1 ความรพู้ นื้ ฐานเกีย่ วกับนาฏศลิ ป์ 880000000 คาวา่ “นาฏศลิ ป”์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๕ ไดใ้ ห้ความหมายไว้ว่า “เปน็ ศลิ ปะแห่งละครหรือการฟอ้ นรา” นอกจากน้ียงั มีนักศกึ ษา ท่านผ้รู ไู้ ดใ้ ห้ความหมายของนาฏศลิ ป์ไว้แตกตา่ งกันออกไปดงั น้ี ศลิ ปะการละครหรือการฟ้อนราของไทย ความชาชองในการละครฟ้อนรา นาฏศลิ ป์ การร้องราทาเพลงให้เกิด การฟ้อนราทีมนุษย์ประดษิ ฐ์ข้นึ ความบันเทงิ ใจ จากธรรมชาติด้วยความประณตี ลึกซึ้ง จากความหมายและนิยามดงั กล่าวข้างต้น สามารถสรปุ ไดว้ า่ นาฏศิลป์จะเก่ียวข้อง กันในด้านศิลปะการละคร การฟ้อนราการเคลื่อนไหวอิริยาบทต่างๆ ท้ังมือ แขน ขา ลาตัว และ ใบหน้า เพ่ือถ่ายทอดความหมายและอารมณ์ให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ และมีความ สนกุ สนานเพลิดเพลนิ รายวิชาศลิ ปะ 1 (นาฏศลิ ป)์ ศ21101 นางธนิตา รัตนพนั ธ์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นสตรวี ดั ระฆงั
2 หลกั การพ้นื ฐานของนาฏศิลป์ คือ ศิลปะในการเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์เรา เช่น แขน ขา มือ เท้า เอว ไหล่ หน้าตา และด้วยเหตุน้ีธรรมชาติที่เป็นพื้นฐานเบ้ืองต้นของการฟ้อนรา จึงได้ถูกดัดแปลงมาจากอิริยาบถต่างๆ ของมนุษย์ด้วย เช่น การยืน เดิน นอน นั่ง ตามปกติการเดิน ของมนุษย์เราจะก้าวเท้าออกไปพร้อมท้ังแกว่งแขนสลับกันไป เช่น เมื่อก้าวเท้าซ้ายก็จะแกว่งแขนขวา ออกไป และเมื่อก้าวเท้าขวาก็จะแกว่งแขนซ้ายออกสลับกันไป ซ่ึงเป็นหลักธรรมชาติของการทรงตัว เมื่อนามาดัดแปลงตกแต่งให้เป็นท่าราข้ึนกลายเป็นท่าเดินที่มีลีลาการก้าวเท้า และแกว่งแขนให้ได้ สัดส่วน ดูงดงามถกู ตอ้ งตามแบบแผนทกี่ าหนดและเขา้ กับทว่ งทานองและจังหวะเพลง รายวชิ าศิลปะ 1 (นาฏศิลป)์ ศ21101 ภาพ การแสดงนาฏศิลป์ไทย (ละครใน) ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=_WV0mCgStmA นางธนิตา รัตนพันธ์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรียนสตรวี ดั ระฆัง
3 8 ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์ไทย 6 สันนิษฐานวา่ นาฏศลิ ปไ์ ทยน้ันมีกาเนดิ มาพร้อมๆกบั ชนชาติไทย ที่เป็นเช่นนเี้ พราะนาฏศลิ ปไ์ ทย เปน็ สว่ นหน่ึงที่บ่งบอกวถิ ีชวี ติ ความเปน็ อยู่ การแต่งกายและคตคิ วามเชื่อของคนไทยในอดตี ถึงปจั จบุ นั ทง้ั น้ี อาจสรุปได้ว่า นาฏศลิ ป์ไทยน่าจะมีที่มาจาก ๔ แหลง่ ดังน้ี ทมี าของนาฏศลิ ปไ์ ทย จากการละเลน่ จากการแสดงท่ี จากการรบั จากการเลยี นแบบ ของชาวบ้าน เป็นแบบแผน อารยธรรมของอินเดีย ธรรมชาติ รายวชิ าศลิ ปะ 1 (นาฏศลิ ป)์ ศ21101 นางธนติ า รัตนพนั ธ์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ โรงเรยี นสตรวี ัดระฆงั
4 1. จากการละเลน่ ของชาวบ้านในทอ้ งถนิ หลังจากเสรจ็ ส้นิ ภารกจิ ในแตล่ ะวัน ชาวบ้านกจ็ ะหาเวลาว่างมารว่ มร้องราทาเพลง โดยมีการนาเอา ดนตรีมาประกอบด้วย และตามนสิ ยั ของคนไทยที่เปน็ คนเจา้ บทเจา้ กลอน ชอบร้องราทาเพลงโตต้ อบระหวา่ งชาย หญิงจนเกิดเปน็ พอ่ เพลง แม่เพลงขึน้ โดยจะมีลูกคคู่ อยร้องรับกนั เป็นทส่ี นกุ สนานครน้ื เครง ท้งั น้อี าจ จะเป็น กศุ โลบายอย่างหนง่ึ เพอื่ ให้ลมื ความเหน็ดเหน่อื ยจากการทางานในแต่ละวนั นอกจากนย้ี งั มกี ารรอ้ งรากนั เป็นคู่ ชายหญงิ เดนิ เปน็ วง หรือเปน็ ที่รูจ้ กั กนั ว่า “ราโทน” หรือราวงพนื้ บา้ นจากการละเลน่ ของชาวบ้านดังกล่าวจึงเกิด เป็นนาฏศิลป์ ภาพ การละเลน่ ราโทน แบบชาวบ้าน ภาพ การแสดงราโทน วิทยาลัยนาฏศลิ ปล์ พบุรี ทม่ี า : http://www.prapayneethai.com/ ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=PdLZE4mCNS0 รายวิชาศลิ ปะ 1 (นาฏศลิ ป์) ศ21101 นางธนติ า รัตนพันธ์ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นสตรีวดั ระฆัง
5 2. จากการแสดงทีเป็นแบบแผน เปน็ ท่ีทราบกนั ดวี ่า นาฏศิลป์ไทยท่เี ป็นมาตรฐาน จะได้รับการปลูกฝังและถา่ ยทอดมาจากปรมาจารย์ ทางนาฏศลิ ป์ไทยในวงั หลวง ที่ฝึกใหแ้ ก่ผหู้ ญิงและผูช้ ายท่ีอยใู่ นวังเปน็ ผู้แสดงโขนและละคร เพอ่ื ใชใ้ นแสดงใน โอกาสตา่ งๆ และจากการที่นาฏศลิ ป์ไทยมที ี่มาต้ังแตส่ มัยกรุงสุโขทัยเปน็ ราชธานี เพราะไดม้ กี ารจารึกไว้ใน หลกั ท่ี ๘ วา่ “ระบา รา เต้น เหลน้ ทุกฉัน” ซึง่ ศิลปะการฟอ้ นรากไ็ ด้รับการสบื ทอดตอ่ เน่ืองกันเรอ่ื ยมาจนถงึ สมยั รัตนโกสินทร์ จึงได้มีการนาศลิ ปะการฟอ้ นราท่ีเปน็ แบบแผนมาสูร่ ะบบการศกึ ษา บรรจอุ ย่ใู นหลกั สตู รของ โรงเรียนนาฏศลิ ปห์ รือวทิ ยาลัยนาฏศิลปใ์ นปจั จบุ ัน ทาให้นาฏศิลป์ไทยทมี่ ีแบบแผนมาตรฐานได้รบั การอนุรกั ษ์ และสืบทอดแก่เยาวชนมาจนถึงทกุ วนั น้ี รายวิชาศลิ ปะ 1 (นาฏศลิ ป์) ศ21101 ภาพ การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (โขน) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ทมี่ า : https://naklangbolan.com/odxzrx2v262ltmxr6sl-o/ นางธนติ า รัตนพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนสตรีวดั ระฆงั
6 3. จากการรับอารยธรรมของอนิ เดยี ประเทศอนิ เดยี เปน็ ประเทศหนึง่ ทมี่ ีอารยธรรมเกา่ แก่และเจริญรุ่งเรืองมาตัง้ แต่โบราณกาล โดยเฉพาะ ละครในอินเดียรุง่ เรืองมาก ประกอบกับชนชาติอนิ เดยี ท่ีนับถอื และเชื่อมัน่ ในศาสนา พระผู้เป็นเจ้า ตลอดจน ส่งิ ศักด์ิสทิ ธ์ิตา่ งๆ พระผู้เปน็ เจ้าทชี่ าวอินเดยี นบั ถือ ได้แก่ พระศวิ ะ(พระอศิ วร) พระวษิ ณุ และพระพรหม ในบางยุคของชาวอินเดียถือว่าพระอิศวรเป็นเทพเจ้าที่มีผู้เคารพนบั ถือมาก พระอศิ วรทรงเป็นนาฏราช (ราชาแห่งการรา่ ยรา) มปี ระวตั ทิ ้ัง ในสวรรค์และในเมืองมนษุ ย์ ในการรา่ ยราของพระอศิ วรแต่ละ ครัง้ พระองค์ทรงใหพ้ ระภรตฤาษีเปน็ ผู้บนั ทกึ ท่าราแล้วนามา สัง่ สอนแกเ่ หลา่ มนุษย์ จนเป็นท่มี าของตานานการฟ้อนรา และในการเรยี นนาฏศิลปไ์ ทยผูเ้ รยี นทุกคนจะตอ้ งเขา้ พิธีไหว้ครู โขน - ละครก่อน ซง่ึ ได้แก่ พระอศิ วร พระนารายณ์ พระพรหม พระพริ าพ และพระภรตฤาษี อนั เปน็ ครูทางนาฏศิลปแ์ ละเป็น เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู รายวชิ าศิลปะ 1 (นาฏศลิ ป์) ศ21101 ภาพ การแสดงภารตนาฏยัม ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ที่มา : http://nontaleeaumaim.blogspot.com/2010/04/classical-dances-of- นางธนิตา รัตนพนั ธ์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรยี นสตรวี ัดระฆัง
7 4. จากการเลียนแบบธรรมชาติ กริ ยิ าทา่ ทางตามธรรมชาติของมนุษยจ์ ะบ่งบอกความหมาย และสื่อความหมายกบั ผู้อืน่ ได้ ควบคูก่ ับการพูด ในการฟ้อนราก็จะใชท้ ่าราสื่อความหมายกับผู้ชมเชน่ เดยี วกัน จะเห็นไดว้ ่าการแสดงบางชุด ไมม่ ีเนอื้ เพลง มีแต่ทานองเพลงอย่างเดียว ผู้แสดงกจ็ ะฟอ้ นราไปตามทานองเพลงนั้นๆ ดว้ ยลีลาท่าราต่างๆ ลีลาท่าราเหลา่ นี้กเ็ ป็นท่าทางธรรมชาติท่ใี ชส้ ือ่ ความหมาย ด้วยเหตุผลที่วา่ ต้องการใหผ้ ู้ชมเข้าใจความหมาย ในการราและใช้ท่าราในการดาเนินเรื่องด้วย ถึงแมว้ ่าท่าราส่วนใหญ่จะมีลลี าสวยงามวิจติ รกวา่ ทา่ ทางธรรมชาติ ไปบา้ ง แต่กย็ ังคงใช้ทา่ ทางธรรมชาตเิ ป็นพนื้ ฐานในการประดิษฐท์ า่ ราและเลือกใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมบง่ บอก ความหมายไดถ้ กู ตอ้ ง ตัวอยา่ งเช่น หากแสดงกริ ิยาตวั เรากใ็ ช้มือซ้ายมาจบี หงายทร่ี ะดับอก เป็นตน้ รายวิชาศลิ ปะ 1 (นาฏศลิ ป)์ ศ21101 ภาพ นาฏยศัพทท์ า่ ตวั เรา ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ทม่ี า : http://www.vrhorseman.com/ นางธนิตา รัตนพนั ธ์ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนสตรวี ดั ระฆัง
8 เอกสารอา้ งอิง 000000000000000000000000000000000000000 จีรพนั ธ์ สมประสงค์. (2558). หนงั สือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน นาฏศิลป์ ม.1 เล่ม 3.--กรงุ เทพฯ: แมค็ เอ็ดดูเคช่ัน วรี ะ บัวงาม. (2558). สารวฒั นธรรมราชมงคล : สุนทรียะนาฏศิลป์ไทย. ปทุมธาน:ี มหาวิทยาลยั ราชมงคลธัญบรุ ี สมุ ิตร เทพวงษ.์ (2541). นาฏศลิ ป์ไทย : นาฏศลิ ป์สาหรบั ครูประถมและมัธยม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์ รายวชิ าศลิ ปะ 1 (นาฏศิลป์) ศ21101 นางธนิตา รตั นพนั ธ์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ โรงเรียนสตรวี ดั ระฆงั
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: