การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพรผสมจอกและว่านหางจระเข้เพื่อยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนัง ผู้จัดทำ นายจุติ เครือเนตร นางสาวลลิตา หลวงนันท์ และนางสาวศุภาพิชญ์ จันตะเสน อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวศรีอุดร ล้านสาวงษ์ (krusriudon@gmail.com) และนางกวินนาฏ เสียงเลิศ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ทีม TUNE1 บทคัดย่อ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพรผสมจอกและว่านหางจระเข้ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนัง มีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดและศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสาร สกัดหยาบจากจอกและว่านหางจระเข้ และเพื่อเตรียมสบู่ก้อนที่เติมสารสกัดหยาบจากจอกและว่านหางจระเข้ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย พร้อมความพึงใจของกลุ่ม ผู้ทดลองใช้ โดยนําสารสกัดผสมระหว่างจอกและว่านหางจระเข้ด้วยวิธีแช่ยุ่ย โดยใช้เอทานอลเป็นตัวทําละลาย การตรวจสอบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus และ Escherichia coli ด้วยวิธี Disc diffusion Test ในอัตราส่วน 1:1, 1:3, 1:5, 3:1, 5:1 w/w พบว่า ยับยั้งเชื้อ S. aureus ได้มากที่สุด คือ อัตราส่วน 1:5 รองลงมา คือ 1:3 และ 3:1 โดยวัดขนาดยับยั้งได้ 11.43 8.53 และ 7.63 มิลลิเมตร และยับยั้ง E. coli 11.23 7.90 และ 5.03 มิลลิเมตร ตามลําดับ การผลิตสบู่ ผสมสารสกัดผสมจอกและว่านหางจระเข้ทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อ S. aureus และ E. coli เทียบกับสบู่นกแก้ว (control) สบู่ Dettol (สบู่ยา) และสบู่ Protex (สบู่ ระงับเชื้อ) พบว่า สบู่ Dettol มีประสิทธิภาพดีที่สุด รองลงมาเป็นสบู่ Protex สบู่ผสมสารสกัดจอกและว่านหางจระเข้และสบู่นกแก้ว ตามลําดับ ดังนั้นสบู่ผสมมี ประสิทธิภาพมากกว่าสบู่พื้นและไม่มีสารพิษตกค้างที่เป็นอันตรายต่อร่างกายและสิ่งแวดล้อมและผู้ทดลองใช้มีความพึงพอใจในระดับมาก บทนำ ผลการทดลอง การใช้สบู่ต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีส่วนผสมของสมุนไพร เป็นอีกหนึ่งทาง ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางฤทธิ์การยับยั้ง ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางฤทธิ์การยับยั้ง เลือกที่น่าสนใจ จากงานวิจัยพบว่าว่านหางจระเข้ มีฤทธิ์ในการยับยั้งการ เชื้อแบคทีเรียของสารสกัดสมุนไพร เชื้อแบคทีเรียของสบู่ผสมจอกและว่านหางจระเข้ เป็นแผลเรื้อรังเป็นหนอง และ aloe emodin anthraquinone และใช้ร่วม กับ streptomycin ในการรักษาแผลติดเชื้อ S. aureus ได้ผลดี จอกเป็น Staphylococcus aureus Escherichia coli Staphylococcus aureus Escherichia coli พืชสมุนไพรที่ต้านแบคทีเรียบางชนิด สบู่ เป็นเครื่องสำอางที่ใช้ทำความ 15 50 สะอาดร่างกายเดิมใช้เพื่อทำความสะอาดร่างกายเท่านั้น สมุนไพรที่ใช้มี สาระสำคัญและมีสรรพคุณทางยา และมีลักษณะแตกต่างกันจึงเป็นบท 40 พิสูจน์ให้เห็นถึงความมหัศจรรย์ของสบู่สมุนไพรที่มีค่ายิ่งของภูมิปัญหา ไทย ดังนั้นผู้ศึกษาจึงสนใจและมุ่งพัฒนาเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการ 10 ยับยั้งแบคทีเรีย (S. aureus) ก่อโรคที่ผิวหนัง โดยใช้สารสกัดผสมจอก 30 และว่านหางจระเข้ เพื่อใช้ในการทำสบู่เพื่อเพิ่มมูลค่าของพืชในท้องถิ่น และนำผลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสมุนไพรไทย ไปใช้ในการ 20 ผลิตยารักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่อไป 5 วัตถุประสงค์ 10 1. เพื่อสกัดและศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดหยาบจากจอกและ 00 ว่านหางจระเข้ 2. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่สมุนไพรผสมจากจอกและว่านหางจระเข้ที่มีฤทธิ์ H2O สบู่ผสมจอกกับว่านเหอาทงาจนรอะเลข้9:H5น2้O%ำ ต้านเชื้อ แบคทีเรีย 95% สบู่นกแก้ว : น้ำ (1:1) สบู่ Protex : น้ำ สมมติฐาน (1:3) สบู่ Dettal : น้ำ (1:5) ถ้าจอกและว่านหางจระเข้ต้านแบคทีเรีย ดังนั้นสารสกัดผสมระหว่างจอก (3:1) และว่านหางจระเข้ จึงมีประสิทธิภาพยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนังได้ (5:1) ขั้นตอนการทดลอง เอทานอล ววววว่่่่่าาาาานนนนนหหหหหาาาาางงงงงจจจจจรรรรระะะะะเเเเเขขขขข้้้้้ 1. การเตรียมและสกัด : นำใบของจอกและวุ้นของว่านหางจระเข้ล้างทำความสะอาด ผึ่งให้แห้ง : บดให้ละเอียดและนำอบในตู้อบความร้อน จากนั้นนำผงบดละเอียดชนิด : ละ 200 กรัม มาสกัดด้วยวิธีแช่ยุ่ย โดยแช่ในเอทานอล 95% จำนวน 500 : มิลลิลิตร เมื่อได้สารสกัดทั้ง 2 ชนิด ให้นำไประเหยเอทานอล : 2. ทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัด จอก จอก ทดสอบของสารสกัดผสมระหว่างจอกและว่านหางจระเข้ที่ยับยั้ง จอก แบคทีเรีย ด้วยวิธี Disc diffusion test จอก จอก สรุปผลการทดลอง สบู่ผสมสารสกัดจอกและว่านหางจระเข้พบว่าสบู่ผสมสารสกัดจอกและ ว่านหางจระเข้มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ S.aureus และ E.coli ด้วยวิธี disc diffusion test ทำการเปรียบเทียบสบู่ผสมสารสกัดจอกและว่านหาง จระเข้ กับ Dettol (สบู่ยา) Protex (สบู่ระงับเชื้อ) และ สบู่นกแก้ว พบว่าค่า เฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธิ์ยับยั้ง Dettol (สบู่ยา) มีประสิทธิภาพสูงสุด รองลงมา คือ Protex (สบู่ระงับเชื้อ) สบู่นกแก้ว และสบู่ผสมสารสกัดระหว่าง จอกและว่านหางจระเข้ ตามลำดับ ดังนั้นสบู่ผสมสารสกัดจอกและว่านหางจระเข้มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง เชื้อแบคทีเรียก่อโรคได้ แม้ว่าจะมีประสิทธิภาพน้อยกว่า Dettol (สบู่ยา) Protex (สบู่ระงับเชื้อ) และ สบู่นกแก้ว แต่สบู่ผสมสารสกัดจอกและว่านหาง จระเข้ใช้วัตถุดิบสมุนไพรพื้นบ้านที่ปลูกง่ายและมีปริมาณมาก 3. การทำสบู่ผสม การทำสบู่ ฤทธิ์การยับยั้งแบคทีเรีย สบู่ผสมสารสกัดจอกและว่านหาง จระเข้ นำกลีเซอรีน 1000 กรัมไปละลาย ใส่สารสกัดผสมระหว่างจอกและ อ้างอิง ว่านหางจระเข้ คนให้เข้ากันจนกลิ่นแอลกอฮอล์หมด จากนั้นตักใส่ แม่พิมพ์สบู่ รอสบู่แข็งตัว 30 นาที แล้วแกะออกจากแม่พิมพ์ นิติพงษ์ ศิริวงศ์; และ เอกชัย ชูเกียรติโรจน์. (2009). การดื้อยาปฏิชีวนะของ Staphylococcus aureus และแนวทาง การควบคุม. สงขลา นครินทร์เวชสาร. 27(4): 347-358. 4. ทดสอบประสิทธิภาพของสบู่ เปรมชัย เอี่ยมศิรินพกุล; จำรูญศรี พุ่มเพียน; ศรัณยา รพีอาภากุล; และ อรวรรณ นกสี. (2555). การพัฒนาสบู่ก้อนที่มีส่วนผสมของสารสกัดจาก ดอกดาวเรือง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 2(2) ทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้ง E. coli และ S. aureus โดยการวัด ขนาดของ zone of inhibition (พิเศษ): 25-28. ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; เกตุแก้ว จันทร์จำรัส; ภรณ์ทิพย์ นราแหวว; และ อุมาภรณ์ ผ่องใส.(2557). การพัฒนาสบู่เหลวจากสมุนไพรไทยและ ทดสอบฤทธิ์เบื้องต้นในการต้านทานต่อเชื้อ สแตฟฟิโลคอกคัสออเรียสที่ดื้อยาเมทิซิลิน (MRSA). วารสาร มฉก.วิชาการ. 18(35): 47-60. ณัฐพันธุ์ ตันตินฤพงษ์, ตุลาภรณ์ ม่วงแดง. (2543). การพัฒนาสบู่สมุนไพรต้านเชื้อPropionibacteriumacne. คณะเภสัชศาสตร์ มหิดล. สุมาลี เหลืองสกุล. (2530). ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของการเกิดหนองของสารสกัดจากสมุนไพร 6 ชนิด.การประชุมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13, สงขลา Larry McKane & Judy Kandel. (1985). Micro-Biology Essentials and Applications. USA: McGraw-Hill Inc.
Search
Read the Text Version
- 1 - 1
Pages: