Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน ชีววิทยา 5 ว33250 ม.6 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

แผนการสอน ชีววิทยา 5 ว33250 ม.6 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

Description: แผนการสอน ชีววิทยา 5 ว33250 ม.6 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

Keywords: แผนการสอน ชีววิทยา 5 ว33250 ม.6 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ เรือ่ ง การเคลื่อนท่ีของส่ิงมีชีวติ วชิ าชีววิทยา 5 (ว33250) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เรือ่ ง การเคล่อื นท่ขี องส่ิงมีชีวติ เซลล์เดียว และสัตว์ไม่มีกระดกู สันหลัง เวลา 5 คาบ ครูผู้สอน นางสาวศรอี ดุ ร ลา้ นสาวงษ์ 1. ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวยั วะทเ่ี ก่ียวข้องกับการเคลือ่ นทข่ี อง แมงกะพรนุ หมึก ดาวทะเล ไส้เดอื นดนิ แมลง ปลา และนก 2. สืบค้นขอ้ มูลและอธบิ ายโครงสร้างและหน้าท่ีของกระดูกและกล้ามเนื้อทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การเคล่ือนไหว และการเคลอื่ นท่ีของมนษุ ย์ 3. สังเกตและอธบิ ายการทำงานของข้อต่อ ชนดิ ตา่ ง ๆ และการทำงานของกล้ามเนื้อโครงร่างที่เกยี่ วข้อง กบั การเคลือ่ นไหวและการเคลอ่ื นท่ขี องมนุษย์ 2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด สิ่งมชี วี ิตมีโครงสร้างทีใ่ ช้ในการเคลอ่ื นท่แี ตกต่างกนั สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วบางชนดิ เคลือ่ นที่โดยการไหล ของ ไซโตพลาซึม บางชนิดเคลอื่ นทโี่ ดยอาศัยการโบกพัดของแฟลกเจลลัม หรอื ซเิ ลีย สว่ นสิ่งมีชวี ิตหลายเซลล์ พวกสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมงกะพรุน อาศัยการหดตัวของกล้ามเนอ้ื ขอบกระดง่ิ และแรงดนั นา้ ดาวทะเล เคลือ่ นทีโ่ ดยอาศยั แรงดันน้ำและระบบท่อน้ำภายในรา่ งกาย ไส้เดือนดนิ ใชเ้ ดือยและการทำงานของกลา้ มเนื้อ 2 ชดุ ทำงานในสภาวะตรงกนั ขา้ ม แมลงใชก้ ล้ามเน้ือ 2 ชุดเชน่ กัน ทำงานในสภาวะตรงกนั ขา้ มทัง้ ที่ปีกและท่ีขา ซ่ึงจะต้องใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ มีจิตวทิ ยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีส่วนร่วมในการทำงานและใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยัด ค้มุ คา่ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 1. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และอภปิ รายโครงสร้างท่ใี ชใ้ นการเคลอื่ นท่ีของ สัตวไ์ ม่มีกระดูกสนั หลงั 2. เปรยี บเทยี บลกั ษณะการเคลอื่ นท่ีของสตั ว์ไมม่ ีกระดูกสันหลงั 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. สืบคน้ ข้อมูล ทดลอง และอธบิ ายการเคล่ือนท่ีของส่งิ มีชวี ิต เซลลเ์ ดียว สัตว์ไมม่ กี ระดูกสันหลัง 2. สามารถอธิบายลักษณะการเคลอื่ นท่ีและการทำงานของกล้ามเนื้อท่ที ำงานร่วมกันในสภาวะ ตรงกันข้ามของสตั ว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง 3.3 คณุ ลกั ษณะ (A) 1. สืบค้นข้อมลู อภปิ ราย อธิบาย และตระหนักถงึ ความสำคัญของการเคลอ่ื นที่เพ่ือตอบสนองต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม 4. สาระการเรียนรู้ การเคลอื่ นที่ locomotion เปน็ พฤติกรรมหนึ่งของส่ิงมชี ีวติ ทเ่ี กดิ ขึน้ เพ่ือตอบสนองต่อสิ่งเร้า ท้งั สง่ิ เรา้ ภายนอก และภายในร่างกาย ท้งั นเี้ พ่ือประโยชนต์ อ่ การดำรงชวี ิต ในการหาอาหาร หลบภัย หรือการเคล่อื นทหี่ ลกี หนีสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม รวมทัง้ การเคลื่อนทเี่ พอื่ การสืบพนั ธ์ุ สำหรบั การดำรงเผ่าพันธข์ุ องสง่ิ มีชีวิตชนดิ นน้ั ๆ

5. สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 4. มจี ิตสาธารณะ 7. ภาระงาน/ช้นิ งาน 7.1 ภาระงาน - สบื ค้นข้อมูลจากใบความรู้ สื่อ และแหล่งเรียนรู้ - บันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรม เร่อื ง การเคล่อื นที่ของส่งิ มีชีวิตเซลลเ์ ดียวและสตั ว์ไม่มีกระดูก สันหลงั 7.2 ชน้ิ งาน - ออกแบบช้นิ งาน - แบบบนั ทกึ กจิ กรรม เร่อื ง การเคลือ่ นท่ีของส่ิงมชี วี ิตเซลลเ์ ดียวและสัตว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลัง 8. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมนำสกู่ ารเรียน 1) ข้ันสร้างความสนใจ 1.1 ครใู หน้ กั เรยี นสังเกตการเคลื่อนที่ของสิง่ มีชวี ิตเซลลเ์ ดียว ได้แก่ อะมบี า พารามเี ซียม ยูกลนี า เพอื่ นำสปู่ ระเด็นการอภปิ รายรว่ มกันวา่ การเคล่ือนท่ขี องส่งิ มีชีวติ เซลล์เดียวทเ่ี ห็นภายใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์ นั้นมีการเคล่ือนที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) ขนั้ สำรวจและค้นหา 2.1 ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันสืบค้นข้อมลู เพ่ืออธิบายถงึ สาเหตุทีท่ ำใหส้ ิง่ มีชีวติ เซลลเ์ ดยี ว เคล่อื นที่แตกตา่ งกัน โดยใหน้ ักเรยี นเชือ่ มโยงความรเู้ ดิมเก่ียวกับโครงสร้างของเซลลจ์ ากบทเรยี นที่ผ่านมา นกั เรียนควรสรปุ ได้วา่ การเคล่ือนทขี่ องสง่ิ มีชวี ติ เซลลเ์ ดียวประกอบด้วยการไหลของไซโตพลาซมึ ทำให้เกิดเทา้ เทียม พบใน การเคลื่อนที่ของอะมบี า การใช้แฟลกเจลลมั เชน่ ยกู ลนี า การใชซ้ เิ ลีย เชน่ พารามเี ซียม 2.2 ใหน้ กั เรียนศึกษาการเคลื่อนท่ขี องแมงกะพรนุ หมึก และดาวทะเล จากคลิปวีดโิ อ และให้ นกั เรยี นสืบคน้ ข้อมลู เพื่ออภิปราย โดยใชค้ ำถาม ดงั น้ี - การเคล่อื นที่ของสตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลังดังกล่าว แตกต่างกบั การเคล่อื นที่ของสง่ิ มชี ีวิต เซลล์เดยี วหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (แตกต่างกัน เพราะร่างกายของสตั วไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั มีขนาดใหญ่กว่าประกอบดว้ ย หลายเซลล์ จงึ ตอ้ งอาศัยโครงสร้างตา่ ง ๆ เพื่อชว่ ยในการเคล่ือนที่ เช่น แมงกะพรุนทเ่ี คลื่อนที่โดยอาศยั การหดตวั ของเนื้อเยื่อบรเิ วณขอบกระด่ิง และแรงดันน้ำ เป็นตน้ )

- สตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลงั มีการเคลื่อนที่เหมือนกันทุกชนิดหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (ไม่เหมอื นกนั เพราะสัตว์ต่างชนดิ จะมีโครงสรา้ งที่ใช้ในการเคลอื่ นทแ่ี ตกตา่ งกนั เช่น สตั ว์ไมม่ กี ระดูกสันหลังท่อี าศัยในน้ำ เน่อื งจากมแี รงเสียดทานน้อยสงิ่ มชี ีวิตสามารถลอยตัวอยูใ่ นน้ำได้และอาศัย แรงดันน้ำช่วยในการเคลื่อนท่ี ส่วนสัตวไ์ มม่ กี ระดูกสันหลงั ทีอ่ าศัยอยู่บนบกจะมีกลา้ มเน้ือช่วยในการเคล่ือนท่ี บนผิวดนิ และตอ้ งเคล่ือนที่ต้านแรงโนม้ ถ่วงของโลก บางชนิดยงั ตอ้ งอาศยั กล้ามเนื้อหรือขาช่วยในการเคล่ือนทด่ี ้วย) - สว่ นที่จะตอ่ กับทอ่ ไต มีลักษณะอยา่ งไร (เป็นโพรงซง่ึ จะแคบลงต่อกบั ท่อไต เรยี กว่า กรวยไต) 2.3 จากการอภิปรายนักเรยี นควรสรุปได้วา่ การเคล่ือนที่ของสัตว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั บางชนิด อาศยั แรงดันน้ำเขา้ มาช่วยในการเคลื่อนท่ี เช่น แมงกะพรุนอาศยั การหดตัวของกล้ามเน้ือขอบกระด่ิง หมกึ อาศัยการหดตัวของกลา้ มเน้ือลำตวั ดาวทะเลอาศัยการหดตวั ของกล้ามเน้ือแอมพูลลาและทวิ ป์ฟีท 2.4 ครกู ระตนุ้ ให้นักเรียนเชอ่ื มโยงกับฟิสิกส์ถงึ ลกั ษณะการเคลือ่ นที่ของแมงกะพรนุ และหมึก ซึ่งเกดิ จากการพน่ น้ำออกแล้วผลกั ลำตัวเคลื่อนที่ไปในทิศตรงกนั ข้าม มีหลกั การเช่นเดียวกบั กฎข้อ 3 ของนวิ ตัน คือแรงกิริยาเทา่ กบั แรงปฏิกิริยา 2.5 ครูให้นักเรยี นศึกษาการเคล่อื นที่ของไสเ้ ดือนดิน โดยมีประเด็นศึกษาลักษณะการเคลอื่ นที่ และการทำงานของกล้ามเน้ือทท่ี ำงานรว่ มกนั ในสภาวะตรงกันขา้ มของไสเ้ ดือนดิน 3) ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป 3.1 ครูใหน้ กั เรยี นทำการทดลองและบนั ทึกผลการสังเกต พรอ้ มร่วมกนั อภปิ รายดังคำถาม ต่อไปนี้ - ลักษณะการเคล่ือนที่ของไสเ้ ดือนดนิ เป็นอยา่ งไร (คล้ายระลอกคล่ืนเร่ิมจากปลายด้านหนา้ สดุ มาสู่ปลายดา้ นท้ายสุดของลำตวั ) - ไส้เดอื นใชโ้ ครงสรา้ งใดบ้างในการเคล่อื นท่ี ( ใช้เดือยเล็ก ๆ ท่ียนื่ จากผนงั ลำตวั แตล่ ะปล้องยึดเกาะกบั พ้ืนดิน การหดและ คลายตวั ของกลา้ มเนื้อวงและกลา้ มเนื้อตามยาว) - ลกั ษณะการเคลื่อนท่ขี องไสเ้ ดอื นดินเกิดจากการทำงานของโครงสรา้ งใดเปน็ สำคัญ (กล้ามเน้ือวงและกล้ามเน้ือตามยาว) 3.2 ครใู หน้ กั เรียนศึกษาการจดั เรยี งตวั ของกลา้ มเนื้อท่ผี นังลำตัวของไส้เดอื นดนิ จากภาพแสดง กล้ามเนอื้ วงและกลา้ มเนอื้ ตามยาว ให้นกั เรียนร่วมกนั อภปิ ราย และสรุปโดยใชต้ ัวอย่างคำถามในการอภปิ ราย ดงั น้ี - ลกั ษณะการเคลื่อนท่ีของไส้เดอื นดินขณะทยี่ ดื และหดตวั กล้ามเนอื้ วงและกล้ามเน้ือ ตามยาวทำงานอยา่ งไร ( ขณะไสเ้ ดือนดนิ เคล่ือนทีจ่ ะใช้เดอื ยทยี่ ่นื ออกจากผนังลำตัวจิกดนิ เอาไว้เพื่อไม่ให้ ส่วนท้ายของลา้ ตวั เคล่ือนท่ี กลา้ มเนอ้ื วงจะหดตวั กลา้ มเนื้อตามยาวจะคลายตัว ท้าให้ลำตวั ยืดยาวออก จากนน้ั ไส้เดอื นจะใช้เดอื ยยึดส่วนของลำตัวไวก้ บั ดนิ เมื่อกล้ามเน้ือตามยาวหดตัว กลา้ มเนื้อวงคลายตัว ดึงส่วนท้ายของ ลำตัวใหเ้ คล่อื นท่ีไปขา้ งหน้า การหดและคลายตวั ของกล้ามเนือ้ ท้ัง 2 ชุด จะต่อเน่ืองกนั คล้ายระลอกคล่ืน ) 3.3 สำหรับสัตวไ์ ม่มกี ระดกู สันหลงั ทบ่ี ินได้ และบนิ ไม่ได้ มีอะไรบ้าง และควรมีโครงสรา้ งที่ชว่ ย ในการเคลื่อนที่อย่างไร 3.4 ครใู หน้ กั เรยี นดูคลิปวีดโิ อทเี่ ก่ยี วข้องกบั การเคล่ือนทีข่ องแมลง เชน่ ตั๊กแตน ผเี สอ้ื แมลงปอ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สงั เกตรูปร่าง ลกั ษณะการเคลื่อนทีข่ องแมลงโดยมแี นวคำถาม ดงั น้ี - เพราะเหตใุ ดแมลงจึงเคลอื่ นทีไ่ ด้อยา่ งรวดเรว็

(แมลงเปน็ สตั ว์ท่มี ีโครงร่างแข็งมขี ้อได้เปรียบในการเคล่อื นท่ี เพราะโครงร่างแข็ง ช่วยในการคำ้ จุนหรอื พยงุ รา่ งกายขณะที่การเคลื่อนท่ี) กจิ กรรมรวบยอด 4) ข้ันขยายความรู้ 4.1 ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมวา่ ขณะท่มี ีการหดและคลายตวั ของกล้ามเนื้อวงและกลา้ มเน้อื ตามยาว ของไส้เดือนดนิ ทำให้ของเหลวภายในชอ่ งลำตวั ที่อยู่ระหวา่ งผนงั ก้ันปลอ้ งต่าง ๆ เกดิ แรงดันของของเหลวในช่อง ลำตวั ทำให้ลำตัวยดื และหดสลับกนั เป็นการช่วยในการเคลอ่ื นที่อกี ดว้ ย 4.2 ครใู ห้นักเรยี นสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั โครงสรา้ งท่ีใช้ในการเคล่ือนท่ีของแมลง แล้วร่วมกันอภิปรายในประเด็นคำถาม ดังนี้ - นกั เรียนจะอธบิ ายการทำงานของกล้ามเนื้อขณะแมลงขยับปกี ขึ้น - ลงได้อยา่ งไร ( หลกั การทำงานของกล้ามเน้ือขณะที่แมลงขยับปีกสรุปได้ว่า แมลงมกี ลา้ มเนอ้ื 2 ชดุ ทำงานในสภาวะตรงกนั ข้าม ขณะยกปีกข้ึนกลา้ มเนื้อตามยาวคลายตัวและกล้ามเนื้อยดึ เปลือกหมุ้ ส่วนอกหด ตวั ขณะท่ีแมลงขยับปีกลง กลา้ มเน้อื ตามยาวจะหดตัว และกล้ามเน้ือยดึ เปลือกหุม้ ส่วนอกคลายตวั ท้าใหป้ กี กดลง ) 4.3 ครชู ี้ใหน้ กั เรยี นเห็นว่าการบนิ ของแมลงต้องอาศยั กลา้ มเนือ้ สองชนดิ ในการหดตวั และคลาย ตัวอยา่ งรวดเร็วทำใหแ้ มลงบินได้ 5) ขน้ั ประเมินผล 5.1 ให้นักเรียนบันทกึ สรปุ โครงสร้างทใ่ี ชใ้ นการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลงั ท่อี าศยั บนบก และในน้ำ 5.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน สมุดบนั ทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไม่เพยี งพอใชว้ ธิ สี มั ภาษณ์เพ่ิมเติม 9. สื่อการเรยี นร/ู้ แหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนรายวิชาเพ่ิมเติม ชวี วทิ ยา เล่ม 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จัดทำโดย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 2. ส่อื การสอนในรปู แบบสอื่ นำเสนอ Power Point เรอื่ ง การเคลอื่ นท่ี locomotion /คลิปวดี โี อ 3. แบบบนั ทึกกิจกรรมเร่ือง การเคลื่อนท่ีของส่ิงมีชีวติ 4. ส่อื การเรียนการสอน DLIT 5. Google classroom

10. การวดั และประเมนิ ผล

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 6 หนว่ ยการเรียนรู้ เรอื่ ง การเคลอื่ นที่ของสิ่งมีชีวติ วชิ าชีววทิ ยา 5 (ว33250) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เรอื่ ง การเคลื่อนท่ขี องสัตว์มีกระดูกสนั หลงั เวลา 5 คาบ ครผู ู้สอน นางสาวศรีอดุ ร ล้านสาวงษ์ 1. ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมลู และอธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องกระดูกและกล้ามเน้ือทเ่ี กีย่ วข้องกบั การเคลอื่ นไหว และการเคล่ือนที่ของมนษุ ย์ 2. สังเกตและอธบิ ายการทำงานของข้อต่อ ชนดิ ต่าง ๆ และการทำงานของกลา้ มเน้ือโครงรา่ งท่ีเก่ยี วข้อง กบั การเคล่อื นไหวและการเคลื่อนท่ีของมนุษย์ 2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด คนเคลอ่ื นท่ีโดยอาศยั การทำงานของระบบกระดูกและกลา้ มเนือ้ กระดกู แตล่ ะชนิ้ เชือ่ มต่อกันด้วยข้อต่อ กล้ามเนอ้ื แตล่ ะคู่ทีย่ ึดติดกบั กระดกู ทำงานรว่ มกันในสภาวะตรงกนั ข้าม ซ่ึงจะตอ้ งใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีสว่ นรว่ มในการทางานและใชท้ รัพยากร อย่างประหยดั คุม้ คา่ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 1. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และอภิปรายโครงสร้างที่ใชใ้ นการเคลอ่ื นที่ของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั ที่ อาศยั อยู่ในน้ำ กับสตั ว์ท่อี าศัยบนบก รวมทง้ั คน 2. สืบค้นข้อมลู และอธบิ ายลกั ษณะของกลา้ มเน้ือประเภทต่าง ๆ และกลไกการทำงานของ กลา้ มเนอื้ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) สืบคน้ ขอ้ มลู ทดลอง อภิปราย และอธบิ ายถึงการทำงานของข้อต่อต่าง ๆ 3.3 คณุ ลกั ษณะ (A) ตระหนกั ถึงความสำคัญของการเคลอ่ื นทเี่ พ่ือตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ มและการดูแลรักษากล้ามเน้ือ และข้อต่อใหส้ ามารถใช้งานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4. สาระการเรยี นรู้ การเคลอ่ื นที่ locomotion เป็นพฤติกรรมหน่งึ ของสง่ิ มชี ีวิตท่เี กดิ ข้นึ เพ่ือตอบสนองต่อส่ิงเร้า ทง้ั สง่ิ เรา้ ภายนอก และภายในร่างกาย ท้ังนี้เพื่อประโยชนต์ อ่ การดำรงชวี ิต ในการหาอาหาร หลบภยั หรอื การเคลอื่ นท่ี หลกี หนสี ภาพแวดลอ้ มท่ีไมเ่ หมาะสม รวมทง้ั การเคลื่อนที่เพ่ือการสืบพนั ธุ์ สำหรับการดำรงเผา่ พนั ธ์ขุ องส่ิงมชี ีวิต ชนดิ นน้ั ๆ 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ซ่อื สตั ย์ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. อยู่อยา่ งพอเพียง 4. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 5. มีจิตสาธารณะ 7. ภาระงาน/ชน้ิ งาน 7.1 ภาระงาน - สืบคน้ ข้อมูลจากใบความรู้ สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ - บันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรม เรอ่ื ง การเคล่อื นท่ีของสัตวม์ ีกระดูกสันหลัง 7.2 ช้นิ งาน - ออกแบบชนิ้ งาน - แบบบันทึกกจิ กรรม เรือ่ ง การเคลื่อนที่ของสัตวม์ ีกระดกู สันหลงั 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมนนำสกู่ ารเรียน 1) ขัน้ สรา้ งความสนใจ 1.1 ครใู ห้นกั เรียนสงั เกตการเคล่ือนท่ีของสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั ชนิดต่าง ๆ เชน่ ปลา นก เสอื กวาง สุนัข แมว รวมถงึ คนเพ่ือนำสูป่ ระเด็นการอภิปรายร่วมกนั วา่ การเคลอื่ นท่ีของสตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลงั กบั สตั วม์ กี ระดูกสันหลัง เหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) ขัน้ สำรวจและคน้ หา 2.1 ครูให้นกั เรียนศึกษาการเคลือ่ นที่ของสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลงั เปรียบเทียบกบั สัตวม์ กี ระดูกสันหลังทีอ่ าศยั บนบกและอภปิ รายรว่ มกันถึงความแตกตา่ ง (นักเรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ สตั วม์ ีกระดูกสนั หลังท่อี าศัยบนบกส่วนใหญ่จะเคล่อื นทโี่ ดยมีการยกลำตวั ให้สูงจากผิวดิน จงึ ตอ้ งมรี ะบบกลา้ มเน้อื และกระดูกท่แี ข็งแรง) 2.2 ครูกระตนุ้ ใหเ้ ห็นความสำคญั ของวชิ าฟิสิกส์ วา่ สามารถนำมาเชอ่ื มโยงเพอ่ื อธิบายกลไก การทำงานของรา่ งกายสิง่ มชี วี ิตทชี่ ่วยในการเคล่ือนทต่ี ามกฎของนวิ ตนั ที่กลา่ วว่าแรงกิรยิ าเทา่ กับแรงปฏิกิริยา 3) ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ 3.1 ครใู หน้ ักเรยี นสงั เกตการเคลือ่ นท่ีของปลาในตูป้ ลา จากนนั้ บันทึกตำแหน่ง และการทำงานของ อวยั วะทชี่ ว่ ยในการเคลอ่ื นที่ รูปร่างของปลา ตลอดจนทิศทางการเคล่ือนท่ีของปลาในตปู้ ลา เพ่ือใหน้ ักเรยี น ได้ข้อสรุปว่า รปู ร่างและอวัยวะท่ีชว่ ยในการเคล่อื นที่ของปลาเหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมทเี่ ป็นน้ำซง่ึ มีความ หนาแนน่ มากกว่าอากาศ ให้นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายโดยใช้คำถาม ดังนี้ - รปู รา่ งลักษณะของปลาเหมาะสมในการเคลื่อนทีห่ รือไม่ อย่างไร (เหมาะสม ซ่งึ มรี ปู ร่างเพรียวมผี ิวเรยี บล่นื ชว่ ยลดแรงเสยี ดทานของน้ำ) - เมือกของปลามีประโยชน์ในการเคลือ่ นทอ่ี ย่างไร (ชว่ ยลดแรงเสยี ดทานของน้ำ) - การทปี่ ลามีลำตัวแบนมีการวา่ ยน้ำแบบตวั S มสี ว่ นช่วยในการเคลือ่ นที่ของปลาอย่างไร

(ลำตวั ที่แบนชว่ ยลดพน้ื ท่ีในการปะทะกบั น้ำ ส่วนการว่ายน้ำรูปตัว S เกดิ จากการทำงานของ กล้ามเน้ือซ่งึ ยึดอยู่ 2 ขา้ งของกระดูกสันหลงั การหดตัวของกลา้ มเนื้อดา้ นใดด้านหนึ่งทัง้ ชุดเรมิ่ จากหัวไปหาง การโบกพดั ไปมาของครีบหางทำใหแ้ นวการเคลื่อนที่ของปลาเป็นเสน้ โคง้ สลับไปมาคล้ายตัว S ชว่ ยใหป้ ลาเคลื่อนท่ี ได้ดขี น้ึ ) - ครบี ตา่ ง ๆ ของปลามสี ่วนเกีย่ วข้องในการเคล่อื นที่ของปลา อย่างไร (ครบี อก ครบี สะโพก ครีบหลัง และครีบหางของปลามสี ่วนช่วยในการเคลอ่ื นที่ของปลาใน 3 มติ ิ คอื ไปข้างหนา้ -ข้างหลัง เล้ยี วซา้ ย-เลีย้ วขวา ขน้ึ -ลงในแนวดงิ่ ได้) - ปลาไหลมลี ำตัวยาวค่อนข้างกลม มปี ระโยชน์ตอ่ การเคล่ือนที่อยา่ งไร (แหล่งที่อยู่ของปลาไหล อยู่ในโคลน ซง่ึ มีความหนาแนน่ มากกวา่ น้ำ และปลาไหลมีครีบขนาดเลก็ มากตา่ งจากปลาทัว่ ไป มลี ำตัวยาวคอ่ นขา้ งกลมและมเี มือกมาก ซ่งึ ลกั ษณะดังกลา่ ว เหมาะสำหรับแทรกตัวเขา้ ไป ในโคลนไดด้ ี และลดแรงเสียดทานได้มาก) 3.2 ครูใหน้ กั เรียนอภิปรายพร้อมยกตวั อยา่ งการเคลื่อนท่แี บบ 1 มิติ 2 มิติ และ 3 มติ ิ ตามลำดบั ซงึ่ นกั เรียนควรอธิบายวา่ การเคลือ่ นทแ่ี บบ 1 มิติ คือ การเคลอ่ื นท่ไี ปขา้ งหนา้ หรือข้างหลงั หากมกี ารเคลื่อนท่ี เลยี้ วซา้ ย ขวาจะเป็น 2 มติ ิ ถ้าเพม่ิ หรือลดความสูงจากผวิ โลก เชน่ การบนิ ของนกจะเป็นการเคล่ือนที่ 3 มติ ิ และใช้คำถามเพม่ิ เติมวา่ - ถา้ นกั เรยี นอยากบินไดเ้ หมือนนก รูปร่างและโครงสร้างของนกั เรียนควรมีลักษณะอยา่ งไร จงึ จะเหมาะสมในการบนิ อยู่ในอากาศ (ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเพือ่ ลงข้อสรปุ ดงั น้ี นกเมื่อเรม่ิ บนิ จะออกแรงมากใช้พลังงานมาก แตเ่ มอื่ บินในอากาศแล้วไมต่ ้องออกแรงมากนักเนอื่ งจากการทรงตัวอยใู่ นอากาศ จะอาศัยความดนั อากาศในการพยุง ใหป้ กี และลำตัวอยใู่ นอากาศได้ หลังจากทีน่ กกางปีกเต็มท่ีแลว้ จะโบกปีกลง ลำตัวของนกจะเชิดขน้ึ เนอื่ งจากแรง ปะทะของอากาศทาให้นกลอยตัว ในขณะทีโ่ บกปีกลงปลายปีกจะเคล่ือนไปข้างหน้าเพ่ือให้แรงปะทะของอากาศ มีมากขึน้ และเมอื่ ยกปีกขนึ้ ปลายปีกจะสะบัดไปข้างหลังซง่ึ ทาใหน้ กพ่งุ ตัวไปข้างหนา้ ) 3.3 ครูอาจเชื่อมโยงความรเู้ ก่ียวกับโครงสร้างการแลกเปลี่ยนแกส๊ ของสตั วป์ กี เพื่อกระตุ้นให้ นกั เรียนคดิ โดยใช้แนวคำถาม ดงั นี้ - การบนิ ของนก อาศัยโครงสรา้ งใดอีกบา้ ง (โครงกระดกู และถงุ ลมภายในร่างกาย ภายในกระดูกมีรูพรุนทำใหม้ นี ้ำหนักเบา นอกจากนี้ยงั มีถุงลมติดกับปอดช่วยสารองอากาศขณะบิน และยังสง่ แก๊สไปให้ปอดเพอ่ื แลกเปลย่ี นแก๊สได้มากขึ้น ขณะบิน)

กจิ กรรมรวบยอด 4) ขั้นขยายความรู้ 4.1 ครใู ห้นักเรียนสบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ตำแหน่งและการทำงานของกล้ามเน้ือทป่ี ีกนก เพอ่ื ลงข้อสรุปว่ากระดูกอกมีขนาดใหญ่ และกลา้ มเน้ือที่ใชใ้ นการบนิ มกี ำลังมาก กล้ามเน้ือดงั กลา่ วประกอบด้วย กลา้ มเนือ้ ยกปีกและกล้ามเน้ือกดปีก ซ่งึ ทำงานในสภาวะตรงกนั ข้าม 4.2 ครูอาจนำกระดูกนกทอ่ นยาวๆ หรือขนนกที่ปีกหรือหางมาให้นักเรียนศึกษา ดังต่อไปนี้ - ศึกษาความแข็งของกระดกู ลกั ษณะภายนอกของกระดูกว่ามลี กั ษณะอย่างไร - ศึกษาขนนก โดยตัดแกนดูความกลวงของแกนขน ตดั แผงขนนกดูความมัน ใชแ้ ว่นขยาย สอ่ งดูการเกยี่ วกันของเส้นขน การแตกแขนง และการเกาะเก่ียวของขนเส้นเลก็ 4.3 ให้นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายโดยใชค้ ำถาม ดงั นี้ - เหตใุ ดสัตว์ทเี่ คลอ่ื นทีโ่ ดยการบนิ จึงจำเป็นตอ้ งใช้ออกซเิ จนในการหายใจสงู กวา่ สตั ว์ ชนดิ อนื่ (เพราะขณะเร่ิมบินตอ้ งใช้พลังงานมาก เมอ่ื ใชพ้ ลังงานมากจึงจำเป็นต้องใชอ้ อกซิเจนสูง เช่ือมโยงกบั ฟสิ ิกส์ เพ่ือใหน้ กั เรยี นเข้าใจว่า การลอยตวั ของนกในอากาศ อากาศดา้ นบนของปกี นกจะเคลื่อนทอ่ี ยา่ ง รวดเร็ว ทำใหบ้ รเิ วณเหนือปีกมีความกดของอากาศน้อยกว่าอากาศทเี่ คล่ือนที่ใต้ปีก ซ่ึงมีความดันอากาศมากกว่า จงึ พยุงให้ปีกและลำตวั ของนกลอยในอากาศได้) 4.4 ครูตงั้ ประเดน็ เพ่ือนำสกู่ ารอภิปรายวา่ เพราะเหตุใดสตั วบ์ างชนดิ จงึ เคล่อื นท่ีได้อยา่ งรวดเรว็ ให้นกั เรียนศึกษาการเคลื่อนที่ของเสือชีตาจากคลปิ วดี โิ อ และรว่ มอภปิ รายในประเดน็ คำถาม ดังนี้ - เมอ่ื สงั เกตการเคลื่อนท่ีของเสอื ชีตาแลว้ นกั เรยี นอธบิ ายได้หรือไม่วา่ เหตใุ ดเสือชตี าจึงวงิ่ ได้เรว็ (เพราะมีกระดูกสนั หลงั ที่นอกจากจะรบั น้ำหนักตัวแล้ว กระดูกสันหลังยงั มสี ่วนเกี่ยวข้องกับการ เพ่มิ ชว่ งของการเคล่ือนท่ี โดยสงั เกตการเคลอ่ื นท่ีของเสอื ชีตาวา่ กระดูกสันหลังโค้งขน้ึ เหมอื นคันธนทู ี่โก่งไว้ พร้อมทจ่ี ะดีดลกู ธนอู อก จะเหน็ ว่ากระดกู สนั หลังทยี่ าวจะช่วยเพม่ิ ชว่ งในการเคลื่อนท่ไี ดม้ าก นอกจากน้ี ความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื ยังเพิม่ ประสทิ ธิภาพการเคล่อื นทไ่ี ด้เรว็ ยง่ิ ขึ้น ) 5) ขน้ั ประเมนิ ผล 5.1 ใหน้ ักเรยี นบันทึกสรปุ โครงสรา้ งทใี่ ช้ในการเคลอื่ นทขี่ องสัตว์มีกระดูกสนั หลงั ทอ่ี าศัยบนบก และในน้ำ 5.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน สมดุ บันทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไม่เพียงพอใชว้ ิธสี ัมภาษณเ์ พิ่มเตมิ กิจกรรมนำสู่การเรียน 1) ขั้นสร้างความสนใจ 1.1 ครนู ำเข้าสบู่ ทเรียนโดยให้นกั เรยี นเคลื่อนไหวสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง พิจารณา อากปั กริ ิยา ต่าง ๆ วา่ อาศัยการทำงานของกลา้ มเน้ือและกระดกู สว่ นใดของร่างกายบา้ ง เพ่ือนำเข้าสหู่ ัวข้ออภปิ ราย เรอ่ื งการเคลอ่ื นไหวของคน และนำไปสูก่ ารสรปุ ทว่ี ่า การเคลื่อนไหวของคนเก่ียวขอ้ งกับโครงกระดูกและระบบ กลา้ มเนอ้ื

กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ 2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา 2.1 ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาการโครงกระดกู ของคนโดยชใี้ ห้ทราบวา่ ระบบโครงกระดูกจะประกอบดว้ ย กระดูกแกนและกระดูกรยางค์ และโครงกระดูกส่วนใหญท่ ่ีเกย่ี วข้องกับการเคลือ่ นไหวจะมีข้อต่อทงั้ สิ้น 2.2 ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายถึงโครงกระดูกของคน โดยใช้คำถาม ดงั น้ี - การทีโ่ รงกระดูกของคนไม่ต่อเปน็ ชิ้นเดยี ว และมีจำนวนมากมายมีประโยชนอ์ ยา่ งไร (ช่วยใหเ้ กิดการเคลือ่ นไหวได้หลายทิศทาง) - ถา้ หมอนรองกระดูกเล่ือมจะสง่ ผลอย่างไร (มผี ลทำให้รา่ งกายเคล่ือนไหวไม่สะดวก เกิดอาการเจบ็ ปวดระหว่างขอ้ ต่อ ของกระดูกสันหลังขณะ เคลอ่ื นไหว) 2.3 ครูให้นกั เรยี นทำกิจกรรมเพือ่ เคลอ่ื นไหวอวัยวะต่าง ๆ โดยเน้นใหน้ ักเรยี นระมัดระวงั การ เคลื่อนไหวอวยั วะที่สำคัญ โดยเฉพาะบริเวณศีรษะ จากนัน้ ให้นักเรียนสังเกตและบนั ทึกผลการทำงานของข้อต่อ บรเิ วณต่าง ๆ เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกิดประเดน็ ปัญหาว่า ชนิดของข้อต่อมผี ลต่อการเคล่ือนไหวแตกตา่ งกันหรือไม่ 3) ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ 3.1 ครใู หน้ กั เรยี นร่วมกนั อภิปรายโดยใชค้ ำถาม ดังนี้ - ทุกส่วนของร่างกายที่ทดลองมขี อบเขตในการเคลื่อนไหวเหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร (มีขอบเขตในการเคลอื่ นไหวไปในทศิ ทางแตกต่างกัน โดยมีข้อต่อเปน็ ตวั จำกัดขอบเขตการ เคลือ่ นไหว) - นกั เรยี นคิดว่าสงิ่ ทีจ่ ำกดั ขอบเขตในการเคล่อื นไหวของรา่ งกายส่วนท่ีทดลองคืออะไรจากการ ทดลองนักเรียนแบ่งประเภทของข้อต่อได้ก่ชี นิด อะไรบ้าง และใชอ้ ะไรเปน็ เกณฑ์ (นกั เรยี นควรสรปุ ได้ว่า ส่ิงท่ีจากดั ขอบเขตการเคล่ือนไหวจากการทดลองคือ ข้อต่อ กระดูกท่ีข้อต่อ บางบริเวณเคลื่อนไหวได้ทศิ ทางเดยี ว บางบริเวณเคลือ่ นไหวได้ 2 ทศิ ทาง บางบรเิ วณเคล่อื นไหวได้อย่างอิสระหลาย ทศิ ทาง บางบริเวณเคล่ือนไหวได้เล็กนอ้ ยหรือเคล่ือนไหวไม่ไดเ้ ลย โดยใช้ทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของกระดูกทีข่ ้อต่อ เปน็ เกณฑ)์ - เม่อื ทดลองการเคลอื่ นไหวของน้วิ เทา้ หัวเขา่ และต้นขานกั เรยี นบอกไดห้ รือไมว่ า่ เป็นข้อต่อชนดิ ใด (ขอ้ ต่อที่นิ้วเท้าเปน็ แบบบานพับและแบบรปู ไข่ condyloid joint ขอ้ ต่อของหวั เขา่ เปน็ แบบ บานพบั ข้อตอ่ ของตน้ ขาเปน็ แบบลูกกลมในเบา้ กระดกู ) - การเคลอ่ื นไหวของกระดูกหัวเขา่ กระดูกโคนขา กระดูกเชิงกราน เหมอื นกนั หรือไม่ อยา่ งไร (ไม่เหมือนกัน เนือ่ งจากการเคลอื่ นไหวของกระดูกหวั เขา่ และกระดูกโคนขาสามารถเคลื่อนไหว ในลักษณะหมนุ ไดร้ อบ เน่ืองจากข้อตอ่ เปน็ แบบลูกกลมในเบ้า ส่วนกระดกู เชงิ กรานไมส่ ามารถเคล่ือนไหวได้) 3.2 ครูต้ังประเดน็ คำถามเพ่ือขยายความรู้ ดงั น้ี - เพราะเหตุใดคนชราจงึ เคลื่อนไหวไม่คล่องแคล่ว มีอาการกระดูกลน่ั ขณะท่ีมกี ารเคลือ่ นไหว (เนอื่ งจากมีการเส่อื มของกระดกู หมอนรองกระดูก และขอ้ ต่อ รวมทงั้ ปรมิ าณน้ำไขข้อลดลง ตามวยั เมื่อเคล่อื นไหวจะเกิดการเสียดสีของกระดกู บรเิ วณขอ้ ต่อ ทำใหเ้ กดิ เสยี งขณะที่มีการเคล่อื นไหว อาจมีอาการเจบ็ ร่วมด้วยทำให้เคลือ่ นไหวชา้ ลงและไม่คล่องแคลว่ ) - ถา้ กระดูกอ่อนบริเวณข้อต่อ เกิดการสึกกรอ่ น หรือเสอ่ื มจะมีผลต่อการเคล่ือนไหวอย่างไร มีวิธีการป้องกนั หรือแก้ไขได้อยา่ งไร

(เมอ่ื กระดูกอ่อนสกึ กร่อนมีผลทำให้กระดกู แต่ละท่อนเบยี ดเข้ามาชิดและเสียดสกี นั เกิดอาการ อักเสบ ปลายกระดกู ทเ่ี สียดสีกันจะงอกออกมาเปน็ จะงอยหรอื ปมุ่ ตามขอบ มเี อน็ และพังผดื ขึ้นมาหุม้ รอบ ๆ ข้อ ทำให้ข้อบวมโต รา่ งกายเคลื่อนไหวไม่สะดวก เกดิ อาการบาดเจ็บ วธิ กี ารป้องกนั คือพยายามหลกี เล่ียงไมใ่ ห้อวยั วะ ของรา่ งกายโดยเฉพาะข้อตา่ ง ๆ ได้รับอันตราย หลกี เลี่ยงรับประทานอาหารที่มสี ารจำพวกแคลเซยี มออกซาเลตสงู เพราะสารน้ีจะไปสะสมตามข้อ ทำให้กระดูกอ่อนสลายไปกลายเปน็ กระดูกแข็งข้นึ มาแทนที่ ควรออกกาลงั กาย สม่ำเสมอ) 3.3 ครูให้นักเรียนศึกษาจากส่ือวดี ิทศั น์เกยี่ วกบั กลา้ มเนอ้ื ให้นักเรยี นเปรยี บเทียบความเหมอื น และความแตกต่างของกลา้ มเนอื้ 3 ชนดิ ได้แก่ กลา้ มเนื้อลาย กล้ามเน้ือเรยี บ และกลา้ มเน้อื หัวใจ พรอ้ มตอบ คำถาม ดังนี้ - เปรยี บเทยี บ เซลล์กล้ามเน้ือท้ัง 3 ชนิด วา่ เหมอื นหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร (แตกต่างกนั โดยเซลล์กล้ามเนื้อโครงรา่ งมีรปู ร่างเป็นทรงกระบอกยาว มีลายตามขวาง มองเหน็ เป็นแถบเข้มจางสลับกันเซลล์กลา้ มเน้ือเรยี บมีลักษณะยาวเรยี วแหลม เซลลก์ ล้ามเน้ือหวั ใจคลา้ ยกับเซลลก์ ล้ามเนอื้ โครงรา่ ง มลี ักษณะทรงกระบอกสน้ั แตกแขนงมลี ายเช่นเดียวกัน) 3.4 ครใู ห้นักเรยี นทำ กจิ กรรมเพ่ือศึกษาการทำ งานของกล้ามเนื้อโครงร่างทแ่ี ขน จากการทำ กจิ กรรมนักเรยี นควรสรุปได้ว่า กลา้ มเนื้อโครงร่างแขนประกอบดว้ ยกล้ามเนือ้ ไบเซพและกลา้ มเนือ้ ไตรเซพทำงาน รว่ มกันในสภาวะตรงกันขา้ ม เพ่อื ให้แขนเหยยี ดและงอได้ ครใู หน้ กั เรียนร่วมกันอภปิ รายและตอบคำถาม ดงั นี้ - กล้ามเน้ือแขนขณะออกแรงยกหนงั สอื หรอื กดพ้ืนโต๊ะ กับขณะวางบนพืน้ ราบมลี ักษณะตา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร (แตกตา่ งกัน กล้ามเน้ือแขนขณะท่ีออกแรงยกหนังสอื โดยการงอตรงข้อศอกน้นั กลา้ มเนื้อไบเซพจะ หดตัวและไตรเซพคลายตัว เมอ่ื มีการออกแรงกดพ้นื โตะ๊ กลา้ มเน้อื ไตรเซพจะหดตวั และไบเซพคลายตัว ในขณะท่ี กล้ามเน้ือแขนขณะวางบนพื้นราบกับพื้นโต๊ะ ไม่มกี ารออกแรงกล้ามเน้ือท้งั 2 ชดุ อยู่ในสภาวะปกติ) - นกั เรียนจะสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการทางานของกล้ามเนื้อไดว้ า่ อย่างไร (เมื่อกล้ามเนื้อไบเซพหดตวั กลา้ มเน้อื ไตรเซพจะคลายตัวทาใหแ้ ขนงอเข้า เม่อื กลา้ มเน้ือไบเซพ คลายตวั และไตรเซพหดตัวทำใหแ้ ขนเหยยี ดออก) กิจกรรมรวบยอด 4) ขัน้ ขยายความรู้ 4.1 ครถู ามคำถามเพ่ิมเติม ดังน้ี - เอน็ ยึดขอ้ และเอน็ ยดึ กระดูกเหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร (เหมือนกันตรงท่ีทั้งเอ็นยึดข้อและเอ็นยดึ กระดกู เปน็ เน้ือเย่ือเกย่ี วพัน เหนยี วและแข็งแรง ต่างกันทีเ่ อ็นยึดขอ้ จะยึดกระดูกใหเ้ ชื่อมติดกนั ทำให้กระดูกทำงานสัมพนั ธก์ นั ในขณะท่ีมกี ารเคลื่อนไหว ส่วนเอน็ ยดึ กระดูกจะยดึ ระหว่างกลา้ มเน้ือกบั กระดูก เพื่อให้กระดูกที่กล้ามเนื้อยึดไว้ เกิดการเคลอ่ื นไหวได้) - นักเรียนคดิ วา่ ขณะทรี่ า่ งกายเคลอ่ื นที่ การทำงานของกระดูก กลา้ มเนื้อ และข้อต่อมี ความสัมพันธ์กันอย่างไร (ขณะการเคลอื่ นที่ กล้ามเน้ือโครงรา่ งทำงานรว่ มกนั ในสภาวะตรงกนั ข้ามจะหดตัวหรือ คลายตวั เพ่ือควบคมุ การเคลื่อนท่ีของกระดูในขณะที่ข้อต่อจะช่วยควบคมุ ทิศทางในการเคลือ่ นทข่ี องกระดูก 4.2 ครูให้นกั เรยี นเชื่อมโยงกับหลักของฟิสิกส์ เรื่อง คานงัดกบั คานดดี เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกดิ ความ เขา้ ใจว่าการหดตัวของกลา้ มเนื้อทท่ี ำใหก้ ระดูกเคลื่อนท่ีอาศยั หลกั การทำงานโดยการออกแรงด้านน้ำหนักแบบ

คานงดั คานดดี โดยมีข้อตอ่ เป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อกับกระดูกทำงานโดยอาศัยหลักการของคานคือ มกี ระดูกเปน็ คานและขอ้ ต่อเปน็ จดุ หมนุ 4.3 ให้นกั เรียนร่วมกันอภปิ ราย เกย่ี วกบั โครงสรา้ งการทำงานของกล้ามเน้ือโครงรา่ งใช้คำถาม - กลา้ มเน้อื โครงร่างหดตัวและคลายตัวได้อย่างไร (การหดตวั ของกล้ามเน้ือเกดิ จากการเลื่อนเขา้ หากนั ของแอกตินตรงกลาง ซึ่งตอ้ งอาศัยพลงั งาน จาก ATP) 5) ข้นั ประเมินผล 5.1 ใหน้ กั เรียนบันทึกสรุปโครงสร้างและการทำงานของกล้ามเน้อื โครงรา่ ง 5.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การ ให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไม่เพียงพอใช้วธิ สี มั ภาษณ์เพิ่มเตมิ 9. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิม่ เติม ชวี วิทยา เล่ม 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ จัดทำโดย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธกิ าร 2. สอื่ การสอนในรูปแบบส่ือนำเสนอ Power Point เร่อื ง การเคลื่อนที่ locomotion /คลิปวีดโี อ 3. แบบบนั ทกึ กจิ กรรมเรื่อง การเคลือ่ นที่ของสิ่งมชี ีวิต 4. สอ่ื การเรยี นการสอน DLIT 10. การวดั และประเมินผล