรู้และปรับพฤติกรรมเปน็ รายบคุ คล 4.10 จัดกิจกรรเพอ่ื ป้องกันแกไ้ ขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาผู้เรยี น ใหแ้ ก่นกั เรียนอยา่ งทวั่ ถึง 5. สมรรถนะภาวะผนู้ ำครู 5.1 เห็นคุณคา่ ให้ความสำคัญในความคิดเหน็ หรือผลงานและ ใหเ้ กียรตผิ ู้อนื่ 5.2 กระตุน้ จงู ใจ ปรับเปลยี่ นความคิดและการกระทำของผู้อนื่ ใหม้ ีความผูกพันและมุ่งม่ันต่อเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน 5.3 มปี ฏิสัมพนั ธใ์ นการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่นโดยมงุ่ เนน้ ไปการเรียนรู้ และการพัฒนาวิชาชีพ 5.4 มีทักษะการฟงั การพูด และการตง้ั คำถามเปิดใจกว้าง ยืดหยุ่น ยอมรบั ทศั นะที่หลากหลายของผู้อื่นเพื่อเป็นแนวทาง ใหม่ ๆ ในการปฏบิ ัตงิ าน 5.5 ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี ปน็ ปจั จบุ ันโดยมีการ วางแผนอยา่ งมีวิสัยทศั น์ซึ่งเชอ่ื มโยงกบั วสิ ัยทัศน์ เป้าหมาย และพันธกิจของโรงเรียน 5.6 ริเร่ิมการปฏบิ ตั ทิ ่ีนำไปสู่การเปลีย่ นแปลงและพฒั นา นวตั กรรม 5.7 กระตุน้ ผู้อน่ื ให้มีการเรยี นรแู้ ละความรว่ มมือกันในวงกว้าง เพื่อพฒั นาผู้เรยี น สถานศึกษา และวิชาชพี 5.8 ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืนภายใตร้ ะบบ/ขั้นตอนทเี่ ปล่ยี นแปลง ไปจากเดิมได้
~ 44 ~ รายการสมรรถนะและพฤตกิ รรม นอ้ ย ระดับการปฏบิ ตั ิ มาก ท่สี ดุ ท่สี ดุ 5.9 สนับสนนุ ความคดิ ริเริ่มซึ่งเกิดจากการพจิ ารณาไตรต่ รองของ นอ้ ย ปาน มาก เพ่ือนร่วมงาน และมสี ่วนร่วมในการพฒั นานวตั กรรมต่าง ๆ กลาง 5.10 ใชเ้ ทคนคิ วิธีการหลากหลายในการตรวจสอบประเมนิ การปฏิบัติงานของตนเองและผลการดำเนินงานสถานศกึ ษา 5.11 กำหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรทู้ ท่ี ้าทาย ความสามารถของตนเองตามสภาพจริงและปฏบิ ตั ิให้ บรรลผุ ลสำเรจ็ ได้ 5.12 ยอมรับข้อมลู ป้อนกลบั เกยี่ วกับความคาดหวงั ดา้ นการเรยี นรู้ ของผูเ้ รยี นจากผ้ปู กครอง 6. สมรรถนะการสรา้ งความสัมพนั ธ์และความร่วมมือกบั ชุมชน เพอ่ื การจัดการเรยี นรู้ 6.1 มีปฏสิ มั พันธ์ทดี่ กี บั ผ้ปู กครองและชุมชนในการตดิ ต่อสื่อสาร เพื่อการจดั การเรียนรู้ 6.2 ประสานงานกับผ้ปู กครองและชุมชนให้เขา้ มามสี ่วนรว่ ม ในการจดั การเรียนร้อู ยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดปีการศึกษา 6.3 เปดิ โอกาสใหผ้ ู้มีสว่ นเกย่ี วข้องเข้าร่วมวางแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรใู้ นระดบั ชัน้ เรียน 6.4 เปดิ โอกาสใหผ้ ูป้ กครองและชมุ ชนเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกยี่ วกับการจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา 6.5 สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือระหวา่ งครู ผู้ปกครอง ชุมชนและ องค์กรอน่ื ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชนในการแลกเปลยี่ นข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื การจดั การเรยี นรู้ 6.6 จดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีให้ปราชญ์ชาวบ้านหรือภูมปิ ัญญา ในทอ้ งถิน่ เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม 6.7 มีการเปดิ โอกาสให้ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของสถานศึกษาเขา้ มา มสี ว่ นรว่ มในการประเมินผลการจดั การศึกษา 6.8 มกี ารเสนอผลการจดั การเรยี นรูต้ ่อฝ่ายต่าง ๆ ของชมุ ชน เพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละแก้ไขปัญหาร่วมกนั ในทุกภาคเรียน ลงชือ่ วา่ ที่ ร.ต.ดร................................................... ผู้ประเมิน (สุกจิ ศรีพรหม ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
~ 45 ~ แนวทางการประเมินการให้คะแนนและการแปลผลการประเมินสมรรถนะครู 1. การประเมินตามแนวทางนีใ้ ช้แบบประเมินสมรรถนะสำหรับครูผู้สอนทำการประเมินสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานตามสภาพจริง เพ่ือจะได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้สอน และนำผลการประเมินไปใช้ใน การกำหนดกรอบการพฒั นาสมรรถนะครใู ห้มีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ลสูงสุดตอ่ การพัฒนาผู้เรยี น สถานศึกษาและวชิ าชีพ ผ้ใู ช้แบบประเมนิ สมรรถนะครู ดงั น้ี 1. ครผู ู้สอน : ประเมินตนเอง 2. เพอื่ นครูผู้สอนในสถานศกึ ษาเดียวกัน : ประเมินครูผสู้ อน 3. ผูบ้ ริหารสถานศึกษา : ประเมินครผู สู้ อน 2. การให้คะแนนการประเมินสมรรถนะครู 2.1 การให้คะแนนในแต่ละข้อรายการจะมีระดบั คุณภาพของสภาพการปฏิบตั ิงาน 5 ระดบั ไดแ้ ก่ ปฏิบัตนิ อ้ ยทีส่ ุด ปฏบิ ัตนิ ้อย ปฏิบตั ปิ านกลาง ปฏบิ ัตมิ าก และปฏิบัติมากทสี่ ดุ โดยกำหนดค่าคะแนน เปน็ 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลำดับ 2.2 การตดั สินผลในแต่ละสมรรถนะ ให้ทำการคำนวณหาคะแนนเฉล่ยี รายสมรรถนะ และท้ังฉบับของครูเป็นรายบุคคล โดยนับจำนวนความถ่ีของระดับการปฏิบัติ แล้วนำจำนวนความถี่ท่ีได้นับได้ ทั้งหมดมาคำนวณหาคะแนนรวม โดยการนำจำนวนความถ่ีในแต่ละระดับการปฏิบัติมาคูณคะแนนในแต่ละระดับ คุณภาพการปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี คอื ปฏบิ ัติน้อยท่ีสดุ คุณดว้ ย 1 ปฏบิ ัตินอ้ ย คูณดว้ ย 2 ปานกลาง คูณด้วย 3 ปฏิบัติมาก คูณด้วย 4 และปฏิบัติมากท่ีสุด คูณด้วย 5 แล้วนำคะแนนมารวมกัน จากน้ันนำคะแนนรวมท่ีได้ คำนวณหาคะแนนเฉลีย่ 3. การแปลผลการประเมนิ สมรรถนะครู เป็นการนำคะแนนเฉลยี่ มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การแปลผล ที่กำหนดไว้ โดยกำหนดเกณฑ์จากผลการวิเคราะหค์ า่ เฉล่ีย ( ) ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของข้อมลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมไดท้ ง้ั หมดดังน้ี ค่าคะแนนเฉล่ยี ระดับคุณภาพ มากกว่า ค่าเฉลีย่ รวม + S.D. รวม ดี ระหว่าง คา่ เฉลยี่ รวม S.D. รวม พอใช้ น้อยกวา่ คา่ เฉล่ีย รวม - S.D. รวม ปรบั ปรุง การใหค้ ะแนนและแปลผลการประเมนิ สมรรถนะ คา่ คะแนนเฉลย่ี ระดบั คุณภาพ 4.01 – 5.00 สูง 3.01 – 4.00 ปานกลาง ตัง้ แต่ 3.00 ลงมา ควรปรับปรงุ 4. การนำเสนอผลการประเมินสมรรถนะครู การนำเสนอผลการประเมินใหน้ ำคะแนนเฉลย่ี และระดับคุณภาพในแต่ละสมรรถนะมากรอกลงในแบบ สรุปผลการประเมนิ สมรรถนะของครูผูส้ อนในตอนท้ายของแบบประเมนิ แล้วจึงรายงานผลการประเมนิ ใหผ้ ้บู ริหารหรือหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งนำไปเป็นแนวทางในการพฒั นาสมรรถนะครตู ่อไป
~ 46 ~ สว่ นที่ 3 แผนการพฒั นาตนเองในการจดั หอ้ งเรียนท่ีมีคุณภาพ (Individual Development Planning : IDP) 1. อันดับความสำคญั / สมรรถนะท่จี ะพฒั นา ใหใ้ สห่ มายเลขเรยี งตามลำดบั ความสำคัญของสมรรถนะท่จี ะ พฒั นา ( 1 ) การใช้ส่ือและเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้ ( 2 ) สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) ( 3 ) การสอนในศตวรรษที่ 21 ( 4 ) การจัดการชน้ั เรียน ( 5 ) การออกแบบการเรียนรู้ ( 6 ) การแกป้ ญั หาผู้เรยี น ( 7 ) การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ( 8 ) จิตวทิ ยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรยี นรู้ ( 9 ) การวจิ ัยพฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี ( 10 ) การพฒั นาหลักสตู ร 2. วธิ กี าร /รปู แบบการพัฒนา วธิ กี ารที่ 1 ภาควิชาการ ซึ่งจะเปน็ การศกึ ษาหาความรู้ในเน้ือหาที่จะไดใ้ ชใ้ นห้องเรยี นจริง ๆ โดยยดึ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเปน็ หลัก เป็นความรู้ใหมท่ เี่ กิดจากการประยกุ ต์ความรู้เชิงวิชาการ สูก่ ารปฏิบัติจริงในห้องเรยี น ประเด็นในการพัฒนาครอบคลุมท้ังเร่ือง หลักสูตร การเรียนการสอนสอ่ื การวัดผล และการวจิ ยั เชือ่ มโยงยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และเปา้ หมายผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 หรือ แผนการศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 และหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560 วธิ ีการท่ี 2 ภาคปฏิบตั กิ าร จะเนน้ ให้ไดร้ ับการสรา้ งความเขา้ ใจแบบเข้ม การเรยี นรู้ทีเ่ กิดจากการ คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดขั้นสงู ดว้ ยการทบทวนความรู้ (Review) การสะท้อนคิด (Reflection) และการถอดบทเรียน (AAR) ด้วยกจิ กรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งครูที่เข้ารับการพัฒนาและกบั คณะ วทิ ยากร เป็นกลุ่มย่อย มวี ิทยากรประจำกล่มุ ทุกกลมุ่ ซึ่งจะดแู ลผู้เข้ารับการพัฒนาให้ไดฝ้ ึกทักษะการออกแบบ เส้นทางคุณภาพผู้เรียนสอดคลอ้ งกับหลกั สูตร/เป้าหมายศตวรรษท่ี 21 ได้ออกแบบเสน้ ทางกระบวนการเรียนรู้ อยา่ งไรกอ่ นสรา้ งนวัตกรรม และแสดงถึงมีวิธีการวัดผล/สะท้อนผลหลังจากนำไปใชก้ ับผูเ้ รียนเพื่อย้อนกลับนำมา ปรับปรงุ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกบั ผ้เู รยี นต่อไป วธิ ีการท่ี 3 ภาคนิทรรศการ จะเปน็ การศึกษาจากกรณตี วั อยา่ งการปฏบิ ตั /ิ ส่อื -นวตั กรรมท่ดี ี ทผี่ ่าน การบรู ณาการทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิสูก่ ารพัฒนานักเรยี นจรงิ มกี ารสาธติ แนวปฏบิ ัติ/สอื่ -นวตั กรรมท่ีดี และฝึกนำ สื่อ/วธิ ีปฏิบตั ิ/นวัตกรรมตวั อยา่ ง ไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ ถอดบทเรยี น เพ่ือประกอบการเขียนเคา้ โครงการ พัฒนากระบวนการ/ส่ือ/นวัตกรรมนนั้ ๆ ที่จะแสดงใหเ้ ห็นวา่ จะมีผลสำเร็จอย่างยั่งยนื วธิ ีการที่ 4 การสรา้ งชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี – ไดร้ ่วมสร้างการเรียนรใู้ นระหวา่ งการฝกึ อบรมดว้ ย การเรียนรูจ้ ากคู่พัฒนา (Buddy) การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (Share and Learn) ในกลมุ่ ย่อย การสะท้อนคดิ (Reflection) การถอดบทเรียน (AAR) และการ Coaching & Mentoring จาก Mentor/Expert เพอ่ื ให้สามารถ สร้างสรรค์ สรุปองค์ความรทู้ ี่ผสมผสานระหวา่ งองค์ความรู้จากทฤษฎี และองค์ความรู้จากประสบการณส์ ู่การ ปฏบิ ตั ิในช้นั เรียนได้ โดยทำงานรว่ มกบั คณะวิทยากรหลังการอบรมผ่านระบบออนไลน์ ด้วยกระบวนการชุมชน การเรียนรูว้ ชิ าชีพ (PLC) อยา่ งตอ่ เนื่อง
~ 47 ~ 3. ระยะเวลาในการพฒั นา เร่ิมต้น 1 มิถนุ ายน 2564 ส้ินสุด 30 เมษายน 2565 4. การขอรบั การสนับสนุนจากหน่วยงาน - 5. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 5.1 ผลลัพธท์ ีค่ าดหวัง ด้านความรู้ : เกิดการเรยี นรู้ ผลการพัฒนาสกู่ ารเปลยี่ นแปลงผูเ้ รียน และนำประสบการณ์เขา้ แลกเปลี่ยนเรียนร้แู ก่เพอ่ื นรว่ มวิชาชีพ จนเกดิ องค์ความรู้ท่ีได้จากการเข้าร่วมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ไปใช้ใน การจดั การเรยี นการสอน ทักษะ : มีความสามารถบูรณาการความรสู้ ูก่ ารปฏิบัติ โดยมงุ่ เน้นการพัฒนาผเู้ รียนไดเ้ ต็มตาม ศกั ยภาพ สร้างนวัตกรรมจากการปฏิบัตทิ ่ีสง่ ผลต่อคณุ ภาพของผู้เรยี น และสรา้ งนวตั กรรมท่ีได้จากการเขา้ รว่ มใน ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพและพัฒนานวตั กรรมใหเ้ ป็นต้นแบบการเรียนรูแ้ ก่เพื่อนรว่ มวิชาชพี ความเปน็ ครู : เขา้ ร่วมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี สรา้ งเครือข่ายชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ สร้างวัฒนธรรมทางการเรียนรใู้ นสถานศึกษา และเปน็ ผู้นำการเปล่ยี นแปลงต่อวงการวิชาชพี 5.2 ผลการนำไปใช้ในการพัฒนางาน คือการนำความร้แู ละทักษะท่ีไดร้ บั การพฒั นาระหว่างการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบตั ิงานจรงิ ในห้องเรียนของตนเอง ดังน้ี 5.2.1 นำเสนอแผนการจัดกิจกรรมแบบคู่พฒั นา (Buddy) 1 แผน จดั ใหเ้ พ่ือนครู หรือหัวหน้า ฝา่ ยวิชาการหรือรองผู้อำนวยการโรงเรียน ใหข้ ้อเสนอแนะ (Comment) แล้วนำไปปรบั ปรุงแผนการจัดกจิ กรรม ใหม่ จากนนั้ จงึ รายงานผา่ นไลน์กลุม่ ของหนว่ ยพัฒนา (นิติบุคคล) หจก.เพ่ือครู เพอื่ ให้วิทยากรหลัก/วทิ ยากรพี่ เลี้ยงใหก้ าร Coaching 5.2.2 นำแผนการจัดกิจกรรมทป่ี รับใหม่แลว้ ไปสอนจริงในหอ้ งเรยี น โดยมีเพ่ือนครู หรือ หัวหนา้ ฝ่ายวิชาการ หรือรองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ไปเย่ยี มชัน้ เรยี น ถา่ ยภาพ หรือคลปิ การสอน ท่เี ห็นภาพการ เย่ียมชนั้ เรยี น ภาพการจัดกจิ กรรมตามข้ันตอนในแผนการจัดกิจกรรม และภาพผลงานการเรียนรู้ของผเู้ รียน จากนั้นนามาถอดบทเรยี นรว่ มกับผู้เยย่ี มช้ันเรยี น ส่งข้อมลู ผ่านระบบออนไลน์ (Line/ facebook) 5.3 การสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ PLC Online เครอื ข่ายระดับชาติ หลังจากเข้ารบั การอบรม ตามหลักสตู รทส่ี ถาบันครุ พุ ฒั นาอนมุ ัตแิ ล้ว จะเข้าร่วมปฏบิ ัติการกิจกรรมการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เครือข่าย ระดับชาติ ซงึ่ จะไดป้ ฏบิ ัติกจิ กรรมสร้างชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพร่วมกบั สมาชิกจากทว่ั ประเทศ กลุ่มละ 8-10 คน/ครงั้ ในระยะเวลาชว่ งละ 3 เดอื น ตามขนั้ ตอนกิจกรรม PLC 7 ขนั้ ภายใต้การกำกับดูแลตลอดการปฏบิ ตั ิ กิจกรรมและเติมเต็มความรู้ ทางวชิ าการไปพรอ้ มกันของ Mentor & Expert เพ่อื ใหบ้ รรลุเป้าหมายตามตัวชวี้ ัด การมสี ่วนร่วมในชมุ ชนวิชาชพี ของ ก.ค.ศ. ซง่ึ สมาชกิ สามารถนบั เป็นชัว่ โมงการปฏิบตั ิงานโดยมรี ่องรอยหลักฐาน การปฏิบตั กิ จิ กรรมเพื่อใหห้ น่วยพฒั นาครู (นติ บิ คุ คล) หจก.เพื่อครู รบั รองชั่วโมง PLC เพอ่ื ใช้เปน็ ร่องรอยในการ บนั ทึกในระบบบันทึก (Logbook) ของ กคศ. ได้ในอนาคต
~ 48 ~ การดำเนนิ งานตามแผนการพฒั นาตนเอง การวางแผนการพฒั นาตนเองในการจัดหอ้ งเรียนที่มีคณุ ภาพ (Individual Development Planning : IDP) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 วิชา ชวี วิทยา 1 (ว31246 และ ชีววิทยา 5 (33250) โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื อำเภอสวา่ งแดนดิน จงั หวัดสกลนคร มีผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับจากการวางแผนการ พัฒนาตนเอง 2 ดา้ น คอื ด้านสมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจำสายงานซ่ึงมรี ายละเอียดดงั น้ีคือ ดา้ นสมรรถนะหลัก มีการพัฒนาตนเองใน 4 ด้าน คือ 1. การมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ ได้แก่ 1.1 ความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงาน 1.2 ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน 1.3 ผลการปฏิบัตงิ าน 2. การบริการท่ีดี ไดแ้ ก่ 2.1 ความสามารถในการสรา้ งระบบการใหบ้ รกิ าร 2.2 ความสามารถในการให้บริการ 3. การพัฒนาตนเอง ได้แก่ 3.1 ความสามารถในการพัฒนาตนเอง 3.2 ความสามารถในการใชภ้ าษาไทยเพื่อการส่ือสาร 3.3 ความสามารถในการตดิ ตามความเคล่ือนไหวทางวชิ าการและวิชาชพี 3.4 ความสามารถในการประมวลความร้แู ละนำความรู้ไปใช้ 4. การทำงานเป็นทีม ได้แก่ 4.1 ความสามารถในการวางแผนเพ่อื การปฏบิ ตั งิ านเป็นทีม 4.2 ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั ดา้ นสมรรถนะประจำสายงาน มกี ารพฒั นาตนเองใน 5 ด้าน คอื 1. การจดั การเรียนรู้ 1.1 ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร 1.2 ความสามารถในเน้อื หาสาระที่สอน 1.3 ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั 1.4 ความสามารถในการใชแ้ ละพฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการจดั การเรยี นรู้ 1.5 ความสามารถในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 2. การพัฒนาผู้เรยี น 2.1 ความสามารถในการปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม 2.2 ความสามารถในการพัฒนาทักษะชีวติ สขุ ภาพกายและสุขภาพจิต 2.3 ความสามารถในการปลูกฝังความเปน็ ประชาธปิ ไตย 2.4 ความสามารถในการปลุกฝังความเปน็ ไทย 2.5 ความสามารถในการจัดระบบดแู ลและช่วยเหลือผู้เรียน
~ 49 ~ 3. การบริหารจดั การชัน้ เรียน 3.1 ความสามารถในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ 3.2 ความสามารถในการจดั ทำข้อมูลสารสนเทศและเอกสารฯ 3.3 ความสามารถในการกำกับดูแลชน้ั เรียน 4. การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และการวิจัย 4.1 ความสามารถในการวเิ คราะห์ 4.2 ความสามารถในการสังเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการเขียนเอกสารทางวชิ าการ 4.4 ความสามารถในการวิจัย 5. การสรา้ งความรว่ มมือกบั ชมุ ชน 5.1 ความสามารถในการนำชุมชนมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมสถานศึกษา 5.2 ความสามารถในการเข้ารว่ มกิจกรรมของชุมชน นอกจากนี้จะต้องมีการพัฒนาด้านคุณลักษณะที่จำเป็นในการพัฒนาวิชาชีพ คือ ด้านวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ไดแ้ ก่ 1. การมวี ินยั 2. การประพฤติ ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี 3. การดำรงชวี ิตอยา่ งเหมาะสม 4. ความรกั และศรัทธาในวชิ าชพี ครู 5. ความรับผิดชอบในวิชาชพี ลงช่อื . ............................................... (นางสาวศรีอดุ ร ลา้ นสาวงษ์) ตำแหน่ง ครู กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
~ 50 ~ สว่ นที่ 4 ความต้องการในการพฒั นา (กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 1. หลักสตู รใดทท่ี ่านตอ้ งการพฒั นา หลักสูตร สนุกกบั พนั ธศุ าสตร์ ผา่ นสื่อการเรยี นรู้ท่กี ระต้นุ การคิด 2. เพราะเหตใุ ดทา่ นจงึ ตอ้ งการเข้ารบั การพัฒนาในหลกั สตู รนี้ กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ป,ี แผนการศึกษาชาติ, นโยบาย ศธ. และนโยบาย สพฐ. ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ขอ้ 1.3 เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจท่ีถกู ต้องเกย่ี วกบั สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผ่านหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรูป้ ระวตั ศิ าสตร์และความเปน็ พลเมือง ขอ้ 2.4 ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ทใี่ ห้ผู้เรียนได้เรียนรูผ้ า่ นกจิ กรรมการปฏิบัติจรงิ ข้อ 2.5 ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาฯ ข้อ 1.2 ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ข้อ 1.3 การเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิจรงิ (Active Learning) ข้อ 1.4 การพฒั นาครูทั้งระบบทเ่ี ช่อื มโยงกบั การเล่ือนวิทยฐานะ 3. ทา่ นคาดหวังส่ิงใดจากการเข้ารับการพัฒนาในหลกั สตู รน้ี 3.1 เนือ้ หาความรดู้ า้ นพันธศุ าสตรท์ ถ่ี กู ต้อง ความก้าวหน้าใหม่ๆ ที่ทันสมยั สามารถเชื่อมโยง ตอ่ ยอด ความรพู้ ื้นฐานนักเรยี นในหอ้ งเรียนได้ 3.2 สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทช่ี ่วยใหน้ ักเรียนเกดิ ความคิดรวบยอด และเข้าใจเนอื้ หาด้าน พนั ธุศาสตร์ท่ีถูกต้องชัดเจนมากข้ึนจากการเรยี นรผู้ ่านกจิ กรรมและการใช้สอ่ื การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย 3.3 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหเ้ กิดบรรยากาศการเรยี นรู้ทีส่ นุกสนานซ่ึงจะชว่ ยให้นกั เรยี นเข้าใจเนื้อหา ดา้ นพันธุศาสตร์ และเกิดเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3.4 ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นาจะได้จัดทำแผนพฒั นาตนเอง, สรา้ งกรอบแนวคิดการพัฒนาผ้เู รียน, ฝกึ เขียนเคา้ โครงและออกแบบขน้ั ตอนการพัฒนาผลงานทางวิชาการ, โดยการสรา้ งความเข้าใจในหลักเกณฑ์และวิธีการฯ (ว 20/21/22) การถอดบทเรยี นความสำเรจ็ จากตัวอย่างผลงานทผี่ ่านการประเมินครูเชี่ยวชาญ ภายใต้การแนะนำ (Coaching) จากวทิ ยากร ครูเช่ียวชาญ และเข้าชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี แลกเปล่ียน แบ่งปนั (ออนไลน)์ ตลอดปี เพื่อยกระดับมาตรฐานวทิ ยฐานะในกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. ท่านจะนำความรู้จากหลักสตู รไปพัฒนาการสอนของทา่ นอย่างไร นำความรู้และทักษะท่ีได้รับการพัฒนาระหว่างการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนรู้ผ่านสื่อ การเรียนรู้ท่ีกระตุ้นการคิด ให้กับผู้เรยี น โดยเสนอผลปฏิบัติตามแผนการจัดกิจกรรม แบบคู่ Buddy ผ่านระบบ ออนไลน์ (Line/ facebook) เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพ่ือนร่วมวิชาชีพในอันท่ีจะปรับปรุงการเรียนรู้ และ การปฏิบัติงานอยา่ งต่อเนอื่ งเพอ่ื สรา้ งชุมชนการเรยี นรูว้ ิชาชพี (PLC) ต่อไป
~ 51 ~
Search